การแพร แบบฟาซ ล เทต ม ล กษณะแตกต างจากการแพร แบบธรรมดาอย างไร

เล็กที่มีประจุต้องลำเลียงผ่านโปรตีนที่แทรกอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งมี 2 แบบ คือ การแพร่แบบฟาซิลิเทต และ

แอกทีฟทรานสปอร์ต ในกรณีสารขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน จะลำเลียงเข้าโดยกระบวนการเอนโดไซโทซิส หรือ ลำเลียงออกโดยกระบวนการเอกโซไซโทซิส

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 5.1 มีวินยั 5.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 5.3 มุง่ มน่ั ในการทำงาน

6. ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 6.1 การส่อื สารสารสนเทศและการร้เู ท่าทนั สือ่ 6.2 การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแกป้ ัญหา

7. ภาระงาน/ช้นิ งาน 7.1 ใบงานเรือ่ ง การลำเลยี งสารผา่ นเซลล์ 7.2 แผนภาพการลำเลยี งสารผา่ นเซลล์

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ใชว้ ธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)

  1. ขัน้ สร้างความสนใจ (1) ครูแนะนำตนเอง จากนั้นให้นักเรียนแนะนำตัวเองทีละคนในรายละเอียดดังนี้ ชื่อ-สกุล

ชื่อเล่น ผลการเรียนเทอมที่ผ่านมา และรายวิชาที่ชอบและไม่ชอบ พร้อมชี้แจงให้นักเรียนทำแบบวิเคราะห์ ผเู้ รยี นรายบุคคลผ่านชอ่ งทาง google classroom

(2) ครแู จ้งรหัสรายวชิ าวชิ า ว31104 ลงบนกระดานจากน้นั ถามนักเรียนว่ารหสั วชิ านีเ้ ป็นวชิ า อะไรให้นกั เรยี นช่วยกนั ตอบ

(3) นักเรียนรบั ใบคำอธบิ ายรายวิชา/ตัวช้ีวดั นกั เรียนศกึ ษาขอ้ มลู ในภาพรวม จากน้นั ครู อธิบายวิธกี ารเรยี นการสอนตามตัวช้วี ัด

(4) ครูใหน้ ักเรียนเสนอ/แนวปฏบิ ัติขอ้ ตกลงของการเรียนการสอนร่วมกนั เปน็ ข้อๆ บันทกึ ลง กระดาน เสร็จแล้วใหท้ ุกคนอ่านและสรปุ บันทึกลงในสมุด

(5) นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื งการลำเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์ จำนวน 10 ข้อ

(6) ครชู ีแ้ จงจุดประสงค์การเรียนให้นกั เรียนทราบ (7) ตรวจสอบความรู้ก่อนเรยี นของนักเรยี น โดยใช้คำถามดังน้ี

 1. เซลล์เปน็ หนว่ ยพ้นื ฐานของสง่ิ มีชวี ิต  2. เซลล์มีสว่ นห่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งยอมให้สารทุกชนิดผ่านเข้าและ ออกไดอ้ ย่างอสิ ระเพื่อให้เซลล์สามารถดำรงชวี ติ อย่ไู ด้  3. การแพรเ่ กดิ จากการเคล่ือนที่ของโมเลกุลสารโดยใชพ้ ลังงานจลน์ของโมเลกุล

 4. ออสโมซิสเป็นการแพร่ของน้ำจากบริเวณที่มคี วามเข้มข้นของสารต่ำไปสู่บริเวณ ท่ีมคี วามเขม้ ข้นของสารสูงโดยไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งผ่านเย่ือเลอื กผ่าน

(8) ครูให้นักเรียนดูภาพถ่ายสมองจากการตรวจวินิจฉัยหลอดเลือดด้วยเทคนิคเอ็มอาร์ไอ (Magnetic Resonance Imaging หรือ MRI) ซึ่งจะเห็นหลอดเลือดชัดเจนเนื่องจากมีการฉีดสารเข้าสู่หลอด เลือดเพื่อเพิ่มความชัดเจนของหลอดเลือดให้แตกต่างจากพื้นหลัง จากนั้นใช้คำถามเพื่อกระตุ้นความสนใจว่า เพราะเหตใุ ดสารดังกลา่ วจึงคงอยู่ในหลอดเลอื ดและไมล่ ำเลียงเข้าสู่เซลลผ์ นังหลอดเลือด

(9) ครูอธิบายว่าในการท่ีเซลล์จะดำรงชีวติ อยไู่ ด้จะตอ้ งมกี ารลำเลยี งสารชนิดตา่ ง ๆ เขา้ และ ออกจากเซลล์พร้อมยกตัวอย่างสาร จากนั้นยกตัวอย่างกรณีของความเข้มข้นของสารที่แตกต่างกันระหว่าง ภายในและภายนอกเซลล์เช่น ความเข้มข้นของไอออนภายในและภายนอกเซลล์ประสาทของสตั ว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำ นม (รูป 1.2 ในหนังสือเรียน) เพื่อสรุปว่านอกจากชนิดของสารแล้วเซลล์ยังสามารถควบคุมปริมาณสารท่ี ผา่ นเข้าออกดว้ ย

  1. ข้นั สำรวจและค้นหา (1) ครูให้นักเรียนช่วยกันสืบคน้ หน้าท่ีของเย่ือหุ้มเซลล์ จากน้นั ทบทวนโครงสร้างพ้ืนฐานของ

เซลลโ์ ดยใชภ้ าพเซลลส์ ตั วแ์ ละภาพเซลลพ์ ชื ประกอบ (2) นกั เรียนศึกษาคลปิ วดี โิ อเกย่ี วกบั สมบัตกิ ารเป็นเยื่อเลือกผ่านของเย่อื หุ้มเซลล์ จากนั้น

ตอบคำถามดังน้ี - ทำไมสบี างชนิดถึงยอ้ มเซลลต์ ิดบางชนิดถงึ ย้อมเซลลไ์ ม่ตดิ - จากสมบตั กิ ารละลายของสีท้งั สองสามารถอธบิ ายผลการทดลองย้อมสีรากแหน

โดยใชส้ มบตั ิของเย่ือหมุ้ เซลล์ไดอ้ ยา่ งไร - การแช่แอลกอฮอลม์ ีผลต่อรากแหนหรอื ไม่ อยา่ งไร - ผลการทดลองนสี้ ามารถนำไปอธิบายถึงความปลอดภัยของสีผสมอาหารได้อย่างไร

(3) แบง่ นักเรยี นออกเปน็ กลมุ่ ๆละ 3–4 คน แบบคละความสามารถ นักเรียนที่มีผลการเรียน ดี เรียนปานกลาง และเรียนอ่อน โดยใช้ข้อมูลจากการสอบถามนักเรียน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างและ สมบัติของเยื่อหมุ้ เซลลท์ ีส่ มั พันธก์ ับการลำเลยี งสาร และการลำเลยี งสารแบบตา่ งๆ ตามขนั้ ตอนต่อไปน้ี

– แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพื่อนสมาชิกช่วยกัน สบื ค้นตามทส่ี มาชิกกลุ่มชว่ ยกนั กำหนดหัวข้อย่อย เชน่ โครงสรา้ งและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ การแพร่ ออสโม ซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต แอกทีฟทรานสปอร์ต การลำเลียงสารด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซสิ และเอนโด ไซโทซสิ

– สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเอง รบั ผดิ ชอบ โดยการสบื คน้ จากใบความรู้ทค่ี รูเตรยี มมาให้ จากหนงั สอื และอินเทอรเ์ น็ต

– สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้ง ร่วมกันอภปิ รายซกั ถามจนคาดว่าสมาชกิ ทกุ คนมคี วามรู้ความเข้าใจท่ตี รงกนั

(4) ครตู ั้งคำถามเพือ่ ใหน้ ักเรียนร่วมกันอภปิ ราย ดังน้ี - นักเรยี นสามารถพบการแพรใ่ นชวี ติ ประจำวนั หรอื ไม่ อยา่ งไร - การแพร่แบบฟาซิลเิ ทตเหมือนหรอื ต่างจากการแพร่ธรรมดาอย่างไร - ถ้าสารมีขนาดใหญ่ เซลลจ์ ะมกี ลไกการลำเลยี งสารอย่างไร

(5) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากกจิ กรรม

  1. ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าช้ันเรียน

(2) นกั เรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใชแ้ นว คำถามต่อไปน้ี

- เยอื่ หุม้ เซลล์ประกอบไปด้วยโครงสร้างอะไรบ้าง - การแพรแ่ ละออสโมซสิ ตา่ งกันอยา่ งไร - การลำเลียงแบบฟาซิลิเทตแตกต่างจากการลำเลียงแบบใช้พลงั งานอยา่ งไร - เซลลม์ ีการรกั ษาดุลยภาพของเซลลเ์ พื่ออะไร (3) นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครูนำเสนอ PowerPoint เรื่อง การลำเลยี งสารผา่ นเซลล์

  1. ขัน้ ขยายความรู้ (1) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการลำเลียงสารแบบฟาซิลิเทต การลำเลียงแบบใช้พลังงานว่า เปน็ การลำเลยี งสารโดยใช้โปรตนี เป็นตวั พาเหมอื นกัน แตก่ ารลำเลยี งแบบใชพ้ ลงั งานจะลำเลยี งสารจากบริเวณ ที่มีความเข้มข้นน้อยไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นมากโดยอาศัยพลังงานจาก ATP ช่วย ส่วนการลำเลียงสาร ขนาดใหญ่จะอาศัยคุณสมบัติการเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ของเยื่อหุ้มเซลล์ พร้อมทั้งยกตัวอย่างชนิดของสารที่มี การลำเลยี งแต่ละประเภท (2) ครูอธิบายเพิ่มเติมว่ากลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลาย เซลล์วา่ สง่ิ มชี ีวติ เซลล์เดียวกจิ กรรมต่าง ๆ จะเกดิ ข้นึ ภายในเซลล์เดยี ว สว่ นสิง่ มีชีวติ หลายเซลล์ต้องอาศัยการ ทำงานประสานกันของเซลล์จำนวนมาก (3) นักเรยี นทำใบงานเรื่อง การลำเลยี งสารผ่านเซลล์ (4) นักเรยี นทำแผนภาพเร่ือง การลำเลยี งสารผ่านเซลล์ (5) นกั เรยี นจบั ค่กู นั 2 คน จากนั้นให้นกั เรยี นแตล่ ะคชู่ ่วยกันตอบคำถามบนจอ PowerPoint ทีละข้อ โดยมีทั้งหมดจำนวน 8 ข้อ โดยเมื่อนักเรียนคู่ใดได้คำตอบแล้ว ให้นักเรียนยกมือเพื่อตอบคำถาม จากนั้นครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพร้อมอธิบายแนวคิดในแต่ละข้อ ถ้าตอบถูกจะได้คะแนนพิเศษทั้ง 2 คน (6) นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1 เรือ่ งการลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ จำนวน 10 ข้อ
  2. ขนั้ ประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด ใดบา้ งทยี่ ังไมเ่ ข้าใจหรอื ยังมีขอ้ สงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นักเรียนเขา้ ใจ (2) ด้านความรู้ ครูตรวจสอบผลจากการทำกิจกรรม การตอบคำถาม การอภิปราย ใบงาน การเขียนแผนภาพ การตอบคำถามข้อสอบ O-NET และแบบทดสอบหลงั เรยี น (3) ด้านทักษะกระบวนการ ครูตรวจสอบผลจากการเขยี นแผนภาพการลำเลียงสารเข้าและ ออกจากเซลล์ (4) ด้านจิตพิสัย ครูตรวจสอบผลจากการสังเกตการเข้าชั้นเรียน การตอบคำถาม การ อภปิ ราย และความกระตือรอื รน้ ในการเรยี น

9. สือ่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ 9.2 ใบความรู้เรื่อง การลำเลยี งสารผา่ นเซลล์ 9.3 PowerPoint เร่ือง การลำเลยี งสารผา่ นเซลล์

10. การวัดผลประเมนิ ผลและเกณฑ์การประเมิน

รายการวดั วิธีการวดั เครอื่ งมือวดั ผล เกณฑ์การ ประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) -ตรวจคำตอบในใบ -ใบงาน การลำเลียง -ผ่านเกณฑร์ ้อย 1. อธิบายโครงสร้างและสมบัตขิ องเย่ือห้มุ งาน แบบทดสอบ เซลล์ทีส่ ัมพันธก์ ับการลำเลียงสารเข้าและ สารผา่ นเซลล์ ละ 60 ขึ้นไป ออกจากเซลล์ -ตรวจความถกู ต้อง 2. อธบิ ายและเปรยี บเทียบการลำเลียงสาร ของแผนภาพ -แบบทดสอบหลังเรยี น เข้าและออกจากเซลล์โดยการแพร่แบบ -สังเกตพฤติกรรม ธรรมดาออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต - แบบประเมนิ -ผา่ นเกณฑร์ ้อย แอกทีฟทรานสปอร์ต เอนโดไซโทซสิ และ แผนภาพ ละ 60 ขึน้ ไป เอกโซไซโทซสิ ด้านทักษะและกระบวนการ (P) - แบบประเมินจิตพิสัย -ผ่านคณุ ภาพ สามารถเขยี นแผนภาพการลำเลียงสารเข้า ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป และออกจากเซลล์ได้

ดา้ นจิตพสิ ยั (A) 1. เข้าเรียนเป็นประจำ 2. มคี วามกระตอื รือรน้ ในการเรียน

11. ความคิดเหน็ ของคณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้  องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้.............................................................................  มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้สอดคลอ้ ง.......................................................  สาระสำคัญครอบคลุมชัดเจน.............................................................................................  สาระการเรียนรมู้ ีความถูกต้องตามหลักวชิ าการ................................................................  จุดประสงคก์ ารเรยี นรมู้ คี วามชดั เจนครอบคลมุ (K/P/A).....................................................  สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน................................................................................................  คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์.................................................................................................  ระบุภาระงาน/ชน้ิ งาน........................................................................................................  กจิ กรรมการเรียนรู้เน้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ............................................................................  สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้.................................................................................................  การวดั และการประเมนิ ผลตามจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .......................................................  เสนอส่งแผนการจดั การเรียนรู้ตามขั้นตอนระบบงาน.........................................................  บนั ทึกหลังสอน................................................................................................................ ..  ภาคผนวก...........................................................................................................................

