ตัวอย่าง รายงาน เชิง วิชาการ ภาษา ไทย

รายงาน เรื่อง ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นในภาษาไทย

จดั ทำโดย

กลุม่ ก ข ค ง จ

นายกฤตภาส งว่ นโฮว้ เลขท่ี ๑ เลขท่ี ๔ นายชนะชัย ภู่สุด เลขท่ี ๖ เลขที่ ๙ นายณภัทร รกั เจริญ เลขที่ ๑๐ เลขที่ ๑๗ นายพรรษนนท์ สงจร เลขท่ี ๒๔ เลขที่ ๓๐ นายยุทธร กอ่ ธรรมเจรญิ เลขที่ ๓๔

นางสาวชลธชิ า ศรีสุกแก้ว

นางสาวธนภรณ์ โกพัตฒา

นางสาวแพรวา แสงแกว้

นางสาวเหมอื นฝัน แสงงา้ ว

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕.๒

เสนอ

คณุ ครู ปิยะรัตน์ พงษส์ วุ รรณ รายงานน้เี ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าภาษาไทย(ท๓๒๑๐๑)

ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นมัธยมวนั หนองแขม

รายงาน เรื่อง ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นในภาษาไทย

จดั ทำโดย

กลุม่ ก ข ค ง จ

นายกฤตภาส งว่ นโฮว้ เลขที่ ๑ เลขท่ี ๔ นายชนะชัย ภู่สุด เลขท่ี ๖ เลขที่ ๙ นายณภัทร รกั เจริญ เลขท่ี ๑๐ เลขที่ ๑๗ นายพรรษนนท์ สงจร เลขท่ี ๒๔ เลขที่ ๓๐ นายยุทธร กอ่ ธรรมเจรญิ เลขที่ ๓๔

นางสาวชลธชิ า ศรีสุกแก้ว

นางสาวธนภรณ์ โกพัตฒา

นางสาวแพรวา แสงแกว้

นางสาวเหมอื นฝัน แสงงา้ ว

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕.๒

เสนอ

คณุ ครู ปิยะรัตน์ พงษส์ วุ รรณ รายงานน้เี ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าภาษาไทย(ท๓๒๑๐๑)

ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นมัธยมวนั หนองแขม

คำนำ

รายงานฉบับนีท้ ำขนึ้ เพื่อเปน็ สว่ นหน่งึ ของรายวิชาภาษาไทย (ท๓๒๑๐๑) ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๕ เพอ่ื ใหไ้ ด้ศึกษาหาความรู้ในเร่อื งภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นในภาษาไทย และได้ศกึ ษาอยา่ งเขา้ ใจเพ่ือเป็น ประโยชน์กับการเรียนพร้อมทง้ั ยงั สามารถนำไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวันได้

ผู้จดั ทำหวังว่า รายงานเลม่ นี้จะเป็นประโยชน์ผอู้ ่าน หรอื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ทีก่ ำลังหาขอ้ มูลเร่อื งนอี้ ยู่ หากมีข้อแนะนำหรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ทน่ี ้ีด้วย

คณะผู้จดั ทำ ๒๘ สงิ หาคม ๒๕๖๔

สารบัญ

หนา้ คำนำ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ก สารบัญ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ข บทนำ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ๑ คำจากภาษาต่างประเทศ ……………………………………………………………………………………………………… ๒

สาเหตุที่ทำใหภ้ าษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในประเทศ ……………………………………………………. ๒ ภาษาบาลี …………………………………………………………………………………………………………………….. ๔ ภาษาสนั สกฤต ……………………………………………………………………………………………………………… ๕ ภาษาเขมร ……………………………………………………………………………………………………………………. ๑๐ ภาษาชวา - มลายู …………………………………………………………………………………………………………. ๑๓ ภาษาทมิฬ ……………………………………………………………………………………………………………………. ๑๖ ภาษาจีน ………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๗ ภาษาญีป่ ุน่ …………………………………………………………………………………………………………………… ๑๙ ภาษาโปรตุเกส ……………………………………………………………………………………………………………… ๒๑ ภาษาเปอรเ์ ซีย ………………………………………………………………………………………………………………. ๒๒ ภาษาองั กฤษ ………………………………………………………………………………………………………………… ๒๔ ภาษาฝรงั่ เศส ………………………………………………………………………………………………………………… ๒๘ คำจากภาษาถ่นิ ในภูมภิ าคตา่ ง ๆ …………………………………………………………………………………………… ๓๐ สาเหตุทท่ี ำใหเ้ กดิ ภาษาถ่ินในภมู ิภาคต่าง ๆ ……………………………………………………………………… ๓๐ ภาษาถน่ิ ภาคเหนอื ………………………………………………………………………………………………………… ๓๑ ภาษาถิ่นภาคตะวันออก …………………………………………………………………………………………………. ๓๒ ภาษาถน่ิ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ …………………………………………………………………………………… ๓๓ ภาษาถน่ิ ภาคใต้ …………………………………………………………………………………………………………….. ๓๕ สรุป …..………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓๖ บรรณานกุ รม ………………………………………………………………………………………………………………………. ๓๗ ภาคผนวก …………………………………………………………………………………………………………………………… ๔๐

