ความสำค ญของระบบสารสนเทศท ม ต อองค กรธ รก จ

ระบบสารสนเทศ องค์การและกลยุทธ์

นำเ สนอ

นางสาวกาญจนา เหลื่อมแก้ว

จัดทำโดย

นางสาวนุชวรา กล่อมทอง 64302150012 นางสาวปิ่นนภา พรมทอง 64302150014 นางสาวศิราวดี เพ็ชรชู 64302150023 นางสาวสุพัชฌา ศิลปวิสุทธิ์ 64302150025

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปีที่ 2 สาขาการจัดการ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (30215-2106) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี

ระบบสารสนเทศองคก์ ารและกลยทุ ธ์

เสนอ นางสาวกาญจนา เหลอื่ มแกว้

จดั ทาโดย

นางสาวนชุ วรา กลอ่ มทอง 64302150012

นางสาวปิ่ นนภา พรมทอง 64302150014

นางสาวศิราวดี เพ็ชรชู 64302150023

นางสาวสพุ ชั ฌา ศิลปวิสทุ ธิ์ 64302150025

ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สงู (ปวส.) ปี ที่ 2 สาขาการจดั การ

รายงานฉบบั น้ีเป็ นสว่ นหน่ึงของวิชา ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ (30215-2106)

ภาคเรยี นที่ 2 ปี การศึกษา 2565 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี

คำนำ

รายงานฉบับนี้จัดทาข้ึนเพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงของวิชา ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (30215-2106) เพื่อศึกษาหาความรใู้ นเร่ืองระบบสารสนเทศองคก์ ารและกลยทุ ธ์ใชศ้ ึกษา เพ่ือเป็ นประโยชน์กับการเรียนโดยรายงานฉบับนี้ประกอบดว้ ยเน้ือหาเกี่ยวกับ องค์กร โครงสร้างองค์กร และวัฒนธรรมองค์กร การพัฒนากลยุทธ์การเเข่งขันท่ีใชร้ ะบบ สารสนเทศ ความสาคัญของระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์

การจดั ทารายงานฉบบั นีส้ าเร็จตามวัตถปุ ระสงคไ์ ปไดด้ ว้ ยดีคณะผจู้ ดั ทาขอขอบคณุ คณุ ครกู าญจนา เหล่อื มแกว้ ทีใ่ หค้ าแนะนาเก่ียวกับการเขียนรายงานจนทาใหร้ ายงานฉบับน้ี สมบูรณ์ผจู้ ัดทาหวังเป็ นอย่างย่ิงว่าเน้ือหาในรายงานจะเป็ นประโยชน์ต่อผทู้ ี่สนใจหรือ นกั เรียนนกั ศึกษาที่กาลงั ศึกษาคน้ ควา้ ในเรือ่ งดงั กล่าว

คณะผจู้ ดั ทา 12 พฤศจิกายน 2565

สำรบญั หนำ้ ก เรื่อง คำนำ ข สำรบญั ค สำรบญั ภำพ 1 ความหมายของระบบสารสนเทศ 2 ความหมายขององคก์ าร 2 ความหมายของกลยทุ ธ์ 3 โครงสรา้ งองคก์ าร (Organization Structure) 3 แนวคิดเกี่ยวกบั โครงสรา้ ง 3 โครงสรา้ งองคก์ ารมีอิทธพิ ลตอ่ การดาเนนิ งานขององคก์ าร 4 โครงสรา้ งองคก์ ารแบบราชการ 4 โครงสรา้ งองคก์ ารแบบสายงานหลกั และสายงานทบี่ ริการ 5 ประเภทโครงสรา้ งขององคก์ าร 5 โครงสรา้ งแบบทีมงาน ผบู้ ริหารระดบั สงู ผจู้ ดั การ ฝ่ ายจดั ซื้อ ผจู้ ดั การ 5 โครงสรา้ งแบบโครงการเฉพาะกิจ 6 โครงสรา้ งแบบแมทรกิ ซ์ (Matrix Structure) 6 โครงสรา้ งองคก์ ารตามสถานการณ์ 6 โครงสรา้ งองคก์ ารสมยั ใหม่ 8 การจดั แผนงาน 9 วัฒนธรรมองคก์ ร 9 องคป์ ระกอบของวัฒนธรรมองคก์ ร 9 สภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ เครอื ขา่ ยทางวัฒนธรรม 11 ประเภทของวัฒนธรรมองคก์ าร วฒั นธรรมแบบเครือญาติ 11 การเปลี่ยนแปลงขององคก์ ร 12 สิง่ ทตี่ อ้ งพจิ ารณาเปลยี่ นแปลงในองคก์ าร 13 กระบวนการเปล่ียนแปลง 14 การพฒั นากลยทุ ธก์ ารแขง่ ขยั ทใ่ี ชร่ ะบบสารสนเทศ 16 กรอบแนวคดิ เรื่องระบบสารสนเทศเชงิ กลยทุ ธ์ 17 ความสมั พนั ธข์ องกลยทุ ธด์ า้ นตา่ งๆ 17 สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ในการวางแผนสารสนเทศเชงิ กลยทุ ธ์ 17 ระบบสารสนเทศ องคก์ รการบริหาร และกลยทุ ธ์

สำรบญั ภำพ หนำ้ 4 ภำพที่ 4 1 โครงสรา้ งองคก์ ารแบบราชการ 5 2 โครงสรา้ งองคก์ ารแบบสายงานหลกั และสายงานที่บรกิ าร 6 3 โครงสรา้ งแบบทีมงาน ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ผจู้ ดั การ ฝ่ ายจดั ซ้ือ ผจู้ ดั การ 7 4 โครงสรา้ งแบบแมทรกิ ซ์ 7 5 องคก์ ารแนวราบ 7 6 องคก์ ารแบบมีพลวตั 8 7 องคก์ ารเสมือน 8 8 การจดั แผนงานตามหนา้ ท่ี 8 9 การจดั แผนงานตามผลิตภณั ฑ์ 9 10 การจดั แผนงานตามพน้ื ที่ 10 11 การจดั แผนงานตามลกู คา้ 11 12 สภาพแวดลอ้ มทางธรุ กิจ เครือขา่ ยทางวัฒนธรรม 17 13 ประเภทของวัฒนธรรมองคก์ าร วัฒนธรรมแบบเครือญาติ 20 14 ความสมั พนั ธข์ องกลยทุ ธด์ า้ นตา่ งๆ บรรณานกุ รม

1

ระบบสารสนเทศองคก์ ารและกลยทุ ธ์

1. ความหมายของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง องค์ประกอบต่างๆท่ีมีความ เก่ียวขอ้ งและทางานประสานกนั ในการเก็บรวบรวม บันทึก ประมวลผล จัดเก็บและแจกจ่าย สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจและหนา้ ที่ทางการบริหาร ซึ่งไดแ้ ก่ การวางแผน การจดั องคก์ ร การประสานงาน การควบคมุ และการสือ่ สารภายในองคก์ ร

จากคาจากดั ความดังกล่าวขา้ งตน้ อาจมีขอ้ สงสัยว่า ระบบสารสนเทศจาเป็ นตอ้ งใช้ คอมพิวเตอรเ์ สมอไปหรือไมค่ าตอบ คอื ไมจ่ าเป็ น ระบบสารสนเทศอาจเป็ นระบบทีท่ าดว้ ยมอื หรือเป็ นระบบที่ทางานด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Based Information System ; CBIS) เพราะในการประมวลผลสารสนเทศคือการนาเขา้ (Input) ของขอ้ มลู ดบิ (Data) เปลี่ยนไปเป็ น ผลลัพธ์โดยผ่านการประมวลผล (Process) และผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก็คือ สารสนเทศ (Information)นนั่ เองและอาจมีขอ้ มลู ป้ อนกลบั (Feed Back) เพ่ือนาเอาสารสนเทศ บางอย่างกลบั ไปเป็ นขอ้ มลู ดบิ ไดอ้ กี

ระบบสารสนเทศจึงประกอบไปดว้ ยส่วนประกอบหลักสามส่วนดังไดก้ ล่าวมาแลว้ ขอ้ อา้ งตน้ นอกจากนนั้ ยังมีองคป์ ระกอบส่ิงแวดลอ้ มภายนอกองคก์ รที่อาจมีผลกระทบต่อ ระบบสารสนเทศได้เช่น บริษัทคู่ค้า (Suppliers) กฎหมายข้อบังคับต่างๆของสังคม (Regulatory Agency) ผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียกับธรุ กิจ (Stake Holder) บริษัทค่แู ข่ง (Competitors) ลอดจนลกู คา้ (Customers) ก็ลว้ นแลว้ แตม่ บี ทบามสาคญั ดว้ ยกนั ทงั้ ส้ิน