............................................................................................................................. ......................................... .......................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .................................................. (นางสาวฤทัยรตั น์ ขวญั เชอ้ื )

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชอ่ื .................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นางอารียา เพ็ชรรตั น์) (นางมารเี ยาะห์ โอมณี)

คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้

12. ความคิดเห็นรองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ

 เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ช้จดั การเรียนการสอนได้  เห็นควรปรับปรงุ คอื ................................................................................................................ ..................................................................................................................................................

( นายอบั ดลรอศักด์ิ มณโี ส๊ะ) รองผ้อู ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

13. ความคดิ เหน็ ผู้อำนวยการโรงเรียน

 อนุญาตให้ใชจ้ ัดการเรยี นการสอนได้  ควรปรบั ปรุง คือ................................................................................................................ ..................................................................................................................................................

( นายสริ วฒุ ิ ยนุ ุ้ย ) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนกำแพงวิทยา

รายวิชาชีววิทยาพ้นื ฐาน รหสั ว31104 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การรักษาดุลยภาพของรา่ งกายมนษุ ย์

แผนที่ ชอื่ แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา 2 การควบคมุ ดุลยภาพของนำ้ และสารในรา่ งกาย 4 3 การรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในร่างกาย 2 4 การรักษาดลุ ยภาพของอณุ หภูมิในร่างกาย 2 5 ระบบภมู ิค้มุ กนั 6 รวม 14

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว31104 รายวิชา ชวี วิทยาพ้นื ฐาน

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การรกั ษาดลุ ยภาพของรา่ งกายมนุษย์ เรอ่ื ง การรักษาดุลยภาพของนำ้ และสารในรา่ งกาย

เวลา 4 ชว่ั โมง ช่อื ผูส้ อน นางสาววิชุดา พรหมคงบุญ

1. มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสง่ิ มชี ีวิต หน่วยพน้ื ฐานของส่ิงมีชวี ติ การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธก์ ัน ความสัมพนั ธ์ของ โครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ท่ที ำงานสัมพันธก์ นั รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชวี้ ัด ว 1.2 ม.4/2 อธบิ ายการควบคมุ ดลุ ยภาพของนำ้ และสารในเลอื ดโดยการทำงานของไต

2. สาระสำคัญ มนุษย์จะดำรงชีวิตอยู่ไดอ้ ยา่ งปกติจะต้องรักษาดุลยภาพในร่างกาย การรักษาดุลยภาพของร่างกายได้แก่

การรกั ษาดุลยภาพของน้ำและสารในเลอื ดโดยการทำงานของไต การรกั ษาดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการ ทำงานของไตและปอด การรกั ษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรา่ งกายโดยการทำงานร่วมกันของระบบหมุนเวียนเลือด ตอ่ มเหง่อื เสน้ ขนทผี่ วิ หนงั กล้ามเนื้อโครงร่าง และระบบประสาท

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) 1. ระบุโครงสร้างและอธิบายการทำงานของไตมนษุ ย์ 2. อธิบายกลไกการรักษาดลุ ยภาพของน้ำและสารในรา่ งกายโดยการทำงานของไต ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) นกั เรยี นสามารถทำงานเป็นกลมุ่ รว่ มกับผู้อน่ื ได้ ดา้ นจิตพสิ ยั (A) 1. เขา้ เรยี นเป็นประจำ 2. มีความกระตือรือร้นในการเรยี น 3. มีส่วนร่วมในการอภปิ ราย

3. สาระการเรียนรู้ • การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในเลือดเกิดจากการทำงานของไต ซึ่งเป็นอวัยวะในระบบขับถ่ายที่มี

ความสำคัญในการกำจัดของเสียที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ รวมทั้งน้ำและสารที่มีปริมาณเกินความต้องการ ของร่างกาย

4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด

4.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 5.1 มีวนิ ยั 5.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 5.3 มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

6. ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 6.1 การส่ือสารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทันสอ่ื 6.2 การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและการแกป้ ัญหา

7. ภาระงาน/ชิน้ งาน - ใบงานเรือ่ ง การรักษาดลุ ยภาพของนำ้ และสารในรา่ งกายมนุษย์

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ใชว้ ธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)

  1. ข้นั สรา้ งความสนใจ (1) นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยที่ 2 เรือ่ ง การรกั ษาดุลยภาพของร่างกาย จำนวน

10 ขอ้ (2) ครชู แี้ จงจุดประสงค์การเรียนรใู้ หน้ ักเรยี นทราบ (3) ตรวจสอบความรู้กอ่ นเรยี นของนักเรียน โดยคำถามตอ่ ไปนี้ 1. อวัยวะที่ทำหนา้ ทก่ี ำจัดของเสียทีเ่ กดิ จากกระบวนการเมแทบอลซิ ึมในร่างกาย คอื ไต 2. สารท่ีกรองผา่ นโกลเมอรลู สั ได้ คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง น้ำกลูโคส และไอออนต่าง ๆ 3. เหงือ่ ชว่ ยระบายความร้อนและขับโซเดียมออกจากร่างกาย 4. เซลลเ์ มด็ เลือดขาวและเกลด็ เลอื ดทำหน้าท่ีกำจดั เชือ้ โรคหรอื สิง่ แปลกปลอมท่ีเขา้ สู่

รา่ งกาย 5. ร่างกายกำจัดแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ทเี่ กิดจากกระบวนการเมแทบอลิซมึ โดยการ

หายใจออก 6. การผลิตวคั ซนี ทำโดยการใช้เชือ้ โรคท่ีออ่ นกำลังลงหรอื ตายแล้วมาฉีดกระตุ้นให้ร่างกาย

สรา้ งภูมคิ ุม้ กัน 7. สาเหตสุ ว่ นใหญท่ ท่ี ำให้ผู้ป่วยทีต่ ิดเช้ือ HIV เสยี ชวี ติ คอื การเกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ

เช่น โรคปอดบวม วณั โรค เปน็ ต้น (4) ครใู ห้นักเรยี นดคู ลิปคนออกกำลังกาย จากน้ันตัง้ ประเด็นคำถาม จากนน้ั สมุ่ นักเรียน 2–3 คน

ใหน้ กั เรียนตอบคำถามโดยครู ใช้คำถามกระต้นุ ดังนี้ - ขณะที่นักเรยี นกำลังออกกำลงั กายร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขน้ึ บา้ ง - ในวนั ที่อากาศรอ้ นหรือหลังออกกำลังกาย นักเรียนจะรู้สกึ หิวน้ำมาก และมเี หงือ่ ออกเพราะ

อะไร - หลังออกกำลังกายทำไมนักเรียนหายใจเรว็ ขึ้น - เมือ่ นักเรยี นรับประทานท่มี ีอาหารรสเค็มมาก นักเรียนจะร้สู กึ หิวนำ้ เพราะอะไร

- นักเรียนคิดวา่ เพราะเหตุใด ปัสสาวะของนักเรียนมักมีสีเข้มในวันที่นักเรยี นกลั้นปัสสาวะไว้ นาน

(5) ทบทวนความร้เู ดมิ ของนกั เรียนโดยใช้คำถามดังน้ี - ของเสียที่เกิดขึ้นในร่างกายที่ต้องถูกกำจัดออกจากร่างกายได้แก่อะไรบ้าง (นักเรียนอาจ

ตอบถูกหรือผิดก็ได้ขึ้นอยู่กับความรู้เดิมของนักเรียน เช่น ปัสสาวะ เหงื่อ อุจจาระ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ยูเรีย เป็นตน้ )

- กระบวนการเมแทบอลิซึม (metabolism) ของร่างกายคืออะไร (เมแทบอลิซึม (metabolism) หมายถึง กระบวนการทางชีวเคมีทั้งหมดที่เกิดขึ้นในเซลล์เพื่อนำเอาพลังงานและสสารจาก ส่ิงแวดลอ้ มมาใชใ้ นการดำรงชีวิต)

- สารที่เป็นโทษต่อร่างกายที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึมร่างกายจะต้องกำจัดออก เรียกว่า (ของเสยี )

- การขับถ่าย (Excretion) คืออะไร (การกำจัดของเสียซึ่งเกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม ในเซลลซ์ ึ่งมีไนโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ)

- การถา่ ยอจุ จาระ (defecation) จดั เปน็ การขับถา่ ย (excretion) หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (การถ่ายอุจจาระไม่เป็นการขับถ่าย เพราะการถ่ายอุจจาระเป็นการกำจัดกากอาหารที่ ร่างกายยอ่ ยไมไ่ ดอ้ อกจากร่างกาย)

  1. ขนั้ สำรวจและคน้ หา (1) ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมลู และศกึ ษารูป 2.1 ปริมาณน้ำ โดยเฉลีย่ ท่ีไดร้ บั และสูญเสียออกจาก

ร่างกายผใู้ หญใ่ น 1 วัน และใชค้ ำ ถามชวนคิดใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภิปรายดังน้ี - นักเรียนคิดวา่ ในร่างกายของเรามนี ำ้ เปน็ องคป์ ระกอบอยู่กเี่ ปอรเ์ ซ็นต์ - ร่างกายไดร้ บั นำ้ ปริมาณมากทสี่ ุดโดยวิธใี ดและสูญเสยี น้ำ ออกไปมากทส่ี ุดโดยวิธใี ด - ถ้าปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับและปริมาณน้ำ ที่สูญเสียออกจากร่างกายไม่สมดุลกันจะมีผล

อยา่ งไร (2) นกั เรยี นสบื คน้ เก่ยี วกบั อวยั วะในระบบขับถ่าย โครงสร้างของไต หนว่ ยไต และการทำงาน

ของหนว่ ยไต แลว้ ร่วมกันสรปุ ถึงหน้าที่ของอวยั วะในระบบขับถ่าย โดยใชร้ ูปในหนังสอื เรยี น รูป 2.2 ไตและอวัยวะ ในระบบขับถ่าย รูป 2.3 ไตของมนุษย์และรูป 2.4 การทำงานของหน่วยไต แล้วให้นักเรียนรว่ มกันสรุปหน้าที่การ ทำงานของหนว่ ยไตและให้นักเรียนร่วมกนั อภิปรายโดยใชค้ ำถามดังนี้

- ระบบใดในร่างกายที่ทำหนา้ ทรี่ กั ษาดลุ ยภาพของน้ำ และแรธ่ าตหุ รือสารอ่ืนๆ ในรา่ งกาย - อวยั วะในระบบขบั ถา่ ยมอี ะไรบา้ ง และทำหน้าท่ีอยา่ งไร (จากการอภิปรายนกั เรยี นควรสรปุ ได้ว่า ระบบท่ีทำหนา้ ที่ในการกำจัดของเสยี ท่ีมไี นโตรเจน เป็นองค์ประกอบ เช่น ยูเรีย แอมโมเนียมไอออน และรักษาดุลยภาพของน้ำ และแร่ธาตุหรือสารอื่นๆ ในร่างกาย คือ ระบบขับถ่าย อวัยวะในระบบขับถ่ายได้แก่ ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะโดยภายในไตแต่ละ ข้างมีหน่วยไตประมาณ 1 ล้านหน่วย ทำหน้าที่ในการกรอง การดูดกลับ และการหลั่งสารจากระบบหมุนเวียน เลือด ท่อไตทำ หน้าที่ลำเลียงปัสสาวะไปที่กระเพาะปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะทำหน้าที่สะสมปั สสาวะก่อนขับ ออกนอกร่างกายผา่ นทางท่อปัสสาวะ) (3) ครูนำรูปลักษณะภายในของหน่วยไตหรือแบบจำลองโครงสร้างภายในไตมนุษย์ (human kidney structure model) ให้นักเรียนดู และอธิบายเพมิ่ เตมิ ว่า หน่วยไตแตล่ ะหน่วยมีลกั ษณะเปน็ ท่อ ปลายข้าง

หน่ึงเป็นกระเปาะเรียกวา่ โบวแ์ มนแคปซลู ภายในกระเปาะมีกลุ่มหลอดเลือดฝอยเรียกว่า โกลเมอรูลัส ซ่ึงเลือดท่ี ผา่ นบริเวณน้ีจะถกู กรองสารตา่ ง ๆ ที่รา่ งกายไม่ต้องการออกไปและไปไหลรวมกันสู่ท่อไต โดยอาจมกี ารดูดสารที่มี ประโยชนก์ ลับคนื สรู่ ่างกายที่ทอ่ หน่วยไตได้

(4) ให้นักเรียนตอบคำถามตรวจสอบความเข้าใจในหนังสือเรียน “หน่วยไตทำหน้าที่กรอง ดูด กลับ และหลัง่ สารใดบ้าง”

(1. การกรอง - สารที่เกิดจากการกรองผา่ นโกลเมอรลู ัสและโบว์แมนส์แคปซลู ได้แก่ สารที่มี ขนาดเล็ก เช่น กลูโคส นำ้ ยูเรยี กรดแอมิโนและแร่ธาตบุ างชนดิ สว่ นเซลลเ์ ม็ดเลือด เกลด็ เลือด โปรตีนขนาดใหญ่ ไม่สามารถกรองผ่านได้ยงั คงอยู่ในเลือด

2. การดูดกลบั - สารท่เี กดิ การดูดกลบั ทท่ี ่อหน่วยไต เช่น กรดแอมโิ น กลูโคส นำ้ และไอออน ตา่ ง ๆ เช่น โซเดียมไอออน โพแทสเซียมไอออน ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน

3. การหลง่ั - สารท่มี กี ารหลั่งทีท่ ่อหน่วยไต เชน่ ไฮโดรเจนไอออน แอมโมเนียมไอออนรวมท้ัง สารพษิ อื่น ๆ หรอื ยาบางชนิด)