บทนำ

ปัจจุบันภาษาไทยมีคำยืมมาจากภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาชวา ภาษาบาลี ภาษาละติน ภาษาสันสกฤต ภาษาอังกฤษ เป็นต้น และนอกจากนี้ภาษาไทยยังมีภาษาถิ่นแต่ละ ท้องถิ่นอีกด้วย โดยแบ่งออกคร่าว ๆ เป็น ๔ ภาค นั่นคือ ภาษาถิ่นภาคเหนือ ภาษาถิ่นภาคกลาง ภาษาถิน่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือหรืออสี าน และภาษาถ่นิ ภาคใต้

โดยการยมื คำภาษาต่าง ๆ มาใช้ในภาษาไทยนัน้ นมกั ยืมมาจากประเทศที่เคยเข้าอาศัยหรือค้าขายใน ประเทศเด็กไทยหรือใครหลายคนคงจะสับสนไม่น้อยกับเสียงพดู ของคนในพ้ืนทีต่ ่าง ๆ ว่าทำไมถึงไดแ้ ตกต่าง จากภาษาทต่ี วั เองเคยใชอ้ ีกทั้งไม่สามารถแยกคำยมื ท่ีมาจากภาษาต่างประเทศหรือภาษาถ่ินอน่ื ๆได้และไม่รู้ถึง ความหมายของคำบางคำและท่ีมาทีไ่ ปของคำต่างๆทีเ่ ราใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

คำจากภาษาตา่ งประเทศ

สาเหตทุ ่ีทำใหภ้ าษาตา่ งประเทศเขา้ มาปะปนในภาษาไทย

๑.ความสัมพนั ธ์กันทางเชื้อชาตแิ ละถ่ินทอี่ ยูอ่ าศัยตามสภาพภมู ิศาสตร์

ประเทศไทยมีอาณาเขตตดิ ต่อหรือใกล้เคยี งกนั กบั มิตรประเทศกับประเทศต่าง ๆ หลายประเทศได้แก่ พม่า ลาว มาเลเซีย เขมร มอญ ญวน จึงทำให้คนไทยที่อยู่อาศัยบริเวณชายแดนมีความเก่ียวพันกับชนชาติ ต่าง ๆ โดยปรยิ าย มีการเดนิ ทางข้ามแดนไปมาหาส่ซู ่ึงกันและกนั มีการแตง่ งานกนั เป็นญาติกนั จึงเปน็ สาเหตุ สำคัญให้ภาษาของประเทศเหล่านั้นเขา้ มาปะปนอยูใ่ นภาษาไทย

๒. ความสมั พนั ธท์ างดา้ นศาสนา

คนไทยมเี สรีภาพในการยอมรบั นับถือศาสนามาเปน็ เวลาช้านาน เมอื่ ยอมรบั นบั ถอื ศาสนาใดก็ย่อมได้ รับถ้อยคำภาษาทใ่ี ช้ในคำสอน หรือคำเรียกชื่อตา่ ง ๆ ในทางศาสนาของศาสนาน้ัน ๆ มาปะปนอยูใ่ นภาษาไทย เช่น ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี ศาสนาอิสลามใช้ภาษาอาหรับ และศาสนาครสิ ต์ใช้ภาษาองั กฤษ ดงั น้ันภาษาต่าง ๆ ที่ใช้ ในทางศาสนาก็จะเข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วย

