เฉลย ใบ งาน การเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย


แผนการจัดการเรียนรู้

เฉลย ใบ งาน การเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย

รายวิชา ประวัติศาสตร์สากล  รหัสวิชา ส 32103

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

ภาคเรียนที่ 1     ปีการศึกษา 2559

เรื่อง การเวลา


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โดย

นายธนากร   ไตรษร
ตำแหน่ง  ครูอัตราจ้าง

โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

ประวัติศาสตร์สากล

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

เรื่อง   กาลเวลา

เวลา  1  ชั่วโมง

1สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

การศึกษาเวลาตามระบบของไทยและสากล มีผลต่อการศึกษาและการทำความเข้าใจประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์ในแต่ละยุคสมัย

2ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

2.1ตัวชี้วัด

ส 4.1ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึง

การเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ

2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้

1.รู้และเข้าใจเวลาระบบต่างๆ ของสากล

2.คำนวณเวลาตามระบบต่างๆ ของสากลได้

3.ตระหนักถึงความสำคัญของกาลเวลาในชีวิตประจำวัน

3สาระการเรียนรู้

  1.   สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1.เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย

และประวัติศาสตร์สากล

2.ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์ที่มีปรากฏในหลักฐาน

ทางประวัติศาสตร์

3.ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

4สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

  1.   ความสามารถในการคิด

- ทักษะการคิดวิเคราะห์

  1.   ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

  • กระบวนการทำงานกลุ่ม

  • ทักษะการสืบค้น

5คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. มีวินัย

2.ใฝ่เรียนรู้

3.มุ่งมั่นในการทำงาน

6 กิจกรรมการเรียนรู้(วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสร้างความตระหนัก )

นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน   หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

1.     ครูนำแผนที่โลกมาให้นักเรียนดู  แล้วถามความรู้ว่านักเรียนรู้จักแหล่งอารยธรรมโบราณที่ใดบ้าง พร้อมทั้งให้นักเรียนชี้แผนที่ประกอบ

2.     ครูเชื่อมโยงความสำคัญของเวลาต่อชีวิตประจำวันของนักเรียน

3.นักเรียนระดมสมองถึงความรู้เรื่องภูมิหลังและพัฒนาการของชาติไทยกับแหล่งอารยธรรมโลก

4.นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์ และทำใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์ เสร็จแล้วครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบในใบงาน

5.นักเรียนศึกษาเรื่อง แหล่งอารยธรรมโลก ที่นักเรียนสนใจ 1 เรื่อง   แล้วให้นักเรียนนำข้อมูลแหล่งอารยธรรมโลกที่นักเรียนสนใจ มาแลกเปลี่ยนกัน

6.นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย  

7. ครูให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบจากกรณีตัวอย่างที่ครูกำหนดให้  เพื่อให้นักเรียนฝึกคำนวณการนับและเทียบศักราชต่างๆ ของไทย

8.ครูให้นักเรียนนำข้อมูลเวลาตามแหล่งอารยธรรมโลกที่นักเรียนสนใจ มาคำนวณเวลาให้เป็นระบบของไทย

7 การวัดและประเมินผล

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์

นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน

แบบทดสอบก่อนเรียน

ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

นักเรียนทำใบงานที่ 1.1

ใบงานที่ 1.1

ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

ระดับคุณภาพ  2  ผ่านเกณฑ์

8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1สื่อการเรียนรู้

1.หนังสือเรียน ประวัติศาสตร์สากล ม.4-ม.6

2.แผนที่โลก

3.ใบความรู้เรื่อง  ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์

4.ใบความรู้เรื่อง  การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย

5.ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์

8.2แหล่งการเรียนรู้

1.ห้องสมุด

2.เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์

ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
- ด้านความรู้..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.- ด้านทักษะ/กระบวนการ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

- ด้านคุณลักษณะ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ปัญหาและอุปสรรค..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขปัญหา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                     ลงชื่อ                                       ครูผู้สอน
                                                                                ( นาย ธนากร    ไตรษร)  
                                               ............/......................................./...............
                                                                                                                                                             

ความเห็น / ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

 _

                                         ลงชื่อ                                  หัวหน้ากลุ่มสาระ                                                              
                                                                         (ดร.ทัศนีย์  ทองไชย)

ความเห็น / ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารงานวิชาการ

 _

                             ลงชื่อ                                     รองผู้อำนวยการ                                                                           

                                                                       (นางแสงเดือน  สายโสภา)

ความเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

 _

                      ลงชื่อ                                           ผู้อำนวยการโรงเรียน                                               

                                   (นายพนมเทพ สังขะวรรณ)

ลำดับที่

ชื่อ – สกุล


มีความตั้งใจ
ในการทำงาน


มีความรับผิดชอบ


ตรงต่อเวลา

ความสะอาดเรียบร้อย


ผลสำเร็จ
ของงาน


รวม

20 คะแนน

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1






























































































































































































































































เกณฑ์การให้คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ= ดีมากให้4คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง= ดีให้3คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง= พอใช้ให้2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง=ปรับปรุงให้1คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน

ระดับคุณภาพ

17 - 20

13 - 16

9 - 12

5 - 8

ดีมาก

ดี

พอใช้

ปรับปรุง

เรื่อง  ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ คือ วิชาที่ว่าด้วยเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่เกิดขึ้นมาแล้วผ่านไปตามกาลเวลา  เป็นเรื่อง

ที่มีความสำคัญ  ควรแก่การศึกษาและมีผลกระทบต่อท้องถิ่นชุมชน  สังคมโลก ได้มีการบันทึกไว้  เพื่อให้

ชนรุ่นหลังรับรู้ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์ จึงทำให้รู้และเปรียบเทียบช่วงเวลาของการเกิดเหตุการณ์

ว่าผ่านมานานแล้วเพียงไร

ศักราชหมายถึง  ปีที่ตั้งขึ้นตามเหตุการณ์

วรรษหมายถึงปี

ทศวรรษหมายถึง  เวลาในระยะ 10 ปี

ศตวรรษหมายถึง   เวลาในระยะ  100 ปี

สหัสวรรษหมายถึง  เวลาในระยะ  1,000 ปี

ศกหมายถึง  ยุค สมัย ปี วิธีนับปี

ปีนักษัตรหมายถึงการนับปีที่กำหนด 12 ปี เป็น 1 รอบ  คือ  ชวด  ฉลู  ขาล เถาะมะโรง   มะเส็ง   มะเมีย   มะแม   วอก   ระกา   จอ   กุน

การนับเวลามี 2 แบบ  คือ

1.  นับตามปรากฏการณ์ของดวงอาทิตย์ที่โลกโคจรรอบ เรียกว่า นับทางสุริยคติ  เป็นการนับแบบ       สากลในปัจจุบัน  และนับตามดวงจันทร์ที่โคจรรอบโลก เรียกว่า นับทางจันทรคติ เป็นการนับ

      เวลาแบบโบราณของดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันยังมีใช้บ้างในทาง       พระพุทธศาสนาและโหราศาสตร์

2.   นับตามกำเนิดของศาสนาที่สำคัญ คือ

    -พุทธศักราช (พ.ศ.) เริ่มจากปีที่พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพาน โดยพระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็นทางการ เมื่อวันที่ 23

กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2455

    -คริสต์ศักราช (ค.ศ.)  เริ่มจากปีที่พระเยซูประสูติ  แตกต่างจากพุทธศักราช  543  ปี

    - ฮิจเราะห์ศักราช  (ฮ.ศ.)   เริ่มจากวันหนีภัยของพระนบีมูฮัมหมัด จากเมืองเมกกะไปยัง

เมืองเมดินา  แตกต่างจากพุทธศักราช  1,122  ปี

เรื่อง  การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย




เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามที่กำหนดให้ถูกต้อง

1.  วิชาที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่เป็นมาแล้วผ่านไปตามกาลเวลา  เรียกว่า

2.ระยะเวลาในช่วง 10 ปี  เรียกว่า  

3.ระยะเวลาในช่วง 100 ปี  เรียกว่า  _

4.ปีอธิกสุรทินมีจำนวนวันและเดือนกุมภาพันธ์มี    วัน  

5.ในรอบ 1 ปี  มีชื่อเดือนที่ลงท้ายว่า “ คม ” _  เดือน  คือเดือน  

6.พุทธศักราช เกิดก่อนคริสต์ศักราช ปี

7.    คริสต์ศตวรรษที่ 17 อยู่ในระยะ ค.ศ.ถึง ค.ศ.

8.    ปีนี้ตรงกับรัตนโกสินทร์ศกใด

9. ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามนับจำนวนปีเป็น  

10.  ปีที่นักเรียนเกิดคือ พ.ศ.  ตรงกับ ค.ศ.


เรื่อง  ความรู้เกี่ยวกับเวลาในประวัติศาสตร์

คำชี้แจงให้นักเรียนตอบคำถามที่กำหนดให้ถูกต้อง

1. วิชาที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่เป็นมาแล้วผ่านไปตามกาลเวลา  เรียกว่า ประวัติศาสตร์

2.ระยะเวลาในช่วง 10 ปี  เรียกว่า  ทศวรรษ

3.ระยะเวลาในช่วง 100 ปี  เรียกว่า  ศตวรรษ

4. ปีอธิกสุรทินมีจำนวน366วันและเดือนกุมภาพันธ์มี       29  วัน  

5.ในรอบ 1 ปี  มีชื่อเดือนที่ลงท้ายว่า “ คม ” _      7  เดือน  คือเดือน   มกราคม   มีนาคม

พฤษภาคม   กรกฎาคม   สิงหาคม   ตุลาคม   ธันวาคม

6.พุทธศักราช เกิดก่อนคริสต์ศักราช 543ปี

7.    คริสต์ศตวรรษที่ 17 อยู่ในระยะ ค.ศ.1601   _ถึง ค.ศ. 1700

8.    ปีนี้ตรงกับรัตนโกสินทร์ศกใด 266 (2551-2325)

9. ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามนับจำนวนปีเป็น  ฮิจเราะห์ศักราช

10.  ปีที่นักเรียนเกิดคือ พ.ศ.  ตรงกับ ค.ศ.

(เฉลยตามอายุของนักเรียน)