(5) ครเู ชอ่ื มโยงความรู้เร่อื งการดูดกลบั และการหลง่ั กบั การลำ เลยี งสารเขา้ และออกจากเซลลท์ ี่ นักเรียนได้ศึกษามาจากบทที่1 เรื่อง การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ เช่น การดูดกลับน้ำ เป็นการลำเลียง แบบออสโมซิส การดูดกลับกรดแอมิโน กลูโคส โซเดียมไอออน ไฮโดรเจนไอออน เป็นการลำเลียงแบบแอก ทีฟทรานสปอร์ต เปน็ ต้น

(6) นักเรียนสืบค้นข้อมลู เก่ยี วกับการรกั ษาดุลยภาพของน้ำ ในรา่ งกาย (7) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5–6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สืบค้นข้อมูลความรู้เกี่ยวกับไต ตามขั้นตอน ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะ/การสงั เกต ดังนี้

– แต่ละกล่มุ วางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบง่ หัวข้อย่อยให้เพ่ือนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามท่ี สมาชิกกลุ่มช่วยกนั กำหนดหัวข้อย่อย เช่น สาเหตุของโรคไต อาการของโรคไต วธิ ีการดูแลรักษาผูป้ ่วยโรคไต และ วธิ ปี ้องกนั การเกิดโรคไต

– สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเองรับผิดชอบ โดยการสืบคน้ จากหนังสอื และอนิ เทอรเ์ นต็

– สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน อภปิ รายซักถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมคี วามรู้ความเขา้ ใจทตี่ รงกนั

– สมาชิกกลมุ่ ช่วยกันสรปุ ความรู้ทีไ่ ดท้ ้งั หมดเป็นผลงานของกลุ่ม (8) นักเรียนและครูรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากกิจกรรม

  1. ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (1) นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าช้ันเรียน (2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม

ตอ่ ไปนี้ – โรคไตมีลักษณะอาการเป็นอย่างไร (มีอาการบวมบริเวณใบหน้า ข้อมือ ข้อเท้า เนื่องจากมี

น้ำคงั่ อยู่ มอี าการหอบ เหนือ่ ย ไอ นอนราบไมไ่ ด้ ปวดหลงั หรอื ปวดท้องบริเวณเอว) – ถ้าไตไม่ทำงานจะมีผลต่อการรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในร่างกายอย่างไร (เซลล์

ภายในร่างกายก็จะมีของเสียสะสมอยู่ ส่งผลต่อการรับ–ส่งสารภายในเซลล์ ทำให้การทำงานของเซลล์ผิดปกติไป เปน็ อนั ตรายตอ่ ชวี ติ ได)้

– ปัจจบุ นั การรักษาผู้ปว่ ยโรคไตทำไดโ้ ดยวธิ ีใด (การล้างไตหรือการฟอกเลอื ดโดยใช้เครือ่ งไต เทียม)

(3) นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรปุ ผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า ไตเป็นอวยั วะท่ีมี ความสำคญั ต่อการรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในรา่ งกาย ถา้ ไตเกดิ ความผิดปกติหรือเสื่อมสมรรถภาพในการ ทำงาน จะทำใหเ้ กิดการสะสมนำ้ และแรธ่ าตสุ ่วนเกนิ รวมถึงของเสียท่ีรา่ งกายไม่ตอ้ งการซ่ึงสง่ ผลตอ่ การทำงาน ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายและเป็นอนั ตรายต่อชวี ิตได้

(4) ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ เกี่ยวกบั การทำงานของไตวา่ ไตทำงานสัมพนั ธ์กบั สมองส่วนไฮโพทาลามสั เมือ่ ร่างกายขาดน้ำจะทำใหป้ รมิ าณน้ำในเลอื ดน้อย เลือดมีความเข้มข้นสูง และความดนั เลือดจะลดต่ำลง ส่งผลให้ สมองสว่ นไฮโพทาลามัสส่งกระแสประสาทไปกระต้นุ ต่อมใตส้ มองส่วนท้ายให้หลัง่ ฮอร์โมนวาโซเปรสซนิ หรอื ADH (antidiuretic hormone) เพือ่ กระตุน้ ทอ่ หนว่ ยไตให้ดูดนำ้ กลับเข้าสูก่ ระแสเลือด และเม่ือเราดืม่ นำ้ เขา้ ไปจะทำให้ ปริมาณน้ำในเลือดสูงขึ้น เลือดจะเจือจางลง และความดันเลือดจะเพิ่มสูงขึ้น สมองส่วนไฮโพทาลามัสจะไปยับยั้ง การหล่ัง ADH ให้หล่ังออกมาน้อยลง ทำใหท้ อ่ หนว่ ยไตดูดน้ำกลับน้อยลง สง่ ผลใหป้ ริมาณน้ำในรา่ งกายอยใู่ นภาวะ สมดลุ

  1. ขัน้ ขยายความรู้ (1) ครูให้นักเรียนศึกษารูป 2.7 กลไกการรักษาดุลยภาพของโซเดียมในร่างกาย ในหนังสือเรียน

เนื่องจากแร่ธาตุนี้เกย่ี วข้องกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเน้ือ โดยมีแอลโดสเทอโรน (aldosterone) ทำหนา้ ท่คี วบคมุ ปริมาณโซเดียมให้อยู่ในภาวะสมดลุ เสมอ หลงั จากน้นั ให้นักเรียนสบื ค้นขอ้ มูลเพิม่ เติมเกยี่ วกับการ รักษาดุลยภาพของแรธ่ าตอุ นื่ โดยการทำงานของไต เชน่ โพแทสเซียม

(2) นักเรียนทำใบงานเรือ่ ง การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในรา่ งกายมนษุ ย์ (3) นักเรียนจับคู่กัน 2 คน จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคู่ช่วยกันตอบคำถามข้อสอบ O-NET บนจอ PowerPoint ทีละข้อ โดยมีทั้งหมดจำนวน 3 ข้อ โดยเมื่อนักเรียนคู่ใดได้คำตอบแล้ว ให้นักเรียนยกมือเพื่อตอบ คำถาม จากนน้ั ครแู ละนักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพร้อมอธิบายแนวคิดในแตล่ ะข้อ ถ้าตอบถกู จะได้คะแนนพิเศษ ทัง้ 2 คน

  1. ขนั้ ประเมิน (1) ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนพจิ ารณาว่าจากหวั ข้อท่ีเรียนมาและการปฏบิ ตั ิกิจกรรม มจี ดุ

ใดบ้างที่ยงั ไมเ่ ขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครูชว่ ยอธบิ ายเพิ่มเตมิ ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ (2) ดา้ นความรู้ ครตู รวจสอบผลจากการทำกิจกรรม การตอบคำถาม การอภปิ ราย และใบงาน (3) ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ครตู รวจสอบผลจากการสังเกตการทำกิจกรรม (4) ด้านจิตพิสัย ครูตรวจสอบผลจากการสังเกตการเข้าชั้นเรียน การตอบคำถาม การอภิปราย และ

ความกระตอื รือรน้ ในการเรยี น

9. ส่ือการเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 9.2 PowerPoint เร่ือง การรักษาดลุ ภาพของมนุษย์

10. การวัดผลประเมินผลและเกณฑก์ ารประเมิน

รายการวัด วิธีการวดั เคร่อื งมือวัดผล เกณฑก์ าร - ใบงาน ประเมิน ด้านความรู้ (K) -ผ่านเกณฑร์ ้อย 1. ระบุโครงสร้างและอธิบายการทำงานของ -ตรวจคำตอบในใบ ละ 60 ข้นึ ไป

ไตมนษุ ย์ งาน

2. อธิบายกลไกการรกั ษาดลุ ยภาพของนำ้

และสารในร่างกายโดยการทำงานของไต

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

1. นักเรียนสามารถทำงานเป็นกลุ่มร่วมกับ -สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินการ -ผ่านคุณภาพ

ผู้อ่นื ได้ ทำงานเปน็ กลุ่ม ระดบั พอใช้ขึน้ ไป

ด้านจิตพสิ ยั (A) -สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ จิตพสิ ยั -ผา่ นคณุ ภาพ 1. เขา้ เรียนเป็นประจำ ระดับพอใช้ขนึ้ ไป 2. มีความกระตือรือร้นในการเรยี น 3. มีสว่ นรว่ มในการอภิปราย

11. ความคดิ เห็นของคณะกรรมการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้  องค์ประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้.............................................................................  มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรสู้ อดคล้อง.......................................................  สาระสำคญั ครอบคลมุ ชดั เจน.............................................................................................  สาระการเรยี นรูม้ ีความถูกต้องตามหลักวิชาการ................................................................  จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรมู้ ีความชัดเจนครอบคลุม (K/P/A).....................................................  สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น................................................................................................  คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์.................................................................................................  ระบภุ าระงาน/ชน้ิ งาน........................................................................................................  กิจกรรมการเรยี นรูเ้ น้นผ้เู รียนเป็นสำคญั ............................................................................  สอื่ และอปุ กรณ์การเรียนรู้.................................................................................................  การวดั และการประเมนิ ผลตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู.้ .......................................................  เสนอส่งแผนการจดั การเรียนรู้ตามขั้นตอนระบบงาน.........................................................  บันทกึ หลงั สอน..................................................................................................................  ภาคผนวก...........................................................................................................................

............................................................................................................................................................. ............... .................................................................................................................... ................................................................ ............................................................................................................................. ..................................................... .

ลงชอื่ .................................................. (นางสาวฤทยั รตั น์ ขวญั เชอื้ )

หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงช่อื .................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นางอารยี า เพ็ชรรัตน์) (นางมารีเยาะห์ โอมณี)

คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้

12. ความคดิ เห็นรองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

 เห็นควรอนุญาตให้ใช้จัดการเรยี นการสอนได้  เห็นควรปรับปรงุ คือ................................................................................................................ ............................................................................................................................. .....................

( นายอบั ดลรอศักด์ิ มณีโส๊ะ) รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

13. ความคดิ เหน็ ผู้อำนวยการโรงเรยี น

 อนุญาตใหใ้ ช้จัดการเรยี นการสอนได้  ควรปรับปรงุ คอื ................................................................................................................ ............................................................................................................................. .....................

( นายสริ วฒุ ิ ยุนยุ้ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นกำแพงวิทยา

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 3

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว31104 รายวิชา ชวี วิทยาพ้นื ฐาน

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การรกั ษาดลุ ยภาพของร่างกายมนุษย์ เรือ่ ง การรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในร่างกาย

เวลา 2 ชวั่ โมง ช่อื ผู้สอน นางสาววชิ ุดา พรหมคงบุญ

1. มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำ ความรู้ไปใช้ ประโยชน์

ตวั ชี้วดั ว 1.2 ม.4/3 อธบิ ายการควบคุมดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทำงานของไตและ ปอด 2. สาระสำคัญ

มนุษย์จะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติจะต้องรักษาดุลยภาพในร่างกาย การรักษาดุลยภาพของร่างกาย ได้แก่ การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในเลือดโดยการทำงานของไต การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสของ เลือดโดยการทำงานของไตและปอด การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกายโดยการทำงานร่วมกันของ ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ต่อมเหงอื่ เสน้ ขนท่ผี วิ หนัง กล้ามเนือ้ โครงรา่ ง และระบบประสาท

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) อธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทำงานของไตและปอด ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) นกั เรยี นสามารถทำงานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ื่นได้ ด้านจติ พสิ ยั (A) 1. เขา้ เรยี นเปน็ ประจำ 2. มีความกระตือรือรน้ ในการเรยี น 3. มีส่วนรว่ มในการอภปิ ราย

3. สาระการเรยี นรู้ • การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือดเกิดจากการทำงานของไตที่ทำหน้าที่ขับหรือดูดกลับ

ไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน และแอมโมเนียมไอออน และการทำงานของปอดที่ทำหน้าที่ กำจัดคารบ์ อนไดออกไซด์

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร

4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 5.1 มวี นิ ยั 5.2 ใฝ่เรียนรู้ 5.3 มุง่ ม่นั ในการทำงาน

6. ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 6.1 การสอื่ สารสารสนเทศและการร้เู ท่าทนั สือ่ 6.2 การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ัญหา

7. ภาระงาน/ชนิ้ งาน - แผ่นพับ โรคไตและโรคทีเ่ กี่ยวกับทางเดนิ ปสั สาวะ - ใบงานเรอื่ ง การรักษาดุลยภาพของกรดเบสในรา่ งกายมนุษย์

8. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ใชว้ ธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)

  1. ข้นั สรา้ งความสนใจ (1) ครูทบทวนกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกายของมนุษย์ เช่น การหายใจระดับเซลล์

การสลายสารอาหารต่าง ๆ เพื่อให้ได้พลังงานซึง่ ล้วนเปน็ กระบวนการเมแทบอลิซึมทีต่ ้องอาศัยเอนไซม์ในการ เกิดปฏิกิริยาเคมี เอนไซม์เป็นโปรตีน โดยเอนไซม์แต่ละชนิดจะทำงานได้ดีขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ แล้วครูใช้ คำถามว่า “ปัจจยั ใดบ้างทมี่ ีผลตอ่ การทำงานของเอนไซม์”

(2) นักเรียนศึกษากราฟแสดงอัตราการทำงานของเอนไซม์เพปซินและเอนไซม์อะไมเลสท่คี ่า pH ตา่ ง ๆ แล้วตอบคำถาม ดังน้ี

- เอนไซม์อะไมเลสสามารถทำงานไดด้ ีที่สุดทีค่ ่า pH ใด (pH 7) - จงอธบิ ายอัตราการทำงานของเอนไซม์เพปซินและเอนไซมอ์ ะไมเลส (เอนไซม์เพปซนิ เปน็ เอนไซมท์ ี่ทำงานไดด้ ีทีส่ ุดท่ีค่า pH 2 หากค่า pH เพ่มิ ข้ึนการทำ งานจะลดลงเรื่อย ๆ จนไม่สามารถทำงานได้ส่วนเอนไซม์อะไมเลสที่ได้จากน้ำลายจะทำงานได้ดีที่สุดท่ีค่า pH 7 หากค่า pH เพมิ่ ขึ้นหรือลดลงการทำงานของเอนไซม์อะไมเลสจะคอ่ ย ๆ ลดลง) (3) ครูอธิบายเพิ่มเติมว่ากระบวนการเมแทบอลิซึมจะเกิดขึ้นได้เร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับการทำ งานของเอนไซม์โดยอัตราการทำงานของเอนไซม์แต่ละชนิดยังขึน้ อยู่กับความเป็นกรด-เบสที่เหมาะสมต่อการ ทำงาน