๓.ความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยี

ความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีของประเทศที่เจริญแล้ว ทำให้เกิดเครื่องมือเครื่องใช้ สำหรับอำนวยความสะดวกแก่บุคคลในสังคมต่าง ๆ คนไทยก็ได้รับอิทธิพลจากความก้าวหน้าทางวิทยาการ และเทคโนโลยขี องประเทศเหล่านี้มาเชน่ เดียวกัน มีการสงั่ ซื้อเคร่ืองมือเครื่องใช้ใหม่ ๆ เขา้ มาในประเทศไทย จำนวนมากทำให้ช่อื ของเครื่องมือเครอื่ งใชแ้ ละถ้อยคำที่เกยี่ วข้องกับเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้เหล่านั้นได้เข้ามาปะปน อยใู่ นภาษาไทยมากขน้ึ เช่น คอมพวิ เตอร์ ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ เอนเตอร์ แผน่ ดิสก์ ไอคอน เมาส์ เป็นต้น

๔.ความสัมพนั ธก์ ันทางดา้ นประวัติศาสตร์

ชนชาตไิ ทยเปน็ ชนชาติที่มีประวัติศาสตรอ์ ันยาวนาน มีการอพยพโยกย้ายของคนไทยเข้ามาอยู่ในถิ่น ซ่ึงชนชาตอิ นื่ เคยอาศัยอยูก่ ่อน หรือมีการทำศกึ สงครามกับชนชาตอิ ืน่ มีการกวาดต้อนชนชาติอนื่ เข้ามาเป็น เชลยศกึ หรอื ชนชาตอิ นื่ อพยพเข้ามาอยู่ ในแผ่นดินไทยดว้ ยเหตุผลต่าง ๆ และอาจจะกลายเป็นคนไทยในที่สุด ผลท่ีตามมาก็คือคนเหล่านนั้ ไดน้ ำถอ้ ยคำภาษาเดิม ของตนเองมาใชป้ ะปนกับ ภาษาไทย

๕.ความสมั พนั ธท์ างดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี

เมื่อชนชาติต่าง ๆ เข้ามาสัมพันธ์ติดต่อกับชนชาติไทย หรือเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ย่อมนำเอาวัฒนธรรมและประเพณีที่เคยยึดถือปฏิบัติอยู่ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติในสังคมไทย นาน ๆ เขา้ ถ้อยคำภาษาที่เกยี่ วข้องกบั วัฒนธรรมและประเพณเี หล่านน้ั กก็ ลายมาเป็นถ้อยคำภาษาท่เี ก่ียวข้อง กับชีวิตประจำวันของคนไทยมากขึ้น จนถึงปัจจุบันการหยบิ ยมื คำจากภาษาอนื่ มาใช้ในการสือ่ สารอย่างไม่มีวัน สิ้นสดุ ตราบใดทีเ่ รายงั ติดต่อ สมั พันธ์ กบั ชาวตา่ งชาติ การหยบิ ยืมภาษาต่างประเทศมาใชใ้ นการสื่อสารจะต้อง คงมีตลอดไป ภาษาไทยหยบิ ยมื ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เขา้ มาใชใ้ นการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร ท้งั ในส่วน ของรูปคำและวธิ ีการสรา้ งคำใหม่จำนวนมากมาย เป็นเวลายาวนานจนคนไทยส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีความรู้สึกวา่ เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลในการติดต่อสื่อสารจึงเป็นภาษาต่าง- ประเทศทีเ่ ข้ามามี อทิ ธิพลต่อคนไทยมากท่ีสดุ

๖.ความสมั พนั ธ์กันทางดา้ นการค้า

จากหลกั ฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาตไิ ทยมกี ารตดิ ต่อค้าขาย แลกเปลย่ี นสนิ ค้ากับชนชาติต่าง ๆ มาเป็นเวลาอันยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลันดา ตลอดถึงญี่ปุ่น ยิ่งปัจจุบัน การค้าขายระหว่างประเทศมีความสำคัญมากขึ้น มีการใช้ภาษาต่างประเทศในวงการธุรกิจการค้ามากขึ้น คำภาษาต่างประเทศมโี อกาสเขา้ มาปะปนอยใู่ นภาษาไทยได้ตลอดเวลาไม่มีวันสน้ิ สดุ