ขอ้ มลู ดิบ (Data) หมายถึงขอ้ เท็จจริงที่จะตอ้ งนามาประมวลผลเพื่อที่จะนาไปใช้ อย่างมีความหมาย สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอ้ มลู ดิบท่ีผ่านการประมวลผลแลว้ เรียกว่า “สารสนเทศ” ระบบสารสนเทศจึงอาจเป็ นระบบที่ทางานดว้ ยมือหรือทางานดว้ ยคอมพิวเตอรห์ รอื ทั้งสองอย่างก็ไดท้ ้ังนี้ข้ึนอย่กู ับเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประมวลผลเพื่อเปล่ียนขอ้ มลู ดิบใหเ้ ป็ น สารสนเทศอย่างไรก็ตาม ในปัจจบุ ันน้ี คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาท อย่างมากในการเปลี่ยนขอ้ มลู ดิบใหเ้ ป็ นสารสนเทศ เชน่ ในชีวิตประจาวันของเรา มกั พบกับ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนท่ี โทรสาร (Fax) เคร่ืองพิมพ์ ดังนั้น เม่ือกล่าวถึงระบบ สารสนเทศ เราจึงมักนึกถึงระบบท่ีทางานดว้ ยคอมพิวเตอร์หรือเคร่ืองมืออีเลกทรอนิกส์ หรอื ดิจติ อลเป็ นหลกั ตัวอย่างของระบบสารสนเทศท่ีไม่ใชค้ อมพิวเตอร์ไดแ้ ก่ การจดจาขอ้ มลู บางอย่าง เพ่ือไปเล่าต่อใหอ้ ีกผหู้ นึ่งฟัง เช่น ผู้บริหารใหเ้ ลขาเขา้ ประชมุ แทนแลว้ ใหเ้ ลขาจดบันทึก รายงานการประชมุ มาใหผ้ บู้ ริหารอา่ นในภายหลงั ก็ถือว่าเป็ นระบบสารสนเทศอย่างหน่ึงแต่ ไม่มีการใชเ้ ทคโนโลยี ดว้ ยตัวอย่างเดียวกันน้ีถ้า เลขาเปล่ียนไปใชว้ ิธีการบันทึกลงสื่อ เชน่ บันทึกวิดโี อ หรอื อัดเทปบันทกึ เสยี ง ก็ถือวา่ เป็ นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศแลว้ 1.1 ความสาคญั ของระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์ บทบาทที่สาคัญประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ คือ บทบาทในดา้ นกลยทุ ธ์ที่สามารถ เปล่ียนแปลงลักษณะสินค้าหรือบริการ กระบวนการทางาน องค์การ โครงสร้าง

2

อตุ สาหกรรมและการแข่งขันได้ จึงมีหลายองค์กรที่ไดน้ าเอาระบบสารสนเทศมาเป็ น เคร่อื งมอื และสรา้ งความไดเ้ ปรยี บในดา้ นการแขง่ ขนั

1.2 ความหมายของระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์ ความหมายของระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์ SIS ไดม้ ีผใู้ หค้ วามหมายไวห้ ลาย

ท่าน เช่น ระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์ (SIS) คือ ระบบคอมพิวเตอร์ในระดับใดก็ตามของ องค์การซ่ึงสามารถเปล่ียนแปลงวัตถปุ ระสงค์ การดาเนินงาน ผลผลิต การบริการหรือ ความสมั พนั ธก์ บั ส่งิ แวดลอ้ มตา่ ง ๆ ขององคก์ าร เพอ่ื ท่ีจะสรา้ งความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั กบั องคก์ าร (Laudon & Laudon, 1995)

ระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์ (SIS) คอื ระบบสารสนเทศท่ีสนบั สนนุ หรอื สรา้ งตวั แปร และกลยทุ ธ์ความไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั SIS อาจจะเป็ นระบบสารสนเทศแบบใดก็ได้ TPS, MRS, DSS, ฯลฯ ท่ีช่วยทาใหค้ วามไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั เพ่ิมข้นึ ลดความเสียเปรียบในการ แขง่ ขนั หรอื ชว่ ยในการบรรลผุ ลดา้ นกลยทุ ธอ์ ื่น ๆ (Normann, 1994)

สรปุ SIS คือ ระบบสารสนเทศใด ๆ ท่ีช่วยสนับสนุน กลยุทธ์การสร้างความ ไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั ขององคก์ ร

2.ความหมายขององคก์ าร

องคก์ ารหมายถึง การนาเอาส่วนต่างๆ ที่มีความเกี่ยวขอ้ งกันมารวมกันอย่างมี ระเบียบหรือเป็ นการรวมกลุ่มกันอย่างมีเหตผุ ลของบุคคล กลุ่มหน่ึง เพ่ือเป็ นศูนย์ อานวยการใหก้ ารดาเนินงานลลุ ่วงไปตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ โดยมีการใชอ้ านาจการ บริหารที่ชัดเจน มีการแบ่งงานและหนา้ ท่ี มีลาดับข้ันของการบังคับบัญชาและความ รับผดิ ชอบ

องค์การคือกระบวนการในการจัดระเบียบการดาเนินงานและการประสานงาน ร่วมกันของบคุ คลตง้ั แต่ 2 คนข้ึนไป เพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารตามท่ีกาหนดไว้ และตอบสนองความตอ้ งการของสมาชกิ ในองคก์ าร โดยมี

2.1 การจดั ระเบียบแบบแผนกระบวนวิธีปฏิบตั ิงาน 2.2 การกาหนดโครงสรา้ ง อานาจหนา้ ที่ และการแบ่งงาน 2.3 การมีปฏสิ มั พนั ธใ์ นการปฏบิ ตั ิงาน

3. ความหมายของกลยทุ ธ์

กลยทุ ธ์ หมายถึง แผนการ แนวทาง ที่ทาใหเ้ กิดการกระทาเพื่อนาไปส่จู ดุ ม่งุ หมาย หรือความสาเร็จที่ไดต้ ้ังไว้ อันท่ีจริงกลยทุ ธ์มีลักษณะท้ังความเป็ นแบบแผน รปู แบบของ กิจกรรมบางอย่าง สถานะตาแหน่ง หรือมมุ มองขององค์กร ความสาคัญของกลยทุ ธ์ คือ จาเป็ นตอ้ งตอบคาถามว่าเราทาไปเพ่อื อะไร (What) เราอยทู่ จ่ี ดุ ไหน (Where) และเราจะไปส่จู ดุ นนั้ ๆไดอ้ ย่างไร (How) กลยทุ ธจ์ ะชว่ ยใหเ้ ราไมห่ ลงทศิ ทางทอ่ี งคก์ รไดต้ งั้ ไว้

การท่ีจะออกมาเป็ นกลยทุ ธ์ไดน้ ั้น จาเป็ นตอ้ งมีความเขา้ ใจในบริบทต่างๆทัง้ ภายใน และภายนอกองค์กร ซึ่งการท่ีจะรบู้ ริบทต่างๆไดน้ นั้ ก็มาจากการทา SWOT Analysis หรือ การวเิ คราะหจ์ ดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอปุ สรรค ท่เี ป็ นปัจจยั ทงั้ ภายในและภายนอกองคก์ ร หรือ PESTEL Analysis ที่วิเคราะหป์ ัจจัยภายนอกไดล้ ะเอียดมากย่ิงขึ้น หรือการทา 5 Force Model เพ่อื ดสู ภาพแวดลอ้ มทางธรุ กิจ

3

4. โครงสรา้ งองคก์ าร (Organization Structure)

หมายถึง ระบบการติดต่อสื่อสาร และอานาจบังคับบัญชาท่ีเช่ือมต่อคน และกล่มุ คนเขา้ ดว้ ยกนั เพอื่ ทางานร่วมกนั จนบรรลเุ ป้ าหมายขององคก์ าร

โครงสรา้ งขององคก์ ารประกอบดว้ ยส่ิงตา่ ง ๆ ดงั น้ี 4.1 วตั ถปุ ระสงค์ (Objective) 4.2 ภาระหนา้ ที่ (Function) 4.3 การแบ่งงานกนั ทา (Division of Work) 4.4 การบงั คบั บญั ชา (Hierarchy) 4.5 ช่วงของการควบคมุ (Span of Control) 4.6 เอกภาพการบงั คบั บญั ชา (Unity of Command)

5. แนวคิดเก่ยี วกบั โครงสรา้ ง

5.1 มอี ิทธิพลตอ่ พฤติกรรม สมาชกิ จานวนมากมาทางาน จึงจาเป็ นตอ้ งมรี ปู แบบ กฎเกณฑแ์ ละแนวทางใหส้ มาชิกปฏิบัติ เพ่ือลดปัญหาความขดั แยง้ และความซับซอ้ นในการ ทางาน

5.2 กาหนดกจิ กรรม เป็ นรปู แบบของกฎระเบียบและขอ้ กาหนดว่ากจิ กรรมใดควร ทาและกิจกรรมใดไมค่ วรทา

5.3 มคี วามสมั พนั ธก์ บั พฤติกรรมท่ีมเี ป้ าหมายขององคก์ าร การกาหนดขน้ั ตอนอยา่ งชดั เจน จะทาใหบ้ คุ ลากรทกุ คนทราบถึงบทบาท หนา้ ที่ สถานภาพ และความรบั ผดิ ชอบของตน

6. โครงสรา้ งองคก์ ารมีอิทธิพลต่อการดาเนินงานของ องคก์ าร ดงั นี้

6.1 กาหนดหนา้ ทแี่ ละความรับผิดชอบ 6.2 แสดงการตดิ ตอ่ สอื่ สารและการประสานงานภายใน 6.3 กาหนดขอบเขตของการตดั สนิ ใจใหแ้ ก่ฝ่ ายบรหิ าร 6.4 กาหนดความสมดลุ ความสอดคลอ้ ง และจดั ลาดบั ความสาคญั ของกิจกรรมตา่ ง ๆ