  1. ขน้ั สำรวจและค้นหา (1) นักเรียนศึกษาสมการการเกิดปฏิกิริยาของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ในเลือดที่ทำ

ให้เกิดไฮโดรเจนไอออน (H+) ในหนังสือเรียน โดย H+ ที่เกิดขึ้นนี้ทำให้ค่าความเป็นกรด-เบสในเลือด เปลีย่ นแปลงไป หลังจากน้ันใหน้ กั เรียนร่วมกนั อภิปรายโดยใชค้ ำถามดังน้ี

- ถ้าเลอื ดมปี ริมาณ H+ มากกวา่ หรอื นอ้ ยกว่าปกติจะสง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของ pH อยา่ งไร

- รา่ งกายมนุษยม์ แี นวโน้มมีความเป็นกรดหรอื เบสมากกว่ากนั เพราะเหตใุ ด (จากการอภิปรายนักเรียนควรได้ข้อสรุปว่าถ้าเลือดมปี ริมาณ H+ มากกว่าปกติจะทำ ให้ pH ของเลือดมีความเป็นกรด แต่ถ้าเลือดมีปริมาณ H+ น้อยกว่าปกติจะทำ ให้ pH ของเลือดมีความเป็น เบสและร่างกายของมนุษย์มแี นวโน้มท่เี ลือดจะมีความเป็นกรดมากกวา่ เปน็ เบส เน่อื งจากเซลล์ต่าง ๆ ต้องการ พลังงานซึ่งไดม้ าจากกระบวนการหายใจระดบั เซลล์ทำ ให้เกดิ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์เป็นจำนวนมาก ปรมิ าณ H+ จงึ เพ่มิ ข้นึ ตลอดเวล) (2) ครูทบทวนความรู้เรื่องการหายใจของมนุษย์โดยอาจใช้วีดิทัศน์เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยน แกส๊ ทีป่ อดแล้วใชค้ ำถาม ดังนี้ - การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับแก๊สออกซิเจนเกดิ ขึ้นที่อวัยวะใด และ บริเวณใด (เกดิ ขนึ้ ท่ีปอด บริเวณถุงลมปอด) (3) ครูให้นักเรียนทำการทดลองโดยการกลั้นหายใจให้ได้นานที่สุด แล้วใช้คำถามเพื่อให้ นกั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ ดงั นี้ - เหตุใดนักเรียนจึงกลั้นหายใจไม่ได้นาน (ขณะที่กลั้นหายใจปริมาณแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ในร่างกายจะสูงขึ้นจนถึงจุดหนึ่งที่ร่างกายทนไม่ได้ทำ ให้ต้องหายใจออกเพื่อนำ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายและหายใจเอาแก๊สออกซิเจนเข้าไป โดยการตอบสนองนี้เป็นกลไกที่อยู่ นอกเหนืออำนาจจิตใจ จงึ ไม่สามารถกลน้ั หายใจได้นาน) (4) นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกลไกการควบคุมดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการ ทำงานของปอดจากหนงั สือเรียนหรือแหลง่ การเรียนรู้อืน่ ๆ แลว้ ใหน้ ักเรยี นอภปิ รายร่วมกันโดยใชค้ ำถามดงั นี้ - การหายใจชว่ ยในการรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในเลอื ดไดอ้ ยา่ งไร (ถ้าปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์หรือไฮโดรเจนไอออนสะสมอยู่ในเลือดมากจะ ส่งผลให้เลือดมีความเป็นกรดเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงนี้จะส่งสัญญาณไปกระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจท่ี สมอง ทำให้เพ่ิมอัตราการหายใจเพือ่ ขบั แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากปอดเรว็ ข้นึ แต่ถา้ เลือดเป็นเบส อตั รา การหายใจจะลดลงเพือ่ เพิม่ ปริมาณไฮโดรเจนไอออนให้สูงขึ้นโดยการสะสมคารบ์ อนไดออกไซด์ในเลือด ทำให้ ความเปน็ กรด-เบสของเลอื ดเข้าสู่ภาวะสมดุล) (5) แบ่งนกั เรียนกลุ่มละ 5–6 คน ปฏิบัตกิ จิ กรรมโรคไตและโรคที่เกย่ี วกับทางเดนิ ปสั สาวะ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสบื คน้ ข้อมลู โดยแบง่ หวั ขอ้ ย่อยใหเ้ พ่ือนสมาชิกช่วยกนั สืบค้นตามที่ สมาชิกกลมุ่ ช่วยกันกำหนดหัวขอ้ ย่อย เชน่ สาเหตุ อาการ แนวทางการป้องกันหรอื รักษาโรคที่เกีย่ วกับไต และ โรคทเ่ี กี่ยวกบั ทางเดนิ ปสั สาวะ – สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเองรับผิดชอบ โดยการสบื ค้นจากหนังสือ และอินเทอรเ์ นต็ – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน อภิปรายซักถามจนคาดว่าสมาชิกทุกคนมีความรูค้ วามเขา้ ใจทต่ี รงกนั – สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรูท้ ี่ได้ทั้งหมดเปน็ ผลงานของกลุ่ม และช่วยกันจัดทำแผ่นพับ การศกึ ษาคน้ คว้าเกย่ี วกับความรเู้ กยี่ วกบั ไต (6) นกั เรยี นและครูรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมูลทไี่ ดจ้ ากกิจกรรม

  1. ข้ันอธิบายและลงข้อสรปุ (1) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหน้าช้นั เรยี น (2) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลไกการรักษาดุลยภาพความเป็นกรด-เบสในเลือดโดยการ

ทำงานของไตและปอด (3) นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ผงั มโนทศั นเ์ กย่ี วกบั ดลุ ยภาพกรด-เบสของเลอื ด

  1. ขนั้ ขยายความรู้ (1) ครูขยายความรู้โดยการเชื่อมโยงเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อให้นักเรียน

ตระหนักถึงสุขภาพของตนเอง โดยเน้นประเด็นที่ว่าการตรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันโรคหรือตรวจหา ความเส่ยี งในการเกิดโรค ซึ่งสถานพยาบาลสว่ นใหญ่จะมกี ารตรวจปสั สาวะรวมอย่ใู นการตรวจสุขภาพประจำปี ด้วย การตรวจปัสสาวะนี้ทำให้ทราบการทำงานของไตว่ายังเป็นปกติอยู่หรือไม่ โดยจะตรวจหาค่าความเป็น กรด-เบส ความถ่วงจำเพาะ โปรตีน และกลูโคส รวมทั้งตรวจตะกอนในปัสสาวะ เพื่อตรวจหาเซลล์เม็ดเลือด แดง เซลล์เมด็ เลือดขาว เยื่อบุผิว แบคทีเรีย และผลึกแคลเซยี มออกซาเลต นอกจากนก้ี ารตรวจเลือดก็สามารถ บอกภาวะการทำงานของไตได้เช่นกัน โดยตรวจค่ายูเรียไนโตรเจนในเลือด (Blood Urea Nitrogen : BUN) และการตรวจหาสารท่เี กิดจากเมแทบอลซิ มึ ของเซลลก์ ล้ามเน้ือ หรือท่ีเรียกวา่ ครีเอทินีน (creatinine)

(2) นักเรยี นทำใบงานเรอื่ ง การรักษาดลุ ยภาพของกรดเบสในรา่ งกายมนษุ ย์ (3) นักเรียนจบั ค่กู นั 2 คน จากนัน้ ใหน้ กั เรียนแต่ละคชู่ ่วยกนั ตอบคำถามขอ้ สอบ O-NET บน จอ PowerPoint ทลี ะข้อ โดยมีทั้งหมดจำนวน 2 ข้อ โดยเม่ือนกั เรียนคูใ่ ดได้คำตอบแล้ว ให้นกั เรียนยกมือเพ่ือ ตอบคำถาม จากนั้นครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพร้อมอธิบายแนวคิดในแต่ละข้อ ถ้าตอบถูกจะได้ คะแนนพิเศษทง้ั 2 คน

  1. ขัน้ ประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแตล่ ะคนพจิ ารณาวา่ จากหวั ข้อที่เรยี นมาและการปฏิบตั ิกิจกรรม มจี ดุ

ใดบา้ งที่ยงั ไม่เข้าใจหรือยงั มีข้อสงสยั ถ้ามี ครูชว่ ยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรยี นเข้าใจ (2) ด้านความรู้ ครูตรวจสอบผลจากการทำกิจกรรม การตอบคำถาม การอภปิ ราย ใบงาน

และแผ่นพบั (3) ด้านทักษะกระบวนการ ครูตรวจสอบผลจากการสังเกตการทำกิจกรรม (4) ดา้ นจิตพสิ ัย ครูตรวจสอบผลจากการสังเกตการเข้าชน้ั เรยี น การตอบคำถาม การ

อภิปรายและความกระตือรือร้นในการเรยี น

9. สือ่ การเรยี นรู้ 9.1 หนงั สือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ 9.2 PowerPoint เรื่อง การรักษาดุลภาพของมนุษย์ 9.3 Internet

10. การวดั ผลประเมนิ ผลและเกณฑก์ ารประเมิน

รายการวดั วิธีการวัด เคร่ืองมือวดั ผล เกณฑ์การ ประเมิน ดา้ นความรู้ (K) อธบิ ายกลไกการรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบส -ตรวจคำตอบในใบ - ใบงาน -ผา่ นเกณฑร์ ้อย ของเลือดโดยการทำงานของไตและปอด งาน และแผน่ พับ - แผน่ พับ ละ 60 ข้ึนไป

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - แบบประเมินการ -ผ่านคณุ ภาพ นักเรียนสามารถทำงานเป็นกลุ่มร่วมกับผู้อื่น -สังเกตพฤตกิ รรม ได้ ทำงานเปน็ กลุ่ม ระดับพอใช้ขึ้นไป

ดา้ นจิตพิสัย (A) -สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมินจิตพสิ ัย -ผา่ นคุณภาพ 1. เข้าเรยี นเป็นประจำ ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป 2. มีความกระตือรือรน้ ในการเรียน 3. มีสว่ นร่วมในการอภิปราย

11. ความคดิ เหน็ ของคณะกรรมการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้  องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรยี นร.ู้ ............................................................................  มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรสู้ อดคลอ้ ง.......................................................  สาระสำคญั ครอบคลุมชัดเจน.............................................................................................  สาระการเรียนรูม้ ีความถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ................................................................  จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้มคี วามชัดเจนครอบคลมุ (K/P/A).....................................................  สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น................................................................................................  คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์.................................................................................................  ระบภุ าระงาน/ชิ้นงาน........................................................................................................  กิจกรรมการเรยี นร้เู นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ............................................................................  สื่อและอปุ กรณ์การเรียนร.ู้ ................................................................................................  การวัดและการประเมนิ ผลตามจุดประสงค์การเรยี นรู้........................................................  เสนอสง่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามข้นั ตอนระบบงาน.........................................................  บนั ทึกหลงั สอน................................................................................................................ ..  ภาคผนวก..................................................................................................................... ......

............................................................................................................................. ......................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ.................................................. (นางสาวฤทัยรัตน์ ขวัญเชอ้ื )

หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชื่อ.................................................. ลงชื่อ.................................................. (นางอารียา เพ็ชรรตั น์) (นางมารีเยาะห์ โอมณี)

คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้

12. ความคดิ เห็นรองผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ  เหน็ ควรอนุญาตใหใ้ ช้จัดการเรยี นการสอนได้  เห็นควรปรับปรงุ คอื ................................................................................................................ ............................................................................................................................. ..........................

( นายอับดลรอศักด์ิ มณีโส๊ะ) รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

13. ความคดิ เห็นผู้อำนวยการโรงเรยี น

 อนุญาตให้ใช้จัดการเรยี นการสอนได้  ควรปรับปรุง คอื ................................................................................................................ ............................................................................................................................. .....................