๔ ๗.การศึกษาวิชาการต่าง ๆ

การศึกษาของไทยมีความเจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น แต่ความรู้ในสาขาวิชาการต่าง ๆ ส่วนใหญ่รับมา จากตา่ งประเทศ โดยเฉพาะการศกึ ษาในระดับอุดมศกึ ษา ทงั้ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั และสถาบันต่าง ๆ มีการ ใช้ตำราภาษาต่างประเทศ ประกอบการเรียนและศึกษาค้นคว้า นอกจากนี้ คนไทยยังนิยมเดินทางไปศึกษา วิชาการต่าง ๆ ในต่างประเทศ เมื่อกลับมาประเทศก็ได้รับเอาคำบางคำ ของภาษาต่างประเทศเหล่านัน้ มาใช้ ปะปนกับภาษาไทยด้วย

๘.การศึกษาภาษาต่างประเทศโดยตรง ในประเทศมกี ารเรียนการสอนภาษาตา่ งประเทศ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการศกึ ษาวชิ าภาษาไทยในระดับสูง

เพราะเรารับรูปคำและวิธีการสร้างคำจากภาษาเหล่านั้นมามากได้แก่ การศึกษาภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร และการศกึ ษาเพ่ือประโยชน์ในการสื่อสารโดยตรง เช่น การศึกษาภาษาองั กฤษ ภาษาฝร่ังเศส ภาษาเยอรมนั ภาษาจีน ภาษาญ่ีปนุ่ เปน็ ต้น

๙.ความสัมพันธส์ ว่ นตวั กบั คนตา่ งชาติ มีคนไทยจำนวนมากมายที่คบหาสมาคมกับคนต่างชาติและมีคนไทยจำนวนไม่น้อย ที่สมรสกับคน

ต่างชาติทำให้มีการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนกันในทางภาษา ใช้ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในครอบครัว ของตนเองจึงทำใหภ้ าษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนอยูใ่ นภาษาไทยเพม่ิ มากข้ึน

๑๐.ความสัมพนั ธท์ างการทตู การเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ทำให้มีการใช้ภาษาต่าง ๆ สื่อสารสัมพันธ์กัน ทำให้เกิด

การแพรก่ ระจายของภาษาตา่ ง ๆ เขา้ มาในประเทศไทย

ภาษาบาลี

ภาษาบาลี เปน็ ภาษาตระกลู เดยี วกับภาษาสันสกฤต คือ ภาษาตระกูลวิภัตติปัจจัยจึงมีลักษณะคล้าย กนั มากขอ้ สังเกตและตัวอย่างคำภาษาบาลี ดังนี้

สังเกตจากพยัญชนะตวั สะกดและตวั ตาม - ตวั สะกด คือ พยัญชนะทป่ี ระกอบอย่ขู ้างทา้ ยสระประสมกับสระและพยญั ชนะตน้ เชน่ ทกุ ข์ = ตัวสะกด - ตัวตาม คือ ตัวที่ตามหลงั ตัวสะกด เช่น สตั ย สัจจ ทุกข เป็นตน้ คำในภาษาบาลีจะตอ้ งมีสะกดและตวั ตามเสมอ โดยดูจากพยัญชนะบาลี มี ๓๓ ตัว แบ่งออกเปน็ วรรคดังน้ี

แถวที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ วรรค กะ ก ข ค ฆ ง วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ วรรค ตะ ต ถ ท ธ น วรรค ปะ ป ผ พ ถ ม เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อํ

มหี ลักสงั เกตดังนี้ ๑. พยญั ชนะตัวที่ ๑ , ๓ , ๕ เปน็ ตวั สะกดได้เท่านั้น (ตอ้ งอยู่ในวรรคเดยี วกนั )

๒. ถา้ พยัญชนะตวั ที่ ๑ สะกด ตัวที่ ๑ หรอื ตวั ที่ ๑ เปน็ ตวั ตามได้ ยกตัวอยา่ งเชน่ สักกะ ทกุ ข สจั จ ปจั ฉิม สัตต หัตถ บุปผา เป็นตน้

๓. ถ้าพยญั ชนะตัวท่ี ๓ สะกด ตวั ที่ ๓ หรอื ๔ เป็นตัวตามไดใ้ นวรรคเดียวกนั ยกตวั อยา่ งเช่น อัคคี พยคั ฆ์ วิชชา อัชฌา พุทธ คพภ (ครรภ)์