7. ประเภทโครงสรา้ งขององคก์ าร

7.1 โครงสรา้ งแบบประเพณีนยิ ม มีกฎ ขอ้ บงั คับ 7.2 โครงสรา้ งองคก์ ารแบบราชการ 7.3 โครงสรา้ งองคก์ ารแบบสายงานหลกั และสายงานท่ีบรกิ าร

4

8. โครงสรา้ งองคก์ ารแบบราชการ

ภาพ : โครงสรา้ งองคก์ ารแบบราชการ ทมี่ า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

9. โครงสรา้ งองคก์ ารแบบสายงานหลกั และสายงานท่ีบรกิ าร

ภาพ : โครงสรา้ งองคก์ ารแบบสายงานหลกั และสายงานที่บรกิ าร ทม่ี า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

5

10. ประเภทโครงสรา้ งขององคก์ าร

โครงสรา้ งแบบไม่เป็ นประเพณีนิยม ไม่มีกฎขอ้ บังคับ และระเบียบการทางานท่ี แน่นอนตายตัว ไดแ้ ก่ โครงสรา้ งองค์การแบบทีมงาน โครงสรา้ งองค์การแบบโครงการ เฉพาะกิจ โครงสรา้ งองคก์ ารแบบแมทริกซ์ โครงสรา้ งองคก์ ารตามสถานการณ์

11. โครงสรา้ งแบบทีมงาน ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ผจู้ ดั การ ฝ่ ายจดั ซ้ือ ผจู้ ดั การ

ภาพ : โครงสรา้ งแบบทมี งาน ผบู้ ริหารระดบั สงู ผจู้ ดั การ ฝ่ ายจดั ซ้ือ ผจู้ ดั การ ทีม่ า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

12. โครงสรา้ งแบบโครงการเฉพาะกิจ

เป็ นโครงสรา้ งองคก์ ารแบบไม่เป็ นทางการที่อย่ภู ายในองคก์ ารขนาดใหญ่ โดยมีการ จดั กลมุ่ ทางานเฉพาะอยา่ งขนึ้ เป็ นการชวั่ คราว โดยสมาชกิ ของกล่มุ งานจะทางานประจาอย่ใู น หน่วยงานต่าง ๆ กัน และมารวมตัวกันเพื่อทางานโครงกรร เม่ืองานนนั้ เสร็จ สมาชิกก็จะ แยกยา้ ยกันไปทางานตามฝ่ ายของตน โครงการแบบน้ีจะถกู ตั้งข้ันเมื่อมีปัญหาหรืองาน เร่งดว่ น

6

13. โครงสรา้ งแบบแมทรกิ ซ์ (Matrix Structure)

ภาพ : โครงสรา้ งแบบแมทรกิ ซ์ ท่ีมา : : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

14. โครงสรา้ งองคก์ ารตามสถานการณ์

ไม่มีโครงสรา้ งรปู แบบหรือกฎเกณฑใ์ ด ๆ ท่ีจะใชไ้ ดเ้ หมาะสมกบั ทกุ ๆ สถานการณ์ เพราะว่าสภาพแวดลอ้ มจะแปรเปล่ียนอย่างต่อเนอื่ ง ทาใหอ้ งคก์ ารตอ้ งปรับตวั ไปตามปัจจัย ต่าง ๆ ท่ีมีผลกระทบต่อองค์การ ผอู้ อกแบบองค์การจะตอ้ งศึกษา และพยายามเขา้ ใจ ถึงความสัมพันธ์ต่าง ๆ ระหว่างองคป์ ระกอบและปัจจัยต่าง ๆ ขององคก์ าร ซ่ึงจะช่วยใน การกาหนดโครงสรา้ งองคก์ ารใหเ้ หมาะสมทส่ี ดุ

15. โครงสรา้ งองคก์ ารสมยั ใหม่

15.1 องคก์ ารแนวราบ 15.2 ระบบองคก์ ารแบบมีพลวตั 15.3 องคก์ ารเสมือน เป็ นระบบความสัมพันธข์ องผขู้ ายวัตถดุ ิบ ลกู คา้ และแมแ้ ต่ ค่แู ขง่ ที่ตา่ งก็เป็ นอิสระแก่กนั มารวมตวั กนั ดว้ ยผลประโยชนท์ างเทคโนโลยี โดยใชส้ ารสนเทศ เชื่อมส่วนประกอบของระบบเขา้ ดว้ ยกัน เพ่ือดาเนินตามโครงการเฉพาะกิจ หรือธรุ กิจ บางอย่างที่ใชเ้ วลาไม่นานนัก และจะยุบเลิกไปเมื่อภารกิจจบส้ินลง มีลักษณะสาคัญ 5 ประการคือ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ รวมความยอดเย่ียมของหนุ้ ส่วนแตล่ ะหนว่ ยองคก์ าร เป็ นการสรา้ งโอกาส ความเชอ่ื ถือ และไรข้ อบเขต

7

ภาพ : องคก์ ารแนวราบ ท่ีมา : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

ภาพ : องคก์ ารแบบมพี ลวตั ที่มา : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

ภาพ : องคก์ ารเสมอื น ท่มี า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

8

16. การจดั แผนงาน

ภาพ : การจดั แผนงานตามหนา้ ที่ ทม่ี า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

ภาพ : การจดั แผนงานตามผลติ ภณั ฑ์ ทมี่ า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357

ภาพ : การจดั แผนงานตามพ้ืนท่ี ทีม่ า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

9

ภาพ : การจดั แผนงานตามลกู คา้ ทมี่ า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

17.วฒั นธรรมองคก์ ร

ระบบของคา่ นยิ ม ความเชอ่ื ความเขา้ ใจ และบรรทดั ฐานร่วมกนั ท่ผี กู พนั สมาชิกของ องคก์ ารใหส้ ามารถเขา้ ใจไดต้ รงกนั เพอื่ ใชเ้ ป็ นแนวทางการประพฤตแิ ละเป็ นวิธปี ฏบิ ัติ

18. องคป์ ระกอบของวฒั นธรรมองคก์ ร

18.1 คณุ คา่ ภายในองคก์ ร วัฒนธรรมองคก์ รท่ีดีตอ้ งเริ่มตน้ จากรากฐานที่แข็งแกร่งเสมอ ซึ่งหนงึ่ ในนน้ั

ก็คือคณุ ค่าขององค์กรนัน่ เอง องค์กรที่มีเป้ าหมาย วิสัยทัศน์ แนวคิด หรือจดุ ประสงค์ท่ี ชัดเจนเพ่ือการกาหนดคณุ ค่าดา้ นต่าง ๆ ใหก้ ับองค์กรจะทาใหพ้ นักงานหรือบุคลากรมี “เขม็ ทิศ” ในการดาเนนิ งาน ชว่ ยเพิ่มทง้ั ประสทิ ธภิ าพการทางานและผลผลติ ในองคก์ รใหด้ ีขึ้น นอกจากนยี้ งั ทาใหพ้ นกั งานมีแนวปฏบิ ัติและรสู้ กึ มเี ป้ าหมายรว่ มกบั องคก์ รอีกดว้ ย

18.2 การสรา้ งความมสี ว่ นรว่ มใหก้ บั พนกั งาน นอกจากการมีเป้ าหมายร่วมกับองค์กรแลว้ การสร้างความผูกพันหรือ

ความรสู้ ึกมีส่วนร่วมใหก้ ับพนักงานก็เป็ นหนึ่งในองค์ประกอบท่ีสาคัญของวัฒนธรรม องคก์ ร ไมว่ ่าจะเป็ นการสรา้ งความรสู้ ึกผนู พนั ระหวา่ งพนกั งานดว้ ยกันเองหรือจะเป็ นความ ผูกพันระหว่างพนักงานกับองค์กร เช่น การให้พนักงานไดร้ ับร้ปู ระวัติ ความเป็ นมา ความสาเร็จ หรือความลม้ เหลวในอดีตขององคก์ ร การจดั ทริปท่องเท่ียว การจดั ปารต์ ้ีของ พนกั งาน เป็ นตน้

18.3 การใหร้ างวลั และการช่ืนชม เม่ือมพี นกั งานทางานไดด้ หี รือมีผลงานโดดเด่น การใหร้ างวลั และการช่ืนชมก็

คอื ตวั ชว่ ยกระตนุ้ ใหพ้ นกั งานเกดิ แรงบนั ดาลใจในการทางานไดเ้ ป็ นอย่างดี ทาใหพ้ นกั งานคน นน้ั เกิดความรสู้ กึ มีส่วนรว่ ม และยังเป็ นการกระตนุ้ ใหพ้ นกั งานคนอื่น ๆ กระตอื รอื รน้ ในการ ทางานอยเู่ สมออกี ดว้ ย

10

18.4ความเอาใจใสพ่ นกั งาน ไม่ว่าจะเป็ นองคก์ รขนาดใหญ่หรือขนาดเล็ก ปัจจัยสาคัญที่สดุ ท่ีทาใหอ้ งคก์ ร