( นายสิรวฒุ ิ ยนุ ุย้ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นกำแพงวิทยา

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว31104 รายวิชา ชีววทิ ยาพนื้ ฐาน

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การรกั ษาดุลยภาพของรา่ งกายมนุษย์ เร่อื ง การรักษาดลุ ยภาพของอณุ หภูมใิ นร่างกาย

เวลา 2 ชว่ั โมง ชอื่ ผสู้ อน นางสาววชิ ุดา พรหมคงบญุ

1. มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์

ตวั ช้ีวัด ว 1.2 ม.4/4 อธบิ ายการควบคมุ ดลุ ยภาพของอุณหภมู ิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวียน เลอื ด ผิวหนงั และกล้ามเน้ือโครงร่าง

2. สาระสำคัญ มนุษย์จะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติจะต้องรักษาดุลยภาพในร่างกาย การรักษาดุลยภาพของร่างกาย

ได้แก่ การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในเลือดโดยการทำงานของไต การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสของ เลือดโดยการทำงานของไตและปอด การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกายโดยการทำงานร่วมกันของ ระบบหมุนเวยี นเลอื ด ตอ่ มเหงือ่ เสน้ ขนที่ผวิ หนงั กลา้ มเนื้อโครงร่าง และระบบประสาท

จดุ ประสงค์ ดา้ นความรู้ (K) อธบิ ายกลไกการรักษาดลุ ยภาพของอุณหภูมภิ ายในรา่ งกายโดยการทำงานของหลอดเลือดฝอย ตอ่ ม เหงื่อ เสน้ ขนทีผ่ ิวหนงั และกล้ามเนื้อโครงร่าง ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถทำงานเปน็ กลุ่มรว่ มกบั ผอู้ นื่ ได้ ด้านจติ พสิ ัย (A) 1. เข้าเรยี นเป็นประจำ 2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการเรยี น 3. มีสว่ นรว่ มในการอภิปราย

3. สาระการเรยี นรู้ การรักษาดลุ ยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย เกิดจากการทำงานของระบบหมุนเวียนเลือดทค่ี วบคุม

ปรมิ าณเลือดไปท่ผี ิวหนงั การทำงานของต่อมเหงื่อ และกล้ามเน้ือโครงร่าง ซ่งึ ส่งผลถึงปริมาณความร้อนที่ถกู เก็บหรือระบายออกจากร่างกาย

4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร

4.2 ความสามารถในการคิด

5. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 5.1 มีวินยั 5.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 5.3 มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

6. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 6.1 การส่อื สารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทันสือ่ 6.2 การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ัญหา

7. ภาระงาน/ชนิ้ งาน ใบงานเร่อื ง การรักษาดลุ ยภาพของอุณหภมู ใิ นร่างกายมนุษย์

8. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ใช้วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)

  1. ขน้ั สร้างความสนใจ (1) ครเู ชื่อมโยงความรเู้ กีย่ วกบั อัตราการทำงานของเอนไซมท์ ่ีคา่ pH ต่าง ๆ โดยใช้รูป 2.8 ใน

หนังสือเรียน กับตัวอย่างการทำงานของเอนไซม์อะไมเลสที่อุณหภูมิต่าง ๆ กัน จากรูป 2.12 อัตราการทำงาน ของเอนไซม์อะไมเลสที่อุณหภูมติ ่าง ๆ ในหนังสอื เรียนว่านอกจากจะข้นึ กับความเป็นกรด-เบสท่ีเหมาะสมแล้ว ยงั เก่ยี วขอ้ งกบั อณุ หภูมอิ ีกดว้ ย จากนนั้ ใหน้ ักเรียนตอบคำ ถามในหนังสือเรยี น ดังน้ี

– การเปลี่ยนแปลงของอุณหภมู มิ ีผลต่อการทำงานของเอนไซมห์ รือไม่ อยา่ งไร (การเปลย่ี นแปลงของอุณหภูมิมผี ลต่อการทำงานของเอนไซมโ์ ดยเม่ือพิจารณาจากกราฟที่อณุ หภูมิ 10 ํC เอนไซม์อะไมเลสไม่สามารถทำงานได้เมื่ออุณหภูมิค่อยๆ เพิ่มขึ้นจนถึงประมาณ 37 ํC เอนไซม์มีอัตราการ ทำงานสูงทีส่ ุด แต่เมื่ออุณหภูมิเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ การทำงานของเอนไซม์จะค่อยๆ ลดลง จนไม่สามารถทำงานได้ ตอ่ ไปท่ีอุณหภูมิ 50 ํC)

– เอนไซม์ชนดิ นี้สามารถเรง่ ปฏิกิรยิ าเคมใี นร่างกายมนุษยไ์ ดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (เอนไซม์ชนิดน้สี ามารถเร่งปฏิกริ ิยาเคมีในรา่ งกายได้เพราะอณุ หภมู ิปกติของรา่ งกาย มนุษย์ประมาณ 37 ํC ซึ่งเปน็ อณุ หภมู ทิ เี่ หมาะสมในการทำงานของเอนไซมช์ นิดนี้)

  1. ข้ันสำรวจและคน้ หา (1) ให้นักเรียนศึกษากลไกในการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกายจากในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ร่างกายของเรามีกลไกในการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ โดย สมองสว่ นส่วนไฮโพทาลามัสจะทำงานสมั พนั ธก์ ับอวยั วะสว่ นต่าง ๆ เพอ่ื ใหร้ ่างกายกลบั มามอี ณุ หภมู ิปกติ (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5–6 คน ร่วมกันอภิปรายถึงการเกิดความร้อนในร่างกาย โดยใช้ คำถามว่า กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันทำให้เกิดความร้อนในร่างกายได้อย่างไร และร่างกายมีการรักษา อุณหภูมิให้คงที่ได้อย่างไร (ความร้อนในร่างกายเกิดจากกระบวนการสลายสารอาหารระดับเซลล์เพื่อให้ได้ พลงั งานไปใช้ในการทำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ซงึ่ ร่างกายจำเป็นต้องมีการรกั ษาอุณหภูมิให้คงท่ีอยู่เสมอ เพื่อเป็นการ รักษาสภาพการทำงานของเอนไซม์ไว้นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมภายนอกก็ทำ ให้ รา่ งกายต้องรกั ษาอณุ หภูมไิ มใ่ ห้เปล่ยี นไปตามส่งิ แวดล้อมภายนอกดว้ ยเชน่ กัน)
  1. ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (1) นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าชน้ั เรยี น (2) ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกยี่ วกบั ระดบั อุณหภมู ิปกติ และอุณหภูมทิ ีไ่ มส่ มดลุ และกลไกการ

รกั ษาดุลยภาพของรา่ งกายเม่ืออากาศร้อน และอากาศหนาว (3) นกั เรียนและครูรว่ มกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถาม

ต่อไปน้ี - เพราะเหตใุ ดเม่อื ออกกำลงั กายอย่างหนัก จะมีอาการหน้าแดง เหงือ่ ออกมาก และหายใจ

แรงและถ่ีขนึ้ - มนษุ ยม์ พี ฤตกิ รรมใดอีกบา้ งเพอ่ื ชว่ ยรกั ษาดลุ ยภาพของอุณหภมู ใิ นรา่ งกาย (4) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่อมีการ

เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในรา่ งกายเกิดขึ้น ร่างกายจะส่งสัญญาณจากศูนยค์ วบคุมอุณหภมู ิของรา่ งกายท่ีไฮโพทา ลามัสไปยังอวัยวะทำงานต่าง ๆ ให้ทำงานเพื่อเพิ่มหรือลดอุณหภูมิในร่างกายให้อยู่ในค่าปกติ หลังจากน้ัน ร่างกายจะส่งสัญญาณเข้าสู่ศูนย์ควบคุมอีกครั้ง เพื่อยับยั้งการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ไม่ให้ทำงานมาก จนเกินไป นอกจากนี้อุณหภูมิภายในร่างกายยังผลตอ่ กระบวนการเมแทบอลิซึมในร่างกายและการทำงานของ เอนไซมภ์ ายในรา่ งกาย คือ ถา้ อณุ หภูมิของรา่ งกายสงู หรอื ตำ่ เกินไป

  1. ข้ันขยายความรู้ (1) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาอุณหภูมิของร่างกายว่า การรักษาอุณหภูมิของ

ร่างกายให้คงที่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการเมแทบลิซึมและการทำงานของเอนไซม์ โดยกระบวนการเม แทบอลิซึม และการทำงานของเอนไซม์จะมีประสิทธิภาพเมื่อร่างกายมีอุณหภูมิปกติ (ประมาณ 37 องศา เซลเซยี ส) อณุ หภูมทิ ่ตี ่ำจะหยุดการทำงานของกระบวนการเมแทบอลิซึมและเอนไซม์ ส่วนอุณหภูมิที่สูงเกินไป จะทำลายกระบวนการเมแทบอลิซมึ และเอนไซม์

(2) นักเรียนทำใบงานเร่อื ง การรกั ษาดุลยภาพของอณุ หภูมใิ นรา่ งกายมนุษย์ (3) นกั เรยี นจบั คู่กนั 2 คน จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นแต่ละคชู่ ่วยกันตอบคำถามข้อสอบ O-NET บน จอ PowerPoint ทลี ะขอ้ โดยมีทั้งหมดจำนวน 2 ขอ้ โดยเมื่อนกั เรยี นคใู่ ดได้คำตอบแลว้ ให้นักเรียนยกมือเพ่ือ ตอบคำถาม จากนั้นครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพร้อมอธิบายแนวคิดในแต่ละข้อ ถ้าตอบถูกจะได้ คะแนนพเิ ศษท้งั 2 คน

  1. ขน้ั ประเมิน (1) ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อท่ีเรยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ี ยังไมเ่ ข้าใจหรอื ยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูชว่ ยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ (2) ดา้ นความรู้ ครตู รวจสอบผลจากการทำกิจกรรม การตอบคำถาม การอภิปราย ใบงาน และ การตอบคำถามข้อสอบ O-NET (3) ดา้ นทักษะกระบวนการ ครตู รวจสอบผลจากการสังเกตการทำกจิ กรรม (4) ด้านจิตพิสัย ครูตรวจสอบผลจากการสังเกตการเข้าชั้นเรียน การตอบคำถาม การอภิปราย และความกระตอื รือร้นในการเรยี น

9. ส่ือการเรยี นรู้ 9.1 หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ 9.2 PowerPoint เรื่อง การรักษาดุลภาพของมนษุ ย์

10. การวดั ผลประเมนิ ผลและเกณฑ์การประเมิน

รายการวัด วธิ กี ารวดั เครือ่ งมอื วัดผล เกณฑก์ าร - ใบงาน ประเมนิ ด้านความรู้ (K) อธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิ -ตรวจคำตอบในใบ -ผ่านเกณฑร์ ้อย ภายในร่างกายโดยการทำงานของหลอดเลือด งาน ละ 60 ขึน้ ไป ฝอย ตอ่ มเหง่ือ เส้นขนทีผ่ ิวหนงั และ กลา้ มเนื้อโครงรา่ ง - แบบประเมนิ การ -ผ่านคณุ ภาพ

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ทำงานเป็นกลุ่ม ระดับพอใช้ข้ึนไป นักเรียนสามารถทำงานเป็นกลุ่มร่วมกับผู้อ่ืน -สังเกตพฤติกรรม ได้

ด้านจิตพสิ ัย (A) -สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมินจติ พสิ ยั -ผ่านคุณภาพ 1. เข้าเรียนเป็นประจำ ระดับพอใช้ขึน้ ไป 2. มีความกระตอื รือรน้ ในการเรียน 3. มสี ว่ นร่วมในการอภิปราย

11. ความคิดเห็นของคณะกรรมการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้  องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นร.ู้ ............................................................................  มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรียนรสู้ อดคล้อง.......................................................  สาระสำคญั ครอบคลุมชดั เจน.............................................................................................  สาระการเรียนรูม้ ีความถูกต้องตามหลกั วิชาการ................................................................  จุดประสงค์การเรยี นรูม้ คี วามชดั เจนครอบคลมุ (K/P/A).....................................................  สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน................................................................................................  คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์.................................................................................................  ระบภุ าระงาน/ชิ้นงาน........................................................................................................  กจิ กรรมการเรยี นรู้เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ............................................................................  ส่ือและอปุ กรณ์การเรยี นร.ู้ ................................................................................................  การวดั และการประเมินผลตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้........................................................  เสนอส่งแผนการจัดการเรียนรตู้ ามขัน้ ตอนระบบงาน.........................................................  บันทกึ หลงั สอน................................................................................................................ ..  ภาคผนวก..................................................................................................................... ......

............................................................................................................................. ......................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .................................................. (นางสาวฤทัยรัตน์ ขวญั เชือ้ )

หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชื่อ.................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นางอารียา เพ็ชรรัตน์) (นางมารีเยาะห์ โอมณี)

คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้

12. ความคดิ เหน็ รองผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ

 เหน็ ควรอนญุ าตให้ใชจ้ ัดการเรยี นการสอนได้  เห็นควรปรบั ปรุง คือ................................................................................................................ ............................................................................................................................. .........................

( นายอับดลรอศักดิ์ มณโี สะ๊ ) รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

13. ความคิดเห็นผู้อำนวยการโรงเรียน

 อนุญาตใหใ้ ช้จัดการเรียนการสอนได้  ควรปรับปรุง คอื ................................................................................................................ ............................................................................................................................. .....................

( นายสริ วุฒิ ยนุ ยุ้ ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นกำแพงวิทยา

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว31104 รายวชิ า ชีววิทยาพ้นื ฐาน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การรกั ษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์ เรอื่ ง ระบบภูมคิ ุ้มกัน เวลา 6 ชวั่ โมง

ชอ่ื ผสู้ อน นางสาววิชดุ า พรหมคงบุญ

1. มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำ ความรู้ไปใช้ ประโยชน์

ตวั ช้วี ดั ว 1.2 ม.4/5 อธิบาย และเขียนแผนผังเกี่ยวกับการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะต่อสิง่ แปลกปลอมของรา่ งกาย

ว 1.2 ม.4/6 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างโรคหรืออาการที่เกิดจากความผิดปกติ ของระบบภูมคิ ้มุ กนั

ว 1.2 ม.4/7 อธบิ ายภาวะภมู คิ ุ้มกนั บกพรอ่ งทมี่ ีสาเหตมุ าจากการตดิ เช้อื HIV

2. สาระสำคญั ต่อมน้ำเหลอื งและกล้ามเนื้อโครงร่างร่างกายของมนุษยม์ ีกลไกตอบสนองต่อเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม

ทเ่ี ขา้ สรู่ า่ งกาย ทัง้ แบบท่ไี มจ่ ำเพาะ เช่น ผวิ หนงั เยอื่ บผุ ิว นำ้ ตา น้ำยอ่ ย ต่อมเหงอ่ื เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวกลุ่มฟาโก ไซต์ เปน็ ต้น และแบบทจี่ ำเพาะ เช่น เซลลเ์ ม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ (เซลลบ์ ีและเซลล์ที) เปน็ ตน้

หากระบบภมู คิ ้มุ กนั เกดิ ความผดิ ปกติ ทำใหเ้ กิดภาวะพร่องภมู ิค้มุ กนั เชน่ โรคภมู แิ พ้ โรคลูปสั โรคเอดส์ เป็นต้น