๔. ถ้าพยญั ชนะตวั ท่ี ๕ สะกด ทุกตวั ในวรรคเดียวกนั ตามได้ ยกตัวอย่างเชน่ องค์ สงั ข์ องค์ สงฆ์ สมั ปทาน สัมผสั สัมพนั ธ์ สมภาร เป็นตน้

๕. พยญั ชนะบาลี ตวั สะกดตัวตามจะอย่ใู นวรรคเดยี วกนั เทา่ น้นั จะข้ามไปวรรคอืน่ ไมไ่ ด้

๖. สงั เกตจากพยญั ชนะ “ฬ” จะมใี ช้ในภาษาบาลีในไทยเท่าน้ัน ยกตวั อย่างเช่น จุฬา ครุฬ อาสาฬห์ วฬิ าร์ เปน็ ต้น

๗. สงั เกตจากอกั ษรบางตัวไมน่ ิยมใชใ้ นภาษาไทย จะมาเป็นตัวสะกดในภาษาไทยโดยเฉพาะวรรค ฎ และวรรคอน่ื ๆ บางตัว จะตดั ตัวสะกดออกเหลอื แต่ตัวตามเมอ่ื นำมาใช้ในภาษาไทยยกตวั อยา่ งเช่น

บาลี ไทย บาลี ไทย รฎั ฐ รฐั อัฎฐิ อฐั ิ ทฎิ ฐิ ทฐิ ิ วัฑฒนะ วฒั นะ ปุญญ บญุ วิชชา อวิชา สัตต สัต เวชช เว

๘. สังเกตจากคำที่มี "ปฏ"ิ อยู่ข้างหน้ามกั จะเป็นภาษาบาลี ยกตวั อย่างเช่น ปฏิบัติ ปฏวิ ตั ิ ปฏิรปู ปฏสิ นธิ ปฏิภาณ ปฏมิ า ยกเว้นบางคำที่ไมใ่ ชภ่ าษาบลแี ตเ่ ป็นการบญั ญตั ศิ ัพทข์ องผรู้ ู้ เชน่ ปฏิคม ปฏิชวี นะ ปฏิญาณ

ตัวอยา่ งคำศัพท์ภาษาบาลีในไทย

คำบาลี ความหมาย คำบาลี ความหมาย วชริ เพชร ครุฬ พาหนะของพระนารายณ์ ภรยิ า เมีย รจฺฉา ทางเดนิ , ถนน, ตรอ โสตถฺ ิ สวสั ดี รกุ ฺข ตน้ ไม้ อสิ ิ นักบวชผู้อย่ใู นป่า ขตฺตยิ กษัตริย์ วชิ ชฺ า ความรู้ สริ ศีรษะ, หัว กิรยิ า อาการของคน สสิ ฺส ผู้เรยี นดว้ ย สตตฺ าห เจ็ดวัน โทส ความโกรธ สายณหฺ เวลาเยน็

กฬี า การแขง่ ขันประเภทลแู่ ละลาน

กเลวร,กเลวฬ รา่ งกาย, ซากศพ

กญฺญา หญงิ สาว

การญุ ฺญ ความกรณุ า

สนิ ธฺ ว ม้า

ภาษาสนั สกฤต

สันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะมีข้อสังเกตและตวั อย่างคำภาษาสนั สกฤต ดังน้ี

๑. พยญั ชนะสนั กฤต มี ๓๕ ตัว คอื พยัญชนะบาลี ๓๓ ตวั บวกกบั ศ, ษ ยกตัวอย่างเช่น กษตั ริย์ ศึกษา เกษียร พฤกษ์ ศีรษะ เปน็ ตน้ ยกเว้นคำไทยบางคำที่ใช้เขยี นด้วยพยญั ชนะทัง้ ๒ ตัวน้ี เชน่ ศอก ศึก ศอ เศรา้ ศก ดาษ เป็นตน้

๒. ไม่มีหลกั การสะกดแนน่ อน ในภาษาสนั สกฤตตัวสะกดตัวตามจะอยขู่ ้ามวรรคกันได้ไมก่ ำหนดตายตวั เชน่ อัปสร เกษตร ปรัชญา

อักษร เป็นตน้

๓. สงั เกตจากสระ สระในภาษาบาลี มี ๘ ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ส่วนสันสกฤต คอื สระภาษาบาลี ๘