ขับเคลื่อนไปไดก้ ็คือพนักงาน ดังนั้นการอาใจใส่พนักงานในเร่ืองเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ เช่น การจดจาวันเกิดหรือวันสาคัญอื่น ๆ ก็คือตัวช่วยในการสรา้ งความรสู้ ึกดีใหก้ ับพนักงาน และอยา่ ลืมเรือ่ งของการแสดงความเอาใจใส่อยา่ งเท่าเทียมกนั ไมว่ ่าพนกั งานจะอยใู่ นตาแหนง่ ไหนหรืออยแู่ ผนกอะไรดว้ ย

18.5 สง่ เสริมการเรียนรแู้ ละการพฒั นา ทกุ วันนนี้ อกจากเรื่องของเงนิ เดือนและสวัสดิการทวั่ ไปแลว้ พนกั งานยคุ ใหม่

ต่างมองหาสถานท่ีทางานท่ีมอบโอกาสในการเรียนรแู้ ละพัฒนา (Learning and Development) ใหก้ ับพวกเขาได้ เพราะคนเราต่างมองหาช่องทางในการเติบโตและการพัฒนาทักษะใหก้ ับ ตัวเองอย่เู สมอ องค์กรท่ีสนับสนนุ การเรียนรแู้ ละพัฒนา ไม่ว่าจะเป็ นการจัดอบรมหรือ การส่งเสริมให้พนักงานเรียนร้ทู ักษะใหม่จึงเป็ นวัฒนธรรมองค์กรท่ีดีและช่วยสร้าง ความรสู้ ึกมีส่วนร่วมใหพ้ นกั งานผกู พนั กบั องคก์ รมากขน้ึ

18.6 การสรา้ งความตอ่ เนื่อง การจัดอบรม โครงการ หรือการบริหารจัดการเรื่องอะไรก็ตามควรมีความ

ต่อเนื่อง ทั้งน้ีก็เพื่อสรา้ งความเปล่ียนแปลงใหช้ ัดเจน สามารถประเมินผลได้ และไดร้ ับ ผลลัพธท์ ี่คมุ้ ค่าตอบแทนกลับมาอย่างเป็ นรปู ธรรม เช่น หากมีการจัดอบรมพัฒนาทักษะ การใชค้ อมพิวเตอร์ องคก์ รก็ควรจดั อบรมทกุ ปี และควรมกี ารติดตามหรอื ประเมนิ ผลดว้ ย

18.7 สรา้ งความมสี ว่ นรว่ มกบั ชมุ ชน องคก์ รท่ีจะเติบโตอย่างมนั่ คงไดต้ อ้ งมีความผกู พนั กบั ชมุ ชนทอี่ ย่โู ดยรอบดว้ ย อาจใชว้ ิธีการ ทา CSR เพื่อคืนกาไรใหส้ ังคม ไม่ว่าจะเป็ นการจัดกิจกรรม ใหค้ วามรู้ การทาบุญ บริจาค ลงพื้นที่ชมุ ชน ไปจนถึงการทากิจกรรมสาธารณประโยชนอ์ ื่น ๆ การสรา้ งความมีส่วน ร่วมกับชมุ ชนนอกจากจะทาใหเ้ กดิ ภาพลักษณท์ ดี่ ีขององคก์ รแลว้ ยังเป็ นตวั ชว่ ยใหพ้ นกั งาน เกิดความรสู้ กึ ภาคภมู ใิ จและเกดิ ความมีสว่ นร่วมทง้ั ตอ่ องคก์ รและชมุ ชนอีกดว้ ย

19. สภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ เครือข่ายทางวฒั นธรรม

ภาพ : สภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ เครือขา่ ยทางวฒั นธรรม ท่ีมา : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

11

20. ประเภทของวฒั นธรรมองคก์ าร วฒั นธรรมแบบเครอื ญาติ

ภาพ : ประเภทของวัฒนธรรมองคก์ าร วฒั นธรรมแบบเครือญาติ ท่มี า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

21. การเปล่ยี นแปลงขององคก์ ร

องคก์ ารก็เช่นเดียวกับส่ิงมีชีวิตท่ีจาเป็ นตอ้ งปรับตวั เพ่ือความอย่รู อดอย่ตู ลอดเวลา โดยเฉพาะกระแสโลกาภวิ ัตนข์ องยคุ สารสนเทศไดส้ ่งผลกระทบอยา่ งรนุ แรง ตอ่ องคป์ ระกอบ ดา้ นตา่ ง ๆ ขององคก์ ารใหต้ อ้ งมีการเปล่ยี นแปลงขน้ึ ไดแ้ ก่

ดา้ นโครงสรา้ ง (Structure) มีลกั ษณะเปล่ียนไปเป็ นแบบแนวนอนมากขึน้ เกิดรปู แบบ โครงสรา้ งใหม่ ๆ มกี าร เนน้ การใชท้ มี งาน และองคก์ ารแบบไรพ้ รมแดน

21.2 องคป์ ระกอบของประชากร (Demographic) ประกอบดว้ ยคนทางานท่ีมา จากตา่ ง วัฒนธรรมมากขนึ้ ชอ่ งวา่ งระหวา่ งวัยของพนกั งานเก่า กบั พนกั งานใหมเ่ พม่ิ ขน้ึ

21.3 เกดิ จรยิ ธรรมใหม่ของการทางาน (New work ethic) โดยความจงรักภกั ดี ตอ่ องคก์ ารของพนกั งานจะลดลง เกดิ การเปลีย่ นแปลงดา้ นคา่ นยิ ม ในการทางานมากขนึ้

21.4 การเรียนร้แู ละองค์ความรู้ (Learning and knowledge) องค์การจะมี พนักงานท่ีเป็ นผมู้ ีคณุ วฒุ ิและมีความรสู้ งู ขึ้น องค์การจะเปล่ียนไปเป็ นองค์การแห่งการ เรียนรู้ (Learning organization) ท่ีทุกคนต้องเรียนรู้ตลอดเวลา เพ่ือสามารถเท่าทัน การเปล่ียนแปลง

21.5 เทคโนโลยีและการเข้าถึงสารสนเทศ ( Technology and access to information) มีเทคโนโลยีทรงประสิทธิภาพเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดวิธีการใหม่ ๆ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพในการเขา้ ถึง และการใชส้ ารสนเทศรว่ มกนั ไดร้ วดเร็วมากขน้ึ

21.6 เนน้ เรื่องความยืดหย่นุ (Emphasis on flexibility) กล่าวคือ องค์การตอ้ งมี โครงสรา้ งท่ียืดหย่นุ พรอ้ มที่จะปรับตวั ไดอ้ ย่างรวดเร็ว พนักงานขององค์การตอ้ งมีความ คล่องตวั และยดื หยนุ่ ไดส้ งู เชน่ กนั

12

21.7 ต้องพร้อมเผชิญต่อการเปล่ียนแปลงที่ เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว (Fast-paced change) อันเน่ืองมาจากภาวะไม่แน่นอนท่ีเกิดข้ึนทั้งภายใน และภายนอก องคก์ ารซ่ึงไมส่ ามารถ คาดการณล์ ว่ งหนา้ ได้

22. สง่ิ ที่ตอ้ งพิจารณาเปลย่ี นแปลงในองคก์ าร

โดยหลกั การองคก์ ารควรเปลี่ยนแปลงปัจจยั ตา่ ง ๆ ขององคก์ ารใหเ้ หมาะสมต่อการ ปฏิบัติภารกิจและยทุ ธศาสตร์ที่กาหนดไดต้ ลอดเวลา ดว้ ยการใชเ้ ทคนิคการวิเคราะห์ท่ี เรยี กวา่ SWOT (SWOT analysis technique) ซ่ึงตอ้ งวิเคราะหใ์ หท้ ราบถึงจดุ แข็ง (Strength) และ จดุ อ่อน (Weakness) ภายในองค์การ และตอ้ งวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกในแง่โอกาส (Opportunities) และอปุ สรรค (Threats) ท่ีจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินการขององค์การ เพ่ือนามาพิจารณาว่ามี องค์ประกอบอะไรบ้างท่ีจาเป็ นต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ในองคป์ ระกอบท่สี าคัญ 6 ดา้ นตอ่ ไปนี้

22.1 เป้ าหมายและกลยทุ ธ์ (Goals and strategies) องคก์ ารมีความจาเป็ นตอ้ ง ปรบั เปลีย่ น เป้ าหมายและกลยทุ ธไ์ ปส่เู ป้ าหมายอยตู่ ลอดเวลา เชน่ เม่ือมีการขยายกิจการ หรือเมื่อตอ้ งเสนอสินคา้ หรือบริการตวั ใหมเ่ ขา้ สตู่ ลาด เมือ่ ตอ้ งแสวงหาตลาดใหมเ่ พ่ือรองรบั สนิ คา้ เป็ นตน้

22.2 เทคโนโลยี (Technology) การเปล่ยี นแปลงดา้ นเทคโนโลยีมตี ง้ั แตร่ ะดบั เล็กนอ้ ยถึงระดบั สาคัญ เชน่ การเชือ่ มตอ่ คอมพิวเตอรส์ ายตรง เป็ นระบบเครอื ขา่ ยใหล้ กู คา้ สามารถเขา้ ถึงสนิ คา้ และใชบ้ รกิ ารไดส้ ะดวก ถือเป็ นการเปลี่ยนเทคโนโลยรี ะดบั เล็กนอ้ ย แต่ ถา้ ทง้ั กิจการตอ้ งเปลีย่ นแปลงเครื่องจกั รและเทคโนโลยีใหมท่ งั้ หมดเพ่อื การผลิตใหท้ นั สมยั ถือว่าเป็ นการเปล่ยี นแปลงใหญ่