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) 1. อธบิ ายบทบาทของอวัยวะหรอื เนอื้ เยื่อทท่ี ำหนา้ ที่ปอ้ งกนั และทำลายเชอื้ โรคหรือสิ่งแปลกปลอม 2. เขียนแผนผังเกย่ี วกบั กลไกการต่อต้านหรือทำลายสงิ่ แปลกปลอมแบบไม่จำเพาะและแบบจำเพาะ 3. สืบค้นขอ้ มูลสาเหตุ อาการ แนวทางปอ้ งกัน การรักษาโรคทีเ่ กิดจากความผิดปกตขิ องระบบภูมิคุ้มกัน และกลไกของภาวะภมู ิคมุ้ กันบกพร่องทมี่ สี าเหตุมาจากการตดิ เชอื้ 4. อธิบายกลไกของภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องทมี่ ีสาเหตุมาจากการตดิ เชื้อ 5. ระบสุ าเหตุ และวธิ กี ารปอ้ งกันการตดิ เชอื้ HIV ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถทำงานเปน็ กลมุ่ รว่ มกบั ผอู้ ื่นได้ ดา้ นจติ พิสัย (A) 1. เข้าเรียนเป็นประจำ 2. มคี วามกระตอื รือร้นในการเรียน 3. มสี ว่ นรว่ มในการอภิปราย

3. สาระการเรียนรู้ • เมื่อเชื้อโรคหรอื สง่ิ แปลกปลอมอนื่ เขา้ สู่เน้ือเย่ือในร่างกาย ร่างกายจะมกี ลไกในการต่อต้านหรือทำลาย

สิง่ แปลกปลอมท้งั แบบไมจ่ ำเพาะและแบบจำเพาะ • เซลล์เม็ดเลอื ดขาวกลุ่มฟาโกไซตจ์ ะมีกลไกในการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ • กลไกในการต่อต้านหรือทำลายส่ิงแปลกปลอม แบบจำเพาะเป็นการทำงานของเซลลเ์ ม็ดเลือดขาวลิม

โฟไซต์ชนิดบีและชนิดที ซึ่งเซลล์เม็ดเลือดขาวทั้งสองชนิดจะมีตัวรับแอนติเจน ทำให้เซลล์ทั้งสองสามารถ ตอบสนองแบบจำเพาะตอ่ แอนติเจนนน้ั ๆ ได้

• เซลล์บีทำหนา้ ทีส่ รา้ งแอนติบอดี ซ่งึ ชว่ ยในการจับกับสง่ิ แปลกปลอมต่าง ๆ เพื่อทำลายตอ่ ไป โดยระบบภูมิคุ้มกัน เซลล์ทีทำหน้าที่หลากหลาย เช่น กระตุ้นการทำงานของเซลล์บีและเซลล์ทีชนิดอื่น ทำลาย เซลลท์ ่ีตดิ ไวรัสและเซลลท์ ่ผี ดิ ปกตอิ ่นื ๆ

• บางกรณรี า่ งกายอาจเกิดความผิดปกตขิ องระบบภูมิค้มุ กนั เช่น ภูมคิ ุ้มกันตอบสนองต่อแอนตเิ จน บาง ชนิดอย่างรุนแรงมากเกินไป หรือร่างกายมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อแอนติเจนของตนเองอาจทำให้ร่างกายเกิด อาการผดิ ปกติได้

• บคุ คลทไี่ ด้รับเลอื ดหรือสารคัดหลัง่ ท่ีมีเช้ือ HIV ซึ่งสามารถทำลายเซลล์ที ทำใหภ้ ูมิคมุ้ กันบกพร่องและ ติดเชื้อตา่ ง ๆ ไดง้ า่ ยข้นึ

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด

5. ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 5.1 มวี นิ ยั 5.2 ใฝ่เรียนรู้ 5.3 มงุ่ ม่ันในการทำงาน

6. ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 6.1 การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทนั สอ่ื 6.2 การคิดอย่างมวี ิจารณญาณและการแก้ปัญหา

7. ภาระงาน/ช้ินงาน - แผนผังเรื่อง การตอบสนองของรา่ งกายแบบจำเพาะและไม่จำเพาะต่อสง่ิ แปลกปลอม - แผ่นพับ เรอ่ื ง โรคระบบภูมิคม้ กัน

8. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ใชว้ ธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)

  1. ขัน้ สรา้ งความสนใจ (1) ครูสร้างความสนใจโดยนำภาพข่าวการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 จากนั้นใช้คำถามเพื่อ

ร่วมกันอภิปราย ดงั น้ี - เช้ือโรคหรอื สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่รา่ งกายมนุษย์ได้อย่างไร เช้ือโรคและส่งิ แปลกปลอม

ที่ก่อให้เกิดอันตรายได้แก่อะไรบ้าง (เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่น ทาง

บาดแผลบรเิ วณผวิ หนงั ทางชอ่ งเปดิ ของรา่ งกาย เช่น จมกู ปาก ตา เป็นต้น หรอื การสัมผสั สารคัดหล่ัง (เช่น น้ำ ลาย นำ้ มูก) การหายใจ เชอ้ื โรคและส่งิ แปลกปลอมทอี่ าจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายไดแ้ ก่ไวรัส แบคทีเรีย พยาธิรา เกสร ดอกไม้สารพิษ เป็นตน้ )

- นักเรียนเคยป่วยเป็นโควิดหรือไม่ ถ้านักเรียนมีอาการป่วยควรจะปฏิบัติตนอย่างไร เพือ่ ให้รา่ งกายกลบั มาเป็นปกติ (นักเรยี นอาจตอบไดห้ ลากหลาย ข้นึ อยกู่ ับประสบการณ์ของนักเรียน)

(2) ครูให้คำอธิบายเพิ่มเติมว่าร่างกายมีกลไกในการต่อต้านและทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกาย แต่ถ้าสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคสามารถเข้าสู่ภายในร่างกายได้ก็จะเกิดการเจ็บป่วยขึ้น แต่การที่บาง คนยังมีสุขภาพแข็งแรง หรือบางคนที่มีอาการป่วยแต่สามารถหายป่วยได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากร่างกายของคน น้นั มีภูมิคุม้ กัน

  1. ขน้ั สำรวจและคน้ หา (1) ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับอวัยวะและเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันโดยใช้รูป

2.15 อวัยวะและเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันในหนังสือเรียน จากนั้นใช้คำถามให้นักเรียนร่วมกัน อภิปรายถงึ บทบาทและหน้าทีข่ องอวยั วะและเน้ือเย่ือท่ีเกี่ยวขอ้ งกับระบบภูมคิ ุ้มกนั

- เมือ่ มีเช้อื โรคเข้าสรู่ ่างกาย อวยั วะหรอื เน้ือเยื่อใดบ้างท่ีมีหน้าทป่ี ้องกันหรือกำจัดเชื้อ โรคและสิ่งแปลกปลอม (โครงสร้างของระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยอวัยวะและเนื้อเยื่อต่าง ๆ เช่น ทอนซิล ไทมัส ม้าม ต่อมน้ำเหลือง คอยดักจับหรือทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมโดยมีกลไกการต่อต้านหรือทำลาย ส่งิ แปลกปลอมแบบไมจ่ ำเพาะและกลไกการตอ่ ต้านหรอื ทำลายส่งิ แปลกปลอมแบบจำเพาะ)

(2) ครูให้นักเรียนศึกษารูป 2.16 การต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ ใน หนังสือเรียนแล้วใหน้ กั เรยี นยกตัวอย่างเกี่ยวกบั อวยั วะและสารท่รี า่ งกายสรา้ งข้นึ ซ่ึงมีสมบัตใิ นการต่อต้านหรือ ทำลายสิ่งแปลกปลอม นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสำคัญของผิวหนังซึ่งเป็นด่านแรกที่มี ความสำคญั ในการต่อตา้ นหรือทำลายสงิ่ แปลกปลอม

(3) ครูใช้ภาพบาดแผลที่มีหนองหรือภาพสิวอักเสบให้นักเรียนศึกษาแล้วตั้งคำถามให้นักเรียน แสดงความคดิ เห็นเพื่อนำเข้าสู่เร่ืองการอักเสบซง่ึ เป็นอีกหนึ่งกลไกในการต่อต้านหรือทำลายส่ิงแปลกปลอมแบบ ไม่จำเพาะ ดังนี้

- แผลหรือสิวอักเสบมีลักษณะเป็นอย่างไร ของเหลวหรือหนองเกิดได้อย่างไร (มี ลักษณะบวม แดง ร้อนและมีอาการเจ็บปวด ส่วนหนองเกิดจากฟาโกไซต์ที่ตายแล้วรวมตัวสะสมอยู่ที่บริเวณ บาดแผล)

(4) ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุม่ เพื่อให้นักเรียนสืบค้นเกีย่ วกบั กระบวนการอักเสบ ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี

1. เซลลเ์ ม็ดเลือดขาวที่เกีย่ วข้องกบั กระบวนการอักเสบ 2. การลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์เม็ดเลอื ดขาวโดยวิธีฟาโกไซโทซิส 3. อาการทบ่ี ่งบอกวา่ ร่างกายมกี ารอักเสบเกิดข้ึน (5) ครสู มุ่ นักเรยี นนำเสนอผลงานท่สี บื ค้น

  1. ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป (1) ครูอธบิ ายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของภมู ิคุ้มกัน และชนดิ ของเซลล์เมด็ เลือดขาว (2) ครใู หน้ กั เรียนอธิบายและเขียนแผนผังสรปุ กลไกการตอ่ ต้านหรอื ทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบ ไมจ่ ำเพาะลงสมดุ จากนนั้ ครเู ฉลยบนสไลด์โดยใหน้ ักเรยี นสลับกนั ตรวจสอบความถูกต้อง (3) ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ เก่ียวกบั กลไกการต่อตา้ นหรอื ทำลายสง่ิ แปลกปลอมแบบจำเพาะ จากนั้น ทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนด้วยคำถาม ดังนี้

- ถา้ เซลลท์ ีผ้ชู ่วยถูกทำลายหรือไมส่ ามารถทำงานไดจ้ ะมผี ลอยา่ งไรต่อรา่ งกาย (ระบบภมู ิคุ้มกนั จะออ่ นแอลง เน่อื งจากขาดเซลลท์ ผี ูช้ ่วยทีจ่ ะไปกระตุ้นการทำงาน และการแบง่ เซลลข์ องลิมโฟไซตช์ นิดต่าง ๆ รวมทั้งสร้างแอนติบอดีท่ีตอบสนองต่อเชื้อโรคต่าง ๆ ไดน้ ้อยลง และ ติดเชื้อได้ง่าย) - เหตุใดโรคบางโรค เช่น โรคอีสุกอีใส โรคคางทูม เมื่อเป็นแล้วจะไม่เป็นซ้ำอีก หรือ การท่นี กั เรียนได้รับการฉดี วคั ซนี ปอ้ งกันโรคบางชนดิ ทำให้นักเรียนไมเ่ ปน็ โรคนน้ั (โรคบางโรคที่เคยเป็นจะไม่เป็นอีกเพราะร่างกายยังคงมีเซลล์ความจำ ที่จำเพาะต่อ เชื้อโรคนั้นอยู่จากการป่วยครัง้ แรก เมื่อได้รับเชื้อโรคเดมิ อีกครั้งร่างกายจึงเกิดการตอบสนองได้อย่างรวดเรว็ ทำ ให้ไม่มีอาการเจ็บป่วย สำ หรับการได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคบางชนิด เป็นการสร้างภูมิคุม้ กันให้กับรา่ งกาย เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มล่วงหน้าเพ่อื ใหส้ ามารถทำงานไดท้ ันทเี มือ่ ไดร้ บั เชื้อโรคชนิดเดียวกนั กบั วคั ซนี ที่ได้ฉดี เขา้ ไป) - การให้วัคซีนและการให้เซรุ่มมผี ลตอ่ ร่างกายเหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร (การให้วัคซีนและการให้เซรุ่มมีผลต่อร่างกายเหมือนกันคือมีการเสริมภูมิคุ้มกันแต่ แตกต่างกันตรงที่การให้วัคซีนเป็นการให้แอนติเจนที่ไม่เป็นพิษต่อร่างกายไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดี ซึ่งจะใช้เวลาในการสร้างเซลล์ความจำ และแอนติบอดีขึ้นมาระยะหนึ่งทั้งนี้เซลล์ความจำที่สร้างขึ้นนี้จะอยู่ใน ร่างกายได้ค่อนข้างนานอาจเป็นปีหรือตลอดชีวิตขณะที่เซรุ่มเป็นการให้แอนติบอดีที่สร้างจากสัตว์หรือมนุษย์ โดยตรงเช่นเซรุ่มพิษงูที่สกัดได้จากเลือดม้า นำ ไปให้กับผู้ที่ถูกงูมีพิษกัดซึ่งสามารถรักษาพิษงูได้ทันทีแต่ แอนตบิ อดีนจ้ี ะอยู่ในร่างกายได้ในระยะเวลาสน้ั ๆ เทา่ นน้ั ) - นกั เรยี นเคยไดร้ บั วัคซีนปอ้ งกนั โรคใดบา้ ง - วัคซีนใดทต่ี อ้ งฉีดซ้ำ เป็นระยะทกุ ๆ 10 ปี (วัคซนี โรคบาดทะยกั ) - เพราะเหตใุ ดจึงต้องได้รับวัคซีนชนิดเดยี วกัน ซำ้ กันเป็นระยะ ๆ (เพอ่ื เปน็ การกระตุ้น ภมู คิ ้มุ กันของร่างกายในแตล่ ะชว่ งอายุโดยการเพ่มิ หรือคงปรมิ าณของแอนติบอดีในร่างกายใหค้ งอยู่ได้นานขน้ึ )