บวกกับสระอกี ๖ ตัว คอื ฤ ฤา ภ ภา ไอ เอา ยกตวั อยา่ งเชน่ ตฤณมยั ไอศวรรย์ เสาร์ คฤหาสน์ เปน็ ตน้

๔. สงั เกตจากพยญั ชนะควบกล้ำ ภาษาสนั สกฤตมกั จะมีคำควบกลำ้ ข้างท้าย เชน่ จกั ร อคั ร บุตร สตรี ศาสตร์ อาทิตย์ เป็นต้น

๕. สังเกตจากคำทมี่ ีคำวา่ “เคราะห”์ ยกตวั อย่างเชน่ เคราะห์ พิเคราะห์ สังเคราะห์ อนุเคราะห์ เปน็ ต้น

๖. สังเกตจากคำที่มี “ฑ” ยกตัวอย่างเช่น จฑุ า กรีฑา ครุฑ มณเทยี ร จณั ฑาล เปน็ ต้น

๗. สังเกตจากคำท่ีมี “รร” ยกตัวอยา่ งเช่น สรรค์ ธรรม์ วรรณ บรรพต ภรรยา บรรณารักษ์ มรรยาท กรรม ทรรศนะ เปน็ ตน้

ตัวอย่างคำศพั ทภ์ าษาสันสกฤตในไทย

คำสันสกฤต ความหมาย คำสันสกฤต ความหมาย วชรฺ เพชร ครฑุ พาหนะของพระนารายณ์ ภรฺยา เมีย รถฺยา ทางเดิน, ถนน, ตรอก สวฺ สตฺ ิ สวสั ดี วฤฺ กฺษ ตน้ ไม้ ฤษิ นักบวชผู้อยใู่ นป่า กฺษตฺรยิ กษตั รยิ ์ วิทฺยา ความรู้ ศิรสฺ ศรี ษะ, หวั เทฺวษ ความโกรธ

กรฺ ิยา อาการของคน

กฤต ขอ้ กําหนดหรอื ขอ้ บังคับ

กรีฑา การแข่งขนั ประเภทลู่ ศิษยฺ ผเู้ รยี นด้วย และประเภทลาน สปตฺ าห เจ็ดวนั สายาหนฺ เวลาเย็น กลเวร ร่างกาย, ซากศพ

กนฺยา,กนยฺ กา หญิงสาว

การณุ ฺย ความกรณุ า

๑๐

ภาษาเขมร

ภาษาเขมรเป็นภาษาคำโดด จัดอยู่ในตระกูลมอญ-เขมร คำดั้งเดิมส่วนใหญ่เปน็ คำพยางค์เดียวและ เป็นคำโดดถือเอาการเรียงคำเข้าประโยคเป็นสำคัญเช่นเดียวกบั ภาษาไทย แต่มีลักษณะบางอย่างต่างไปจาก ภาษาไทยโดยมีขอ้ สงั เกตและตวั อย่างคำภาษาสันสกฤต ดงั นี้

๑.มกั ใช้ บงั บนั บำ นำหนา้ คำที่มสี องพยางค์

ยกตวั อยา่ งเช่น - บังคับ บงั คม บงั เหยี น บังเกิด บังคล บงั อาจ - บนั ได บนั โดย บนั เดนิ บันดาล บันลือ - บำเพญ็ บำบดั บำเหน็จ บำบวง

๒.นิยมใชอ้ ักษรนำ

ยกตัวอยา่ งเช่น สนุก สนาน เสด็จ ถนน เฉลยี ว เป็นตน้

๓.คำเขมรส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์

ยกตวั อย่างเช่น ขนง ขนอง เขนย เสวย บรรทม เสด็จ โปรด เป็นตน้

๔.มกั แผลงคำได้

ยกตัวอย่างเช่น - ข แผลงเป็น กระ เช่น ขดาน เปน็ กระดาน ขจอก เป็น กระจอก - ผ แผลงเป็น ประ ผสม - ประสม ผจญ - ประจญ - ประ แผลงเป็น บรร ประทม เปน็ บรรทม ประจุ - บรรจุ ประจง - บรรจง