22.3 การออกแบบงานใหม่ (Job redesign) องคก์ ารจาเป็ นตอ้ งจดั งานออกเป็ น กล่มุ ต่าง ๆ ใหม่ใหม้ ีระดับความมากหรือนอ้ ยในประเด็น เช่น ความหลากหลาย (Variety) การใหอ้ ิสระ (Autonomy) การมีลักษณะเฉพาะ (Identity) การใหค้ วามสาคัญ (Significance) ตลอดจนการจดั ระบบขอ้ มลู ป้ อนกลบั (Feedback) เป็ นตน้

22.4 โครงสรา้ ง (Structure) เชน่ จดั โครงสรา้ งแบบตามหนา้ ที่หรือแบบทเี่ นน้ ผลผลิต จะมีความเป็ นทางการและรวมศนู ยเ์ พยี งไร เนน้ แบบแนวราบหรอื แนวตงั้ (Flat or tall structure) หรอื แบบเครือขา่ ย (Networking) เป็ นโครงสรา้ งแบบจกั รกล (Mechanic structure) หรอื แบบสิ่งมีชวี ติ (Organic structure) เป็ นตน้

22.5 กระบวนการ (Process) ซึ่งเป็ นขน้ั ตอนการทาใหง้ านสาเร็จ ก็อาจจาเป็ นตอ้ ง มีการเปลยี่ นแปลง เชน่ แทนท่เี คยทาตามลาดบั เป็ นขน้ั ตอน ไปเป็ นการรว่ มทาพรอ้ มกนั จน งานสาเร็จ

22.6 คน (People) คนท่ีเคยปฏิบัติงานอย่ใู นองค์การจาเป็ นตอ้ งมีการปรับปรงุ เปล่ยี นแปลงเม่ือเงอ่ื นไขอ่ืนได้ เปลยี่ นแปลงไป ซ่ึงสามารถทาได้ 2 วธิ ี วิธแี รกปรบั เปลี่ยนคน ออกแล้วจ้างคนที่เหมาะสมกับภารกิจใหม่เขา้ แทน ทานองที่เรียกว่าถ่าย “เลือดใหม่” (New blood) วิธีหลงั ใชว้ ิธีเปล่ียนแปลงคนเดิมดว้ ยการพฒั นาฝึ กอบรมดา้ นทกั ษะและเจตคติ ท่ีสอดคลอ้ งกบั งานใหม่ เป็ นตน้

13

23. กระบวนการเปลี่ยนแปลง

การเปล่ียนแปลงเป็ นเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนอย่างมีลาดับข้ันตอน เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) นกั จิตวิทยาชือ่ ดงั ไดแ้ บง่ ขน้ั ตอนของกระบวนการ ใหก้ ารเปลีย่ นแปลง ออกเป็ น 3 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะยอมรับถึงความจาเป็ น (Unfreezing) ระยะดาเนินการเปลี่ยนแปลง (Changing) และระยะรักษาสภาพใหมใ่ หอ้ ยกู่ บั องคก์ ารไดถ้ าวร (Refreezing)

23.1 ระยะยอมรับถึงความจาเป็ น ( Unfreezing) เป็ นข้ันตอนที่เง่ือนไข สภาพแวดลอ้ มและสถานภาพเดิมท่ีองค์การเป็ นอย่ขู ณะนั้น เกิดปัญหาทาใหก้ าร ดาเนิน กิจการไมเ่ ป็ นทนี่ า่ พอใจ ซึ่งอาจเกดิ จากการมโี ครงสรา้ ง การจดั รปู แบบงาน หรือเทคโนโลยีท่ี ขาดประสิทธิผล หรือการที่พนกั งานขาดทกั ษะ และเจตคติท่ีเหมาะสม การเกิดวิกฤตการณ์ เป็ นตัวเร่งใหฝ้ ่ ายต่าง ๆ ยอมรับและเห็นถึงความจาเป็ นที่จะตอ้ งมีการเปล่ียนแปลง เช่น การชมุ นมุ ประทว้ งอยา่ งรนุ แรงของพนกั งาน หรอื ยอดตวั เลขการขายสินคา้ ตกลงอย่างฮวบ ฮาบหรือการเกิดกรณีฟ้ องรอ้ งทางกฎหมายกับบริษัท เป็ นตน้ อย่างไรก็ดี การยอมรับถึง ความจาเป็ นตอ้ งมีการเปล่ียนแปลงนน้ั ไม่จาเป็ นตอ้ งมีวิกฤตการณเ์ กิดขน้ึ ก็ได้ แตอ่ าจจะมา จากการไดข้ อ้ มลู จากแหล่งอื่น เช่น การสารวจทัศนะของลกู คา้ พนักงานหรือดจู ากบัญชี การเงินของบริษัท เป็ นต้น ขอ้ มูลเหล่าน้ีสามารถใช้ในการคาดเหตุการณ์ล่วงหน้า เพ่ือดาเนนิ การเปล่ียนแปลงกอ่ นทีจ่ ะเกิดภาวะวกิ ฤตได้

23.2 ระยะดาเนินการเปลี่ยนแปลง (Changing) เป็ นขนั้ ตอนของการนาแผนงาน วิธีการและเทคนิคต่าง ๆ ลงส่กู ารปฏิบัติเพ่ือใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงไป ส่สู ภาพที่ตอ้ งการ อย่างไรก็ดีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างสามารถทาไดท้ ันทีโดยไม่จาเป็ นตอ้ งมีแผนงานก็ได้ เช่น การจัดฝึ กอบรมทักษะการทางาน การปรับขั้นตอนการสรรหาพนักงาน เป็ นตน้ ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกับคนไม่ก่ีคน แต่ถา้ เป็ นการเปลี่ยนแปลงใหญ่ที่ตอ้ งเก่ียวกับคนจานวนมาก เชน่ การปฏริ ปู ปรับรื้อองคก์ ารใหม่ การปรบั นโยบายจากรวมศนู ยไ์ ปเป็ นการกระจายอานาจ ความรับผิดชอบ ในการตัดสินใจลงส่รู ะดับล่างเป็ นตน้ จาเป็ นตอ้ งมีแผน และดาเนินการ อย่างรอบคอบ

23.3 ระยะรกั ษาสภาพใหม่ใหอ้ ย่กู บั องคก์ ารไดถ้ าวร (Refreezing) กล่าวคือ เมื่อมีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นแลว้ พรอ้ มท้ังไดม้ ีการพฒั นาดา้ นพฤติกรรม และเจตคติของ พนกั งาน หรือปรับโครงสรา้ งใหมแ่ ลว้ ในขนั้ ตอนจากนก้ี ็คือ การทาใหก้ ารเปล่ียนแปลงใหม่ ในดา้ นต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนคงอย่แู ละกลายเป็ นส่วนหนึ่ง ขององค์การต่อไป ซึ่งมีสิ่งที่ตอ้ ง พิจารณาก็คือ การเปล่ียนแปลงใหม่ที่เกิดขึ้นมีประสิทธิผลหรือไม่ และข้นั ตอนต่อเน่ืองที่ จะตอ้ งเปลย่ี นแปลงตอ่ ไปเป็ นอย่างไร แนวคิดในการบริหารปัจจบุ นั จึงใหค้ วามสาคัญต่อการ สรา้ งองคก์ ารแห่งการเรียนรู้ (Learning organization) เพ่ือกระตนุ้ ทกุ คนในองคก์ ารใหม้ ีนิสัย การเรยี นรตู้ ลอดเวลา และพรอ้ มตอ่ การเปล่ยี นแปลงเสมอ

ประเด็นและปัญหาสาคัญในกระบวนการของการเปลี่ยนแปลง(Issues in changing process) ในกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงทงั้ 3 ระยะดังกล่าว เป็ นสิ่งท่ีไม่อาจเกิดขึ้นได้ โดยงา่ ย แต่มีประเด็นสาคัญที่จะตอ้ งเตรียมการและมีปัญหาที่ตอ้ งเผชิญในกระบวนการของ การเปล่ียนแปลง ซึ่งได้แก่ การตรวจวินิจฉัย ( Diagnosis) การต่อต้าน (Resistance) การประเมินผล (Evaluation) และการเป็ นส่วนหน่ึงขององค์การ ( Institutionalization) โดยประเด็นเหล่านจี้ ะเกดิ ขนึ้ ในแตล่ ะขน้ั ตอนในกระบวนการของการเปลี่ยนแปลง

14

24. การพฒั นากลยทุ ธก์ ารแขง่ ขยั ท่ีใชร่ ะบบสารสนเทศ

24.1 แนวคิดกลยทุ ธท์ างการแขง่ ขนั เกีย่ วกบั การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการ พฒั นาผลิตภณั ฑ์ บริการ และความสามารถท่ีทาใหเ้ กิดความไดเ้ ปรียบเชิงกลยทุ ธแ์ ก่บริษัท ทา่ มกลางแรงกดดนั ทางการแขง่ ขนั ที่กาลงั เผชิญหนา้ อย่ทู กุ วนั ในตลาดการคา้ โลก เป็ นระบบ ทช่ี ว่ ยเหลือหรือกาหนดตาแหนง่ การแขง่ ขนั ในตลาดและกาหนดกลยทุ ธข์ องกิจการ