  1. ขน้ั ขยายความรู้ (1) ครูอธิบายเพิ่มเตมิ ว่าเมื่อเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย ร่างกายไม่สามารถสง่ เซลล์ เม็ดเลือดขาวมากำจดั ได้ทันที เซลล์เม็ดเลอื ดขาวจะต้องตรวจสอบชนิดของแอนติเจนที่แน่ชัดก่อนจึงสามารถส่ง เซลล์เม็ดเลือดขาวทีส่ ามารถกำจัดเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมชนิดที่เข้าสู่ร่างกายได้ ทำให้ร่างกายของเราแสดง อาการเจบ็ ป่วยในระยะแรกและร่างกายจะคอ่ ย ๆ ดีขน้ึ (2) นักเรียนเขียนแผนผัง เรื่อง การตอบสนองของร่างกายแบบจำเพาะและไม่จำเพาะต่อสิ่ง แปลกปลอม (3) ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ วา่ ระบบภูมคิ ้มุ กันของร่างกายสามารถเกดิ ความผดิ ปกติได้ เชน่ อาจเกิดจาก การได้รับเช้ือไวรัสบางอย่างที่มีผลต่อการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น โรคเอดส์ การที่ร่างกายตอบสนองต่อ สิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคอย่างรุนแรง และภูมิคุ้มกันทำลายเซลล์หรือเนื้อเยื่อของร่างกายตนเอง ได้แก่ โรค ภูมิแพ้ โรคลูปสั หรือโรคเอสแอลอี (4) ครยู กตัวอย่างโรคทีเ่ กิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันท่ีพบได้บ่อย เช่น โรคภมู ิแพ้ โดย ใหน้ กั เรียนออกมาเลา่ ประสบการณ์ แลกเปลย่ี นความรใู้ นห้องเรียน (5) นกั เรยี นทำแผ่นผบั เรื่องโรคท่เี กดิ จากภมู คิ ุ้มกนั เชน่ โรคภมู ิแพ้ โรค SLE และโรคเอดส์ (6) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ เกี่ยวกับโรคหรืออาการทเ่ี กิดจากความผดิ ปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ตามข้อมูลท่ีนักเรียนไปสืบคน้ โดยเฉพาะสาเหตุการเกดิ โรคเอดส์ อันตรายของโรคเอดส์ ผลกระทบต่อสังคมและ

แนวทางในการป้องกันและดูแลผู้ป่วยโรคเอดส์ รวมถึงการปฏิบัติตนหากต้องอยู่ร่วมกันกับผู้ติดเชื้อ HIV และ ผู้ปว่ ยโรคเอดส์

(7) นกั เรยี นช่วยกันตอบคำถามโอเน็ตจำนวน 5 ข้อ (8) นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 2 เร่อื ง การรักษาดลุ ยภาพของรา่ งกาย

  1. ขนั้ ประเมิน (1) ครใู หน้ กั เรียนแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหัวขอ้ ท่เี รียนมาและการปฏิบัตกิ ิจกรรม มจี ุดใดบ้างท่ียัง ไมเ่ ขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูชว่ ยอธิบายเพ่ิมเติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ (2) ด้านความรู้ ครูตรวจสอบผลจากการทำกิจกรรม การตอบคำถาม แผ่นพับ และแผนผัง ความคดิ และแบบทดสอบหลงั เรยี น (3) ด้านทกั ษะกระบวนการ ครตู รวจสอบผลจากการสงั เกตการทำกิจกรรม (4) ด้านจิตพิสัย ครูตรวจสอบผลจากการสังเกตการเข้าชั้นเรียน การตอบคำถาม และความ กระตอื รือร้นในการเรยี น

9. สอ่ื การเรยี นรู้ 9.1 หนังสือเรียนรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 9.2 PowerPoint เรื่อง ระบบภมู ิคุ้มกันของร่างกาย

10. การวดั ผลประเมินผลและเกณฑ์การประเมิน วิธกี ารวัด เครอื่ งมือวดั ผล เกณฑ์การ รายการวัด ประเมนิ - แผนผงั เรอื่ ง การ -ผา่ นเกณฑร์ ้อย ด้านความรู้ (K) ตอบสนองของ ละ 60 ข้ึนไป รา่ งกายแบบจำเพาะ 1. อธิบายบทบาทของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อที่ทำ -ตรวจแผนผัง และไม่จำเพาะต่อสิ่ง -ผ่านคุณภาพ แปลกปลอม ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป หน้าที่ป้องกันและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่ง -ตรวจแผ่นพบั - แผน่ พบั เรือ่ ง โรค ระบบภูมิคม้ กัน แปลกปลอม -ตรวจข้อสอบ -ข้อสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 2 2. เขียนแผนผังเกี่ยวกับกลไกการต่อต้านหรือ - แบบประเมนิ การ ทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จำเพาะและแบบ ทำงานเป็นกลุ่ม

จำเพาะ

3. สืบค้นข้อมูลสาเหตุ อาการ แนวทางป้องกัน

การรักษาโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบ

ภูมิคุ้มกัน และกลไกของภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง

ทมี่ ีสาเหตมุ าจากการติดเช้อื

4. อธิบายกลไกของภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่มี

สาเหตมุ าจากการตดิ เช้ือ

5. ระบุสาเหตุ และวธิ กี ารปอ้ งกนั การติดเชื้อ HIV

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

นักเรยี นสามารถทำงานเปน็ กลมุ่ ร่วมกับผู้อน่ื ได้ -สังเกตพฤตกิ รรม

ดา้ นจิตพิสัย (A) -สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ จิต -ผา่ นคุณภาพ 1. เขา้ เรยี นเป็นประจำ พิสัย ระดับพอใช้ข้ึนไป 2. มคี วามกระตือรือร้นในการเรียน

11. ความคดิ เห็นของคณะกรรมการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้  องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นร.ู้ ............................................................................  มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรสู้ อดคล้อง.......................................................  สาระสำคญั ครอบคลมุ ชัดเจน.............................................................................................  สาระการเรยี นรูม้ ีความถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ................................................................  จุดประสงค์การเรียนรมู้ คี วามชัดเจนครอบคลุม (K/P/A).....................................................  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน................................................................................................  คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์.................................................................................................  ระบภุ าระงาน/ชน้ิ งาน........................................................................................................  กิจกรรมการเรยี นรูเ้ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ............................................................................  ส่ือและอุปกรณ์การเรยี นร.ู้ ................................................................................................  การวดั และการประเมินผลตามจุดประสงค์การเรยี นร.ู้ .......................................................  เสนอสง่ แผนการจดั การเรียนร้ตู ามขัน้ ตอนระบบงาน.........................................................  บันทกึ หลังสอน................................................................................................................ ..  ภาคผนวก...........................................................................................................................

............................................................................................................................. ............................................. ...................................................................................... ........................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................

ลงช่อื .................................................. (นางสาวฤทัยรตั น์ ขวญั เชือ้ )

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชือ่ .................................................. ลงชอื่ .................................................. (นางอารียา เพช็ รรตั น์) (นางมารีเยาะห์ โอมณี)

คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้

12. ความคิดเห็นรองผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ

 เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ชจ้ ดั การเรยี นการสอนได้  เห็นควรปรับปรุง คือ................................................................................................................ ............................................................................................................................. .........................

( นายอับดลรอศักด์ิ มณีโส๊ะ) รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

13. ความคิดเหน็ ผู้อำนวยการโรงเรียน

 อนญุ าตใหใ้ ชจ้ ดั การเรียนการสอนได้  ควรปรับปรุง คอื ................................................................................................................ ..................................................................................................................................................

( นายสริ วฒุ ิ ยนุ ยุ้ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนกำแพงวิทยา

รายวิชาชีววทิ ยาพื้นฐาน รหัส ว31104 เวลา หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 การดำรงชีวิตของพชื 3 6 แผนท่ี ชอ่ื แผนการจดั การเรียนรู้ 1 6 สารอนิ ทรีย์ในพืช 10 7 ปัจจยั บางประการท่ีมผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช 8 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช รวม

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วิชา ว31104 รายวชิ า ชวี วิทยาพืน้ ฐาน

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การดำรงชวี ิตของพืช เรอื่ ง สารอินทรยี ใ์ นพืช

เวลา 3 ชวั่ โมง ชอ่ื ผู้สอน นางสาววชิ ุดา พรหมคงบญุ

1. มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์

ตวั ชีว้ ดั ม.4/8 ทดสอบ และบอกชนิดของสารอาหารท่ีพชื สังเคราะห์ได้ ม.4/9 สืบคน้ ข้อมูล อภปิ ราย และยกตวั อยา่ งเกย่ี วกับการใชป้ ระโยชน์จากสารตา่ ง ๆ ที่พืช

บางชนดิ สร้างขึน้

2. สาระสำคญั พืชสร้างน้ำตาลจากการสงั เคราะห์ด้วยแสงโดยน้ำตาลที่สารขึน้ นีถ้ ูกนำไปใช้ในการหายใจระดับเซลล์

เพ่ือให้ไดพ้ ลังงานสำหรบั ใช้ในกจิ กรรมต่างๆ และเปน็ แหล่งคาร์บอนสำหรบั กระบวนการสงั เคราะห์สารอินทรีย์ และการเจริญเตบิ โต

สารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นมีทัง้ ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรงซึ่งเป็นได้ในพืชทุกชนดิ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตนี ลิพดิ กรดนิวคลิอิก กรดอะมิโน คลอโรฟลิ ล์ ฮอรโ์ มนพืช และสารอินทรีย์ที่ไม่จำเป็นต่อ การเจรญิ เติบโตของพืชโดยตรงซง่ึ พบได้ในพชื บางชนิดเพอ่ื ชว่ ยให้พืชเหล่าน้นั มีชีวิตรอดและแพร่กะจายพันธุ์ได้ โดยปัจจุบันมนุษย์นำสารอินทรีย์กลุ่มนี้ไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น การใช้ประโยชน์จากยางพารา สาร ออกฤทธ์ิทางชวี ภาพที่เปน็ ยา เปน็ ตน้

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) 1. ระบุประเภทของสารอนิ ทรีย์ต่าง ๆ ท่ีพืชสรา้ งข้นึ 2. ศึกษาการทดสอบและบอกชนดิ ของสารอาหารท่ีพชื สงั เคราะหไ์ ด้ 3. สืบคน้ ขอ้ มูลและอธบิ ายเก่ียวกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากสารอนิ ทรยี ต์ า่ ง ๆ ที่พชื บางชนิดสร้างขนึ้ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ทดสอบสารอาหารทีพ่ ืชสงั เคราะห์ได้ ด้านจิตพสิ ยั (A) 1. เข้าเรยี นเปน็ ประจำ 2. มคี วามกระตอื รือร้นในการเรียน 3. มสี ่วนร่วมในการอภปิ ราย

3. สาระการเรยี นรู้ • กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นจุดเริม่ ต้น ของการสร้างน้ำตาลในพืช พืชเปลี่ยนน้ำตาลไปเปน็

สารอาหารและสารอืน่ ๆ เชน่ คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน ไขมนั ทจ่ี ำเปน็ ต่อการดำรงชีวติ ของพชื และสตั ว์ • มนุษยส์ ามารถนำสารตา่ ง ๆ ท่ีพชื บางชนิดสร้างขน้ึ ไปใชป้ ระโยชน์ เช่น ใชเ้ ป็นยาหรอื สมนุ ไพร

ในการรักษาโรคบางชนิด ใช้ในการไล่แมลง กำจัดศัตรูพืชและสัตว์ ใช้ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรีย และใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ในอตุ สาหกรรม

4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 5.1 มีวนิ ัย 5.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 5.3 ม่งุ มัน่ ในการทำงาน

6. ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 การส่ือสารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทันส่อื

7. ภาระงาน/ช้นิ งาน - กิจกรรม 3.1 การทดสอบสารอาหารในพืช - กจิ กรรม 3.2 การใช้ประโยชนจ์ ากสารอินทรยี บ์ างชนดิ ท่ีพืชสรา้ งขน้ึ

8. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ใชว้ ิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)

  1. ขั้นสร้างความสนใจ (1) นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยที่ 3 เรอ่ื ง การดำรงชีวิตของพืช (2) ครูชแ้ี จงจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ใหน้ กั เรียนทราบ (3) ครูตรวจสอบความเขา้ ใจกอ่ นเรยี นของนักเรยี น โดยให้ตอบวา่ ถกู หรือผดิ (ในหนงั สอื เรียน

หน้า 70) โดยใช้คำถามดงั น้ี 1.การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการที่สามารถนำพลังงานแสงมา

เปล่ียนเปน็ พลังงานเคมีเพอ่ื ใช้ในการดำรงชีวติ ของพืช 2. พืชต้องการ น้ำ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และแสง เพื่อใช้ใน

กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง ซง่ึ เกิดขน้ึ ในคลอโรพลาสต์ 3. พืชลำเลียงน้ำและธาตุอาหารผ่านโฟลเอ็ม เพื่อใช้ในกระบวนการต่าง ๆ

รวมทง้ั กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง จากนน้ั จะลำเลียงน้ำตาลท่ีได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงผ่าน ไซเล็มเพือ่ ไปใช้ทีส่ ่วนต่าง ๆ ของพืช

4. น้ำตาลที่พืชสร้างขึ้นบางส่วนจะนำไปสังเคราะห์เป็นสารอินทรีย์หลายชนิด เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั

5. พืชต้องการน้ำและแสงในการดำรงชวี ิต นอกจากน้ียังต้องการธาตุอาหารชนิด ตา่ ง ๆ ในปริมาณที่ใกล้เคยี งกัน เพ่อื ให้เจริญเตบิ โตได้อยา่ งสมบูรณ์

(4) ครูทบทวนความรู้เดิมว่าพืชต้องการสารอาหารและพลังงานเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เพื่อนำ ไปใช้ในการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต โดยพืชสามารถสร้างสารอาหารได้เองผ่านการสังเคราะห์ ดว้ ยแสงสารอาหารทส่ี รา้ ง คือ น้ำตาล และถามนักเรยี นวา่

- พชื ได้พลงั งานมาจากไหน (การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง) - พืชใช้น้ำตาลที่สร้างได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงอย่างไรบ้าง (น้ำตาลที่พืชสร้าง ขึ้นจะถูกนำไปใช้เป็นแหล่งพลังงานสำหรับกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์นอกจากนี้พืชยังใช้น้ำตาลเป็นแหล่ง คารบ์ อนในกระบวนการสรา้ งสารอนิ ทรีย์ตา่ ง ๆ ในพชื ) (5) ครทู บทวนกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื โดยตั้งคำถามกบั นกั เรียนว่า - ในการสงั เคราะห์แสงของพชื ใช้ปจั จยั อะไรบ้าง - ผลผลิตที่ไดจ้ ากกระบวนการสงั เคราะหแ์ สงคอื อะไร