๑๑

การยืมคำภาษาเขมรมาใช้ในภาษาไทย ๑.ยืมมาใช้โดยตรง เชน่ กระดาน กระทอ่ ม กะทิ บัง โปรด ผกา เปน็ ตน้ ๒.ยืมเอาคำท่ีแผลงแล้วมาใช้ เชน่ กงั วล บำบดั แผนก ผจัญ ๓.ยืมท้งั คำเดมิ และคำที่แผลงแล้วมาใช้ เชน่ เกดิ -กำเนดิ ขลัง-กำลงั เดนิ -ดำเนิน ตรา-ตำรา ๔.ใช้เปน็ คำสามัญท่วั ไป เช่น ขนนุ เจริญ ฉงน ถนอม สงบ เป็นตน้ ๕.ใชเ้ ป็นคำในวรรณคดี เช่น ขจี เชวง เมิล สดำ สลา เป็นต้น ๖.ใช้เป็นคำราชาศัพท์ เชน่ เขนาย ตรัส ทูล บรรทม เสวย เป็นต้น ๗.นำมาใชท้ ง้ั เป็นภาษาพูดและภาษาเขยี น

ตัวอย่างคำศพั ท์ภาษาเขมรในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กระแส อาการไหลไปเปน็ สาย พนม ถูเขา เพนยี ด วงล้อมเป็นดอก กลด รม่ ไมช้ นดิ หนึ่ง เพลา ตัก เบาลง เพลงิ ไฟ กำเดา ความร้อน เลอื ดทอ่ี อกทางจมกู เสวย กิน สรง อาบน้ำ ขจร ฟุง้ ไป ลบอง แบบ ฉบับ

ขจี หน่มุ เขียวสด

ขนง ค้ิว

ขมงั พรานธนู

๑๒

ตวั อย่างคำศัพทภ์ าษาเขมรในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย เนา อยู่ แด ใจ บังคม ไว้เจา้ นาย ถนน หนทาง ผทม นอน ถนอม ใช้อยา่ งระมดั ระวงั ผจง ตั้งใจทำให้ดี จาร เขยี นดว้ ยเหลก็ แหลม เผด็จ ตัด ขจัด ขาด เดนิ ยกเทา้ กา้ วไป เผดยี ง บอกให้รู้ ดำเนิน เคล่ือนทก่ี ้าวไป ไผท แผน่ ดิน ตำรวจ ผู้รักษาความสงบสขุ ทลู บอกกลา่ ว เสน่ง เขาสัตว์

๑๓

ภาษาชวา-มลายู

ภาษาชวา ปัจจุบันเรียกว่าภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาตระกูลคำติดต่อ ตระกูลเดียวกับภาษามลายู ภาษาชวาที่ไทยยืมมาใชส้ ่วนมากเป็นภาษาเขียน ซึ่งรับมาจากวรรณคดเี รื่อง ดาหลังและอิเหนาเป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคำภาษาเหล่านี้ใช้สื่อสารในวรรณคดี และในบทร้อยกรองต่าง ๆ มากกว่าคำที่นำมาใช้สื่ อสารใน ชีวติ ประจำวนั

ภาษามลายูหรอื ภาษามาเลย์ ปัจจุบันเรียกว่า ภาษามาเลเซีย เป็นภาษาคำติดต่อ อยู่ในตระกูลภาษา ชวา-มลายู คำส่วนใหญ่จะมีสองพยางค์และสามพยางค์ เข้ามาปะปนในภาษาไทยเพราะมีเขตแดนติดต่อกนั จึงติดต่อสัมพันธ์กันทั้งทางด้านการค้าขาย ศาสนา วัฒนธรรม มาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะจังหวัด ชายแดนภาคใต้

มขี ้อสงั เกตดังนี้ ๑. ออกเสยี งเหมือนหรือใกลเ้ คียงกบั ภาษาเดมิ และคงความหมายตามภาษาเดิม

๒.เสยี งพยัญชนะบางเสยี งเปลี่ยนไปแตใ่ กล้เคยี งกับเสียงเดมิ

๓.เสียงสระเปลย่ี นแปลงไปเพยี งเล็กน้อย เชน่ เปลี่ยนจากสระเสยี งสนั้ เปน็ สระเสียงยาว

๔.คำทไี่ ทยนำมาออกเสียงประสมสระอะท่ีพยางคห์ น้า บางคำแทรกเสียง “ร” ควบกลำ้ ซงึ่ อาจจะเป็นเพราะ