24.2 การสรา้ งกลยทุ ธก์ ารแขง่ ขนั พ้ืนฐานมี 5 อยา่ ง ดงั น้ี 24.2.1 กลยทุ ธก์ ารเป็ นผนู้ าดา้ นราคา 24.2.2 กลยทุ ธค์ วามแตกตา่ ง 24.2.3กลยทุ ธน์ วัตกรรม 24.2.4 กลยทุ ธค์ วามเจรญิ เติบโต 24.2.5 กลยทุ ธส์ รา้ งพนั ธมติ ร

24.3 บทบาททางกลยทุ ธ์สาหรบั ระบบสารสนเทศ การปรับปรงุ กระบวนการ ทางธรุ กิจบทบาทท่ีก่อใหเ้ กิดการพัฒนาท่ีสาคัญในขัน้ ตอนต่างๆในการดาเนินธรุ กิจของ บริษัท การลงทนุ ในเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยใหข้ นั้ ตอนในการปฏิบัติงานภายในมี ประสิทธิภาพมากข้นึ สามารถทาใหบ้ ริษทั ลดตน้ ทนุ ปรับปรงุ คณุ ภาพและการใหบ้ ริการแก่ ลกู คา้ และสามารถพฒั นาคิดคน้ ผลิตภณั ฑส์ าหรับการเปิ ดตลาดใหมอ่ กี ดว้ ย

การส่งเสริมใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ สามารถใหผ้ ลดีในการพฒั นาสินคา้ และบริการหรอื ขน้ั ตอนการทางานท่มี เี อกภาพ

การสร้างกลไกตน้ ทุนการเปลี่ยนแปลง การหาหนทางสร้างกลไกตน้ ทุนการ เปลยี่ นแปลงในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบรษิ ทั กบั ลกู คา้ และผจู้ ดั หาสินคา้

การเพิ่มอปุ สรรคของการเขา้ ส่วู งการ โดยการลงทนุ ในดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ ปรับปรงุ การทางานหรือส่งเสริมใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงใหม่ๆ ทาใหบ้ ริษัทอ่ืนเกิดความ ทอ้ ถอยหรือเกิดความล่าชา้ ทีจ่ ะเขา้ มาเป็ นคแู่ ขง่ ในวงการ

การยกระดบั ฐานงานเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์ ทาใหบ้ ริษทั มีโอกาสไดเ้ ปรยี บ เชงิ กลยทุ ธข์ องการปฏิบัตงิ าน

การพัฒนาฐานขอ้ มลู ทางดา้ นกลยทุ ธ์ เป็ นขอ้ มลู ที่จะช่วยสนับสนนุ กลยทุ ธ์การ แขง่ ขนั ของบริษทั จะเสริมการทางานและการบริหารจดั การท่ีมีประสิทธิภาพของบริษัทการ ทาลายอปุ สรรคทางธรุ กจิ

การทาลายอปุ สรรคทางดา้ นเวลา การทาใหร้ ะยะเวลาการตอบสนองต่อความ ตอ้ งการของลกู คา้ สน้ั ลงและลดการลงทนุ ดา้ นการเก็บกกั สนิ คา้ ใหเ้ หลือนอ้ ยท่สี ดุ

การทาลายอปุ สรรคทางดา้ นภมู ิศาสตร์ การทาธรุ กิจในตลาดทางดา้ นทอ้ งถิ่น ระดับชาติ หรือระดับโลก ทาลายระยะทางท่ีกีดขวางการควบคมุ การบริหารงาน - การ ทาลายอปุ สรรคทางดา้ นตน้ ทนุ ประหยัดค่าแรงงาน ลดขนาดของคลังสินคา้ ลดจานวน ศนู ย์ ขนส่งสินคา้ และลดตน้ ทนุ การตดั ตอ่ สือ่ สาร

การทาลายอปุ สรรคทางดา้ นโครงสรา้ ง Internet intranet extranet และเครือขา่ ยการ สือ่ สารระยะไกลอนื่ ๆสามารถส่งเสริมการเปล่ียนแปลงใน บริการการสง่ สินคา้ เพิ่มขอบขา่ ย และแทรกซึมเขา้ ส่ตู ลาด

15

24.4 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ชิงกลยทุ ธแ์ ละประเด็นท่ีเกยี่ วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ การที่องคก์ รใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี บริษัทอาจใชร้ ะบบสารสนเทศในเชิงกลยทุ ธ์ ในเชิง ป้ องกันหรือในเชิงควบคมุ เพื่อความไดเ้ ปรียบทางการแขง่ ขนั กระบวนการทางธรุ กิจในการ จัดระบบใหม่ เป็ นการปรับรื้อกระบวนการทางธรุ กิจซึ่งเป็ นเรื่องที่มากกว่าการทาให้ กระบวนการธรุ กิจเป็ นไปอย่างอัตโนมัติเพื่อก่อใหเ้ กิดการพัฒนาดา้ นประสิทธิภาพของการ ดาเนนิ ธรุ กิจเหมือนกบั การคดิ ทบทวนใหมต่ ง้ั แตแ่ รกและออกแบบกระบวนการทางธรุ กิจใหม่ ท้ังหมดบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ มีบทบาทสาคัญในการปรับรื้อกระบวนการทาง ธรุ กิจ ซึ่งส่วนใหญ่ความรวดเร็วความสามารถในการประมวลผลขอ้ มลู และการเชื่อมตอ่ กบั เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของขนั้ ตอนทางธรุ กิจไดเ้ ป็ นอย่างมากการ ปรับปรงุ คณุ ภาพของธรุ กิจ วิธีการเปล่ียนแปลงการทางาน รวมท้ังการปรับรื้อระบบ การ ปรับปรงุ คณุ ภาพอย่างต่อเนื่องและเทคนิคการปรับโครงสรา้ งต่างๆบางบริษัทไดร้ วมพิธี การต่างๆเขา้ ดว้ ยกันเป็ นหน่ึงวิธี ความว่องไวคล่องตัวหรือทาไวใ้ นสถานการณ์ที่มีการ แข่งขันสงู นะการบริหารคุณภาพโดยรวม เป็ นมากกว่าวิธีการเชิงกลยทุ ธ์สาหรับการ ปรับปรงุ ธรุ กิจ คณุ ภาพจะเป็ นสิ่งที่ถกู เนน้ หนกั จากมมุ มองของลกู คา้ มากกว่าตวั ผผู้ ลิตเอง ดังน้ัน คณุ ภาพจาเป็ นตอ้ งตรงตามความตอ้ งการหรือมากกว่าความตอ้ งการและความ คาดหวังของลกู คา้ ผบู้ ริโภคสินคา้ และบริการนั้นๆกา้ วข้ึนเป็ นค่แู ข่งท่ีฉับไว ความว่องไว คล่องตวั หรอื ทาไวใ้ นสถานการณท์ ่ีมกี ารแขง่ ขนั สงู นนั้ เป็ นความสามารถทางธรุ กจิ ทีจ่ ะทาให้ มีการเปลี่ยนแปลงไปไดด้ ว้ ยดี สามารถครองส่วนแบ่งทางการตลาดดว้ ยสินคา้ และบริการท่ี มีคณุ ภาพสงู มีผลผลิตที่ดีและเหมาะกับท่ีลกู คา้ ตอ้ งการการสรา้ งบริษัทเสมือน สามารถทา ใหผ้ บู้ ริหาร วิศวกร นักวิจัย และพนกั งานในสาขาอ่ืนๆจากทัว่ โลกประสานงานร่วมมือกัน เพื่อผลิตคิดคน้ สินคา้ และบริการใหม่ๆโดยไม่ตอ้ งมาพบปะพดู คยุ กันตัวต่อตัวกลยทุ ธ์ของ บริษทั เสมือน

- ใชโ้ ครงสรา้ งพน้ื ฐานและความเส่ยี งรว่ มกนั - เชือ่ มโยงความสามารถหลกั เขา้ ดว้ ยกนั - ลดเวลา ดว้ ยการใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั - เพิม่ อปุ กรณอ์ านวยความสะดวกและการครอบคลมุ การตลาด - เขา้ ถึงตลาดใหมแ่ ละแบง่ ตลาดหรือลกู คา้ ใหก้ าร - เปล่ียนจากการขายสินคา้ มาเป็ นขายวธิ กี ารแกป้ ัญหา 24.6 การสรา้ งบริษัทที่สรา้ งสรรคค์ วามรู้ คือ บริษัทที่สรา้ งความรใู้ หม่ๆ อย่เู สมอและแพร่กระจายความรนู้ น้ั ออกไปใหท้ วั่ ในองคก์ รรวมทั้งรีบปรับตวั เขา้ ส่เู ทคโนโลยี และผลิตภณั ฑใ์ หมๆ่ ใหไ้ ดร้ ะบบการบริหารความรู้ การบรหิ ารความรู้ จงึ ไดก้ ลายมาเป็ นหนง่ึ ในการใชป้ ระโยชนเ์ ชิงกลยทุ ธ์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสาคัญ เพ่ือใหเ้ รียนรกู้ ารบริหาร องคก์ รและเรียนรเู้ กี่ยวกบั ธรุ กิจ เป้ าหมายคือ ชว่ ยใหพ้ นกั งานที่มีความรไู้ ดส้ รา้ งจากระบบ และกระจายความรทู้ ่ีสาคัญเกี่ยวกับธรุ กิจการใชอ้ ินเทอร์เน็ตอย่างมีกลยทุ ธ์ลกู โซ่การเพิ่ม มลู ค่าของอินเทอร์เน็ตสามารถช่วยใหบ้ ริษัทประเมินการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในเชิงกล ยทุ ธไ์ ดแ้ ละยงั สามารถถกู ใชส้ าหรับจดั วางตาแหนง่ ของระบบงานท่ีมอี ินเทอรเ์ น็ตเป็ นพ้ืนฐาน ของบรษิ ทั ใหเ้ กิดความไดเ้ ปรยี บทางการแขง่ ขนั ดว้ ย 24.7 ความทา้ ทายของระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์ การใชป้ ระโยชนเ์ ทคโนโลยี สารสนเทศทาใหผ้ จู้ ดั การมองระบบสารสนเทศในแนวใหม่ ระบบสารสนเทศมใิ ชเ่ ป็ น