  1. ข้นั สำรวจและค้นหา (1) ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างผลผลิตที่ได้จากพืช แล้วตั้งประเด็นให้นักเรียนร่วมกัน อภิปราย ดังน้ี - สารอินทรีย์ที่พบในผลผลิตต่าง ๆ ที่ยกตัวอย่างข้างต้นนั้น มีอะไรบ้าง และคิดว่า สารอนิ ทรีย์เหลา่ น้ีมคี วามจำเปน็ ต่อพชื อยา่ งไร (2) นักเรียนดูคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของพืชตั้งแต่เริ่มงอกออกจากเมล็ดจน เจริญเตบิ โตสรา้ งดอกสรา้ งผล แลว้ ครูตัง้ คำถามตอ่ ไปน้ี - เซลลพ์ ืชมีองคป์ ระกอบอะไรบ้าง - พืชตอ้ งการสารอนิ ทรียช์ นิดใดบ้างในระหว่างการเจรญิ เตบิ โต (3) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 4–5 คน ทำกิจกรรมทดสอบสารอาหารในพืช โดยดำเนินตาม ข้นั ตอนดงั น้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการทดสอบสารอาหารในพืช โดยแบ่งตัวอย่างพืชทีจ่ ะใช้ในการทดสอบ ประกอบด้วย มนั เทศ ฝักทอง ข้าวโพด ขา้ วเจ้า เนอื้ มะพร้าวแก่ ถว่ั ลิสง นมจืด นำ้ แปง้ มัน และน้ำมันพืช – สมาชิกกลมุ่ ชว่ ยกันทดสอบสารอาหารในพชื โดยใชเ้ วลาประมาณ 60 นาที – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่ทดสอบได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน อภิปรายซกั ถามจนคาดว่าสมาชิกทกุ คนมีความรคู้ วามเข้าใจทต่ี รงกัน
  2. ขนั้ อธิบายและลงข้อสรปุ (1) แตล่ ะกล่มุ นำเสนอผลการทดสอบท่ีได้ และอภปิ รายรว่ มกันเก่ยี วกับการสะสมสารอาหาร แตล่ ะประเภทของพืชโดยควรไดข้ ้อสรปุ ว่าพืชจะสะสมแป้ง นำ้ ตาล โปรตีน ลิพิด ทอ่ี วัยวะตา่ ง ๆ ในปริมาณท่ี แตกต่างกัน (2) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ วธิ ีการทดสอบสารอาหารในพืช และสารอนิ ทรียท์ ีพ่ บในพชื (3) ครูนำนักเรียนเข้าสู่เรื่องสารอินทรีย์ที่ไม่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง โดย อธิบายว่าาในพืชบางชนิดยังมีสารอินทรีย์อื่น ๆ ที่ไม่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตโดยตรงเช่น สารคาเฟอีนที่พบ ในกาแฟ น้ำยางจากต้นยางพารา หรือกลิ่นหอมของดอกไม้บางชนิด แต่มีความสำคัญต่อการดำรงชวี ิตของพืช ช่วยให้มีชีวิตรอด หรือช่วยแพร่กระจายพันธุ์ได้ดีและครูชี้ให้เห็นว่ามนุษย์มีการนำ สารอินทรีย์กลุ่มนี้มาใช้ ประโยชน์ในหลายด้าน (4) ครูใหน้ ักเรียนสบื ค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอินทรยี ์ที่ไม่จำเป็นต่อการเจริญเตบิ โตของพืช

โดยตรงซ่งึ มนุษย์นำมาใชป้ ระโยชน์แล้วให้นักเรียนทำกจิ กรรม 3.2 การใช้ประโยชน์จากสารอินทรีย์บางชนิดที่ พืชสรา้ งขึ้น

(5) หลังจากไดเ้ รยี นเกย่ี วกบั สารอนิ ทรยี ใ์ นพืชแลว้ ครใู หน้ กั เรยี นตอบคำถามตรวจสอบ ความเข้าใจเพื่อสรปุ ความรทู้ ไ่ี ดเ้ รยี นรมู้ า

- ในชว่ งทรี่ บั ประทานอาหารเจ เพอ่ื ให้ได้สารอาหารทุกประเภท จะแนะนำใหเ้ ลอื ก บริโภคอาหารที่ทำมาจากพืชหรือผลผลิตของพืชชนิดใดบ้าง พร้อมทั้งให้ระบุสารอาหารหลักที่ได้จากพืชหรือ ผลผลิตของพืชชนิดนั้น ๆ ด้วย (ควรแนะนำให้เลือกบริโภคอาหารเจที่ปรุงมาจากพืชที่หลากหลายเพื่อให้ได้ สารอาหารทกุ ประเภท ตวั อย่างเชน่

- พชื จำพวกถ่ัว เชน่ ถวั่ ลิสง ถวั่ เหลอื ง มีสารอาหารหลักประเภทโปรตนี และลิพิด - ข้าว ข้าวโพด มนั ฝรัง่ มนั เทศ มีสารอาหารหลักประเภทคารโ์ บไฮเดรต - ผักและผลไม้ตา่ ง ๆ มีสารอาหารประเภทวิตามนิ )

- สารอนิ ทรยี ์ทจี่ ำเปน็ ตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื โดยตรง และสารอินทรยี ์ทไี่ ม่จำเป็น ต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง มีความสำคัญต่อพืชอย่างไร และตัวอย่างของสารอินทรีย์ในแต่ละกลุ่มมี อะไรบ้าง (สารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรงจะพบได้ในพืชทุกชนิดเนื่องจากพืช จำเป็นต้องใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด กรดนิวคลิอิก คลอโรฟิลล์ สำหรับสารอินทรีย์ที่ไม่จำ เป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรงจะ พบได้ในพืชบางชนิด เนื่องจากไม่ได้ส่งผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตของพืช แต่มีผลต่อการดำรงชีวิตของพืช บางชนิดทำให้พืชรอดชีวิต หรือช่วยให้แพร่กระจายพันธุ์ได้ดีตัวอย่างสารในกลุ่มนี้เช่น น้ำมันหอมระเหย น้ำ ยาง สารคาเฟอนี )

  1. ขน้ั ขยายความรู้ ครูให้นักเรียนเชื่อมโยงถึงการอภิปรายเกี่ยวกับสารอินทรีย์ที่พบได้ในผลผลิตจากพืช เช่น

เมล็ดกาแฟ น้ำมันหอมระเหย น้ำยางพารา โดยตั้งประเด็นอภิปรายว่า นักเรียนคิดว่าสารอินทรีย์เหล่าน้ี สามารถพบไดใ้ นพืชทุกชนดิ หรอื ไม่

  1. ขัน้ ประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างท่ียังไม่เขา้ ใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสัย ถา้ มี ครชู ว่ ยอธิบายเพมิ่ เตมิ ใหน้ กั เรยี นเข้าใจ (2) ด้านความรู้ ครูตรวจสอบผลจากการทำกจิ กรรม การตอบคำถาม และการอภปิ ราย (3) ด้านทักษะกระบวนการ ครตู รวจสอบผลจากการสงั เกตการทำกจิ กรรม (4) ด้านจิตพิสัย ครูตรวจสอบผลจากการสังเกตการเข้าชั้นเรียน การตอบคำถาม การ

อภปิ ราย และความกระตอื รือร้นในการเรยี น

9. ส่อื การเรียนรู้ 9.1 หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 9.2 PowerPoint เรื่อง การดำรงชวี ติ ของพชื 9.3 อุปกรณ์การทดสอบสารอาหารในพชื

10. การวดั ผลประเมินผลและเกณฑ์การประเมนิ

รายการวัด วธิ กี ารวดั เคร่อื งมือวดั ผล เกณฑ์การ

ประเมนิ

ด้านความรู้ (K)

1. ระบุประเภทของสารอินทรีย์ต่าง ๆ ท่ีพชื - ตรวจกิจกรรม 3.1 - ใบกิจกรรม 3.1 การ -ผ่านเกณฑร์ ้อย

สรา้ งข้ึน ก า ร ท ด ส อ บ ทดสอบสารอาหารใน ละ 60 ขน้ึ ไป

2. ศึกษาการทดสอบและบอกชนิดของ สารอาหารในพืช พชื

สารอาหารที่พืชสังเคราะห์ได้ - ตรวจกจิ กรรม 3.2 - ใบกจิ กรรม 3.2 การ

3. สบื คน้ ข้อมูลและอธบิ ายเก่ียวกับการใช้ การใช้ประโยชน์จาก ใช้ประโยชนจ์ าก

ประโยชนจ์ ากสารอนิ ทรยี ต์ า่ ง ๆ ทีพ่ ืชบาง สารอินทรยี ์บางชนิด สารอินทรีย์บางชนิดที่

ชนิดสรา้ งข้ึน ที่พชื สรา้ งขึน้ พืชสร้างขนึ้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

ทดสอบสารอาหารทีพ่ ืชสังเคราะห์ได้ -สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ การ -ผา่ นคณุ ภาพ

ทดลอง ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป

ดา้ นจิตพสิ ัย (A) -สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมินจติ พสิ ยั -ผา่ นคณุ ภาพ 1. เขา้ เรยี นเปน็ ประจำ ระดบั พอใช้ขึ้นไป 2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการเรียน 3. มสี ว่ นร่วมในการอภปิ ราย

11. ความคิดเหน็ ของคณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้  องค์ประกอบของแผนการจดั การเรียนร.ู้ ............................................................................  มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรูส้ อดคลอ้ ง.......................................................  สาระสำคญั ครอบคลมุ ชัดเจน.............................................................................................  สาระการเรยี นรู้มีความถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ................................................................  จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรมู้ คี วามชัดเจนครอบคลมุ (K/P/A).....................................................  สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น................................................................................................  คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์.................................................................................................  ระบภุ าระงาน/ช้ินงาน........................................................................................................  กจิ กรรมการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ............................................................................  ส่ือและอปุ กรณ์การเรยี นร.ู้ ................................................................................................  การวดั และการประเมนิ ผลตามจุดประสงคก์ ารเรยี นร.ู้ .......................................................  เสนอส่งแผนการจัดการเรียนร้ตู ามขัน้ ตอนระบบงาน.........................................................  บันทกึ หลังสอน................................................................................................................ ..  ภาคผนวก..................................................................................................................... ......

............................................................................................................................. ......................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................

ลงชือ่ .................................................. (นางสาวฤทัยรัตน์ ขวัญเช้อื )

หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงช่ือ.................................................. ลงชื่อ.................................................. (นางอารยี า เพ็ชรรัตน์) (นางมารเี ยาะห์ โอมณี)

คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ คณะกรรมการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้

12. ความคิดเห็นรองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

 เห็นควรอนุญาตให้ใช้จัดการเรยี นการสอนได้  เหน็ ควรปรับปรุง คือ................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................

( นายอับดลรอศักดิ์ มณีโสะ๊ ) รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

13. ความคิดเหน็ ผู้อำนวยการโรงเรยี น

 อนญุ าตให้ใชจ้ ัดการเรียนการสอนได้  ควรปรบั ปรงุ คือ................................................................................................................ ............................................................................................................................. .....................

( นายสิรวฒุ ิ ยุนุ้ย ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นกำแพงวิทยา

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว31104 รายวิชา ชีววิทยาพนื้ ฐาน

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 การดำรงชีวติ ของพืช เร่ือง ปจั จยั บางประการทีม่ ีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื

เวลา 6 ชัว่ โมง ชื่อผสู้ อน นางสาววิชดุ า พรหมคงบุญ

1. มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำ ความรู้ไปใช้ ประโยชน์

ตัวชี้วดั ว 1.2 ม.4/10 ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธิบายเกย่ี วกบั ปจั จัยภายนอกทม่ี ีผลต่อการ เจริญเตบิ โตของพชื

ว 1.2 ม.4/11 สบื คน้ ขอ้ มูลเก่ยี วกับสารควบคุมการเจริญเตบิ โตของพชื ทม่ี นุษย์สงั เคราะห์ข้นึ และยกตวั อยา่ งการนำมาประยกุ ตใ์ ช้ทางด้านการเกษตรของพืช

2. สาระสำคญั การเจริญเติบโตของพืชถูกควบคุมด้วยปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการ

เจริญเติบโต เช่น แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ อุณหภูมิ ธาตุอาหาร ออกซิเจน และศัตรูพืช ส่วนปัจจัยภายใน ได้แก่ ฮอร์โมนพืช ซ่ึงพืชสงั เคราะหข์ ึน้ เพือ่ ควบคุมการเจริญเติบโตในแตล่ ะช่วงชีวติ มนุษย์สงั เคราะห์สารควบคุม การเจริญเติบโตของพืชโดยเลียนแบบฮอร์โมนพชื เพอ่ื นำมาใช้ควบคมุ การเจริญเติบโต และเพ่ิมผลผลติ ของพืช

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) 1. อธบิ ายเก่ยี วกบั ปจั จยั ภายนอกท่ีมผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื 2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นและยกตัวอย่างการ นำมาประยกุ ตใ์ ชท้ างด้านการเกษตรของพชื ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ออกแบบการทดลอง และทดลองเกย่ี วกบั ปัจจัยภายนอกทม่ี ผี ลตอ่ การเจริญเติบโตของพืช ด้านจติ พสิ ยั (A) 1. เข้าเรยี นเป็นประจำ 2. มีความกระตือรือรน้ ในการเรยี น

3. สาระการเรียนรู้ • ปจั จัยภายนอกทีม่ ีผลต่อการเจรญิ เติบโต เชน่ แสง น้ำ ธาตุอาหาร คาร์บอนไดออกไซด์ และออกซิเจน

ปจั จัยภายใน เชน่ ฮอรโ์ มนพืช ซ่งึ พืชมีการสังเคราะห์ขึน้ เพ่อื ควบคุมการเจริญเตบิ โตในชว่ งชวี ติ ตา่ ง ๆ