16

เพียงความจาเป็ นทางดา้ นการปฏิบัติงาน และยังเป็ นผชู้ ่วยที่มีประโยชนใ์ นการจัดหาขอ้ มลู และเครือ่ งมือในการตดั สนิ ใจของระบบบริหารอกี ดว้ ยความสาเร็จในเชงิ กลยทุ ธท์ ี่ยงั่ ยืน

  1. สภาพแวดลอ้ ม ปัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกับสภาพแวดลอ้ ม คือโครงสรา้ งของ อตุ สาหกรรม
  1. ปั จจัยพ้ืนฐาน ตาแหน่งเฉพาะในวงการอุตสาหกรรม พันธมิตร สินทรัพย์ ทรัพยากรทางเทคโนโลยีและทรพั ยากรความรู้
  1. การทาการบริหารและกลยทุ ธ์ การพัฒนาและริเร่ิมใหเ้ กิดการกระทา และกลยทุ ธท์ ่ีนาไปส่คู วามสาเร็จ

25. กรอบแนวคิดเร่ืองระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์

25.1 กลยทุ ธใ์ นการสรา้ งความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั

  1. กลยทุ ธ์การใช้ต้นทนุ ต่า (Cost Leadership Strategy) เช่น Air Asia

ใชร้ ะบบการจองตวั๋ ผา่ นระบบ Internet ชว่ ยลดตน้ ทนุ การจา้ งพนกั งานตวั แทนจาหนา่ ย

  1. กลยทุ ธส์ รา้ งความแตกต่าง (Differentiation Strategy)

เช่น โทรศัพทม์ ือถือ Hutch นาระบบ GIS เขา้ มาใช้ เพ่ืออานวยความสะดวกแก่ลกู คา้ ในการ เลอื กเสน้ ทางเดินทาง หรอื ตรวจสอบทีอ่ ยขู่ องอกี ฝ่ าย

  1. กลยทุ ธ์ในการเน้นกล่มุ เป้ าหมาย (Focus Strategy) เช่น บริษัท บัตรกรุงไทย (KTC) เสนอทางเลือกการใช้บัตรให้แก่สมาชิก โดยเจาะกลุ่มเป้ าหมาย พฤติกรรมการใชข้ องลกู คา้
  1. กลยทุ ธด์ า้ นนวตั กรรม (Innovation Strategy) เชน่ รา้ นหนงั สอื online ชอื่ amazon.com ไดน้ าระบบ E-commerce มาใชใ้ นการดาเนนิ ธรุ กิจ โดยท่ีรา้ นไมม่ ีสถานทท่ี ีต่ งั้ ให้ลูกค้าได้ไปเย่ียมชมเลือกซื้อหนังสือ แต่สามารถทากาไรได้หลกลยุทธ์ในการเน้น กล่มุ เป้ าหมาย (Focus Strategy) เช่น บริษัท บัตรกรงุ ไทย (KTC) เสนอทางเลือกการใชบ้ ัตร ใหแ้ กส่ มาชิก โดยเจาะกลมุ่ เป้ าหมายพฤตกิ รรมการใชข้ องลกู คา้
  1. กลยทุ ธด์ า้ นพนั ธมิตร (Alliance Strategy) เชน่ บรษิ ทั ชิน คอรป์ ร่วมมือกับ แอร์ เอเชีย ดาเนินธรุ กิจสายการบินแบบประหยัด (low cost) และพัฒนาระบบ เกย่ี วกบั ระบบการใหบ้ รกิ าร ตลอดจนแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ร่วมกนั

17

26. ความสมั พนั ธข์ องกลยทุ ธด์ า้ นต่างๆ

ภาพ : ความสัมพนั ธข์ องกลยุทธด์ า้ นตา่ งๆ ทมี่ า : https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

27. สว่ นประกอบต่าง ๆ ในการวางแผนสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์

27.1 แผนกลยทุ ธข์ องบริษทั : คือ แผนซ่ึงระบวุ ัตถปุ ระสงคใ์ นระยะยาวของธรุ กิจ, ขอ้ เสนอในการบรรลวุ ัตถปุ ระสงคน์ นั้ ซึ่งประกอบดว้ ย วิสยั ทัศน์ (Vision), ภารกิจ (Mission), เป้ าหมาย (Goal), และวตั ถปุ ระสงค์ (Objective) ขององคก์ าร

27.2 ภารกิจและขอบเขตของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ: กาหนด ภารกิจเฉพาะของระบบ MIS เพ่ือสนับสนุนการดาเนินงาน เพ่ือใหบ้ รรลแุ ผนกลยทุ ธ์ของ บรษิ ทั

27.3 ส่ิงแวดลอ้ มภายนอก: พิจารณาปัจจยั ต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การดาเนนิ งาน ขององคก์ ร เชน่ ลกู คา้ , ค่แู ขง่ ขนั , ผเู้ สนอขายวตั ถดุ บิ , นโยบายรฐั บาล, และการเปลย่ี นแปลง ของเทคโนโลยเี ป็ นตน้

27.4 การวิเคราะห์ MIS และการเลือกกลยทุ ธ์ MIS คือการพิจารณาเลือกกล ยทุ ธห์ ลาย ๆ กลยทุ ธ์ จากหลาย ๆ สถานการณท์ อี่ าจจะเกิดขึน้ และตดั สินใจเลือกกลยทุ ธท์ ่ี ดที ่สี ดุ ณ สถานการณน์ น้ั ๆ

27.5 การปฏิบตั ิการ MIS คือการดาเนินการตามแผนงาน และนโยบายต่าง ๆ ที่ไดว้ างไว้ ซึ่งแผนงานอาจจะมีการกาหนดไว้ ทง้ั แผนระยะสนั้ และแผนระยะยาว เพ่ือใหบ้ รรลุ กลยทุ ธท์ ไ่ี ดว้ างไว้

27. ระบบสารสนเทศ องคก์ รการบริหาร และกลยทุ ธ์

คุณสมบัติที่สาคัญขององค์กรผู้บริหาร ผู้บริหารจาเป็ นจะต้องมีความเขา้ ใจ คณุ สมบัติที่เป็ นส่ิงสาคัญบางอย่างเกี่ยวกับองค์กรเพื่อท่ีจะสามารถสร้างและใชร้ ะบบ

18

สารสนเทศไดอ้ ย่างประสบความสาเร็จ องคก์ รสมัยใหม่ท้ังหมดมีโครงสรา้ งแบบลาดับช้ัน มคี วามเช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นและมีความยตุ ิธรรม องคก์ รเหลา่ นจี้ ะใชข้ น้ั ตอนการปฏิบัติงานที่ ชดั เจนเพ่ือที่จะเพ่ิมประสิทธิภาพใหส้ งู สดุ องคก์ รทง้ั หมดมีวัฒนธรรมและการเมืองเป็ นของ ตนเองซ่ึงเกิดขึน้ จากความแตกต่างของกล่มุ คนต่างๆ ในองคก์ รที่มีความสนในแตกต่างกัน องคก์ รมีความแตกตา่ งกนั ท่ีวัตถปุ ระสงค์ กล่มุ ผใู้ หบ้ ริการ บทบาททางสังคม แนวทางของ ผนู้ า ส่ิงล่อใจ สิ่งแวดลอ้ ม และประเภทของงานท่ีทา ความแตกตา่ งเหล่าน้ที าใหเ้ กิดโรงสรา้ ง ขององคก์ รแบบตา่ งๆ และยงั ชว่ ยในการอธบิ ายความแตกตา่ งในการใชร้ ะบบสารสนเทศของ องคก์ รดว้ ย

ผลกระทบของระบบสารสนเทศท่ีมีตอ่ องคก์ ร ระบบสารสนเทศและองคก์ รที่ซึ่ง ผูใ้ ชร้ ะบบสารสนเทศมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันและมีอิทธิพลซ่ึงกันและกันการนาระบบ สารสนเทศใหม่เขา้ มาใชใ้ นองค์กรจะทาใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ โครงสรา้ งองคก์ ร วัตถปุ ระสงค์ การออกแบบงาน คณุ ค่าการแขง่ ขนั ระหวา่ งกล่มุ ทมี่ ีความสนใจในเร่ืองตา่ งกนั การตดั สินใจ และพฤติกรรมประจาวัน ในขณะเดียวกัน ระบบสารสนเทศจะตอ้ งไดร้ ับการออกแบบเพ่ือให้ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของกล่มุ ท่ีมีความสาคัญในองคก์ ร และจะถกู ปรับรปู แบบ โดยโครงสรา้ งขององคก์ ร การทางาน วัตถปุ ระสงค์ วัฒนธรรม การเมือง และการบริหาร จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยลดค่าใชจ้ ่ายให้กับรายการธรุ กรรมและค่า ดาเนินการของตัวแทนองค์กร และการเปล่ียนแปลงดังกล่าวไดถ้ กู ทาใหห้ นักแน่นยิ่งขึ้น ในองค์กรดว้ ยการนาระบบอินเทอร์เน็ตมาใชง้ าน แผนกระบบสารสนเทศเป็ นหน่วยท่ีเป็ น ทางการขององค์กรท่ีซึ่งมีความรับผิดชอบในหนา้ ที่เก่ียวกับระบบสารสนเทศขององคก์ ร คณุ ลกั ษณะขององคก์ รและการตดั สินใจเกี่ยวกับการบริหารจะเป็ นตัวกาหนดบทบาทใหแ้ ก่ คนกลมุ่ น้ี

ระบบสารสนเทศสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของผู้บริหารในองค์กร มีรปู แบบจาลองหลายแบบเก่ียวกับสิ่งท่ีผบู้ ริหารน้ันปฏิบัติจริงซึ่งจะแสดงใหเ้ ห็นว่าระบบ สารสนเทศสามารถนามาช่วยในการบริหารงานไดอ้ ย่างไร รปู แบบจาลองแบบด้ังเดิมของ กิจกรรมที่ผู้บริหารทา เน้นไปที่หน้าท่ีในการวางแผนการจัดการการประสานงาน การตดั สินใจและการควบคมุ งานวิจัยในปัจจบุ ันมองไปทีก่ ิจกรรมที่ผบู้ ริหารไดก้ ระทาจริงๆ ไดพ้ บว่ากิจกรรมที่แทจ้ ริงนั้นมีลักษณะท่ีไม่เป็ นกล่มุ กอ้ น สลับไปสลับมา และเกิดขึ้นใน ระยะเวลาสนั้ ๆ โดยท่ีผบู้ รหิ ารจะตอบสนองอย่างรวดเร็วและอยา่ งเขม้ ขน้ จากประเด็นหนงึ่ ไป ยังอีกประเด็นหนึ่ง ผบู้ ริหารไดใ้ ชเ้ วลามากพอสมควรในการติดตามรายการส่วนตวั ทีจ่ ะตอ้ ง ทาและวัตถปุ ระสงค์ต่างๆ และผบู้ ริหารในปัจจบุ ันพยายามที่จะหลีกหนีการตัดสินใจท่ี สมบรู ณ์

เทคโนโลยีสารสนเทศจัดหาเคร่ืองมือชนิดใหม่สาหรับผู้บริหารเพ่ือจะได้ ปฏิบัติงานไดท้ ้ังในบทบาทดั้งเดิมและในบทบาทใหม่ช่วยให้ผบู้ ริหารสามารถเฝ้ าตรวจ วางแผน และคาดเดาดว้ ยความเท่ียงตรงและรวดเร็วมากว่าแต่ก่อนมากและสามารถ ตอบสนองไดอ้ ย่างรวดเร็วต่อสิ่งแวดลอ้ มในทางธรุ กิจที่เปล่ียนแปลงไป ระบบสารสนเทศได้ เป็ นประโยชนอ์ ย่างมากตอ่ ผบู้ ริหารดว้ ยการจดั หาการสนบั สนนุ สาหรบั บทบาทของผบู้ ริหาร ในการกระจายข่าวสาร เป็ นผู้ติดต่อระหว่างระดับต่างๆ ในองค์กร และช่วยจัดสรร ทรัพยากรตา่ งๆ อยา่ งไรก็ตาม บทบาทของผบู้ ริหารบางอย่างไมส่ ามารถไดร้ ับการ

19

สนบั สนนุ จากระบบสารสนเทศได้ และระบบสารสนเทศไม่ประสบความสาเร็จในการ สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจชนดิ ท่ีไมม่ ีโครงสรา้ ง ระบบสารสนเทศสนับสนนุ กลยทุ ธ์ทางธรุ กิจแบบต่างๆ เพ่ือใหเ้ กิดความไดเ้ ปรียบในการ แขง่ ขนั ธรุ กิจสามารถใชร้ ะบบสารสนเทศทางกลยทุ ธใ์ นการทาใหไ้ ดร้ ับความไดเ้ ปรียบเหนอื คู่แข่งขัน ระบบประเภทนี้จะทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร กระบวนการธรุ กิจ สินคา้ บริการ และความสัมพันธ์กับส่ิงแวดลอ้ มระบบจะผลักดันในสิ่ง เหล่านอี้ ยใู่ นรปู ของพฤติกรรมแบบใหม่

ระบบสารสนเทศสามารถนามาใชส้ นับสนุนกลยทุ ธ์ในระดับธรุ กิจขนาดเล็ก องคก์ รธรุ กิจ และอตุ สาหกรรม กลยทุ ธ์ในระดับธรุ กิจขนาดเล็ก ระบบสารสนเทศสามารถ นามาใชช้ ่วยใหอ้ งคก์ รธรุ กิจกลายเป็ นผผู้ ลิตที่มีตน้ ทนุ ตา่ สามารถแยกความแตกต่างของ สินคา้ และบริการจากผอู้ ่ืน หรือสนับสนนุ ในการเขา้ ส่ตู ลาดการคา้ ใหม่ ระบบสารสนเทศ สามารถนามาใชใ้ นการยึดตัวลกู คา้ และผสู้ นับสนนุ วัตถดุ ิบไวก้ ับองค์กรดว้ ยการใชร้ ะบบ ตอบสนองลกู คา้ ท่ีมีประสิทธิภาพ และระบบการบริหารห่วงโซ่อปุ ทาน การวิเคราะหห์ ่วงโซ่ คณุ ค่าน้ันมีประโยชนใ์ นระดับธรุ กิจขนาดเล็กในการที่จะเนน้ ใหเ้ ห็นกิจกรรมจาเพาะต่างๆ ในธรุ กิจทีซ่ ่ึงระบบสารสนเทศมีแนวโนม้ ว่าจะมีผลกระทบในทางกลยทุ ธ์

ในระดับองค์กรธุรกิจ ระบบสารสนเทศสามารถนามาใช้เพ่ือให้ประสบ ความสาเร็จในการเพิ่มประสิทธิภาพในดา้ นต่างๆ หรือขยายใหบ้ ริการดว้ ยการเช่ือมโยง กระบวนการทางานของหน่วยงานธรุ กิจที่กระจายกันอ่เู พื่อใหห้ น่วยงานเหล่านี้สามารถทา หนา้ ที่ไดเ้ สมือนเป็ นหน่วยเดียวกัน หรือช่วยส่งเสริมการใชอ้ งค์ความรรู้ ่วมกันระหว่าง หนว่ ยงานทางธรุ กิจตา่ งๆ

ในระดบั อตุ สาหกรรมระบบสารสนเทศชว่ ยส่งเสริมทาใหไ้ ดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั ดว้ ยการอานวยประโยชนใ์ นการประสานงานกับองค์กรธรุ กิจอื่นในอตุ สาหกรรมเดียวกัน สรา้ งสมาคมหรือชมุ ชนที่ใชข้ ่าวสารร่วมกัน แลกเปล่ียนรายการธรุ กรรม หรือประสาน กิจกรรมต่างๆ เขา้ ดว้ ยกัน รปู แบบจาลองพลังอานาจในการแข่งขัน ความเป็ นหนุ้ ส่วน ขา่ วสารระบบธรุ กิจทีส่ ามารถอย่รู ่วมไดก้ ับส่ิงแวดลอ้ ม และเครือขา่ ยเศรษฐกิจเป็ นนยิ ามท่ีมี ประโยชน์สาหรับการระบุโอกาสต่างๆ ทางกลยุทธ์สาหรับระบบสารสนเทศในระดับ อตุ สาหกรรม

20

บรรณานกุ รม

"การเปลยี่ นแปลงองคก์ าร.". [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/organizations-change.htm

"การพฒั นากลยทุ ธก์ ารแขง่ ขนั ท่ีใชร้ ะบบสารสนเทศ.". [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://kannipa1159.blogspot.com/2018/10/8.html

"ความหมายขององคก์ าร.". [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/aunripreya456/1-khwam-hmay-khxng-xngkhkar

"โครงสรา้ งและวัฒนธรรมองคก์ าร" (Organizational Structure and Culture).". [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://slideplayer.in.th/slide/2165357/

"ระดบั กลยทุ ธ์ การจดั การเชงิ กลยทุ ธ.์ ". [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://greedisgoods.com/

"ระบบสารสนเทศ.". [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://shorturl.asia/vuAVm "รจู้ กั คาวา่ กลยทุ ธ์ (Strategy) และระดบั ของกลยทุ ธ.์ ". [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก:

https://www.popticles.com/business/type-of-strategy/ "วัฒนธรรมองคก์ ร". [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://slideplayer.in.th/slide/2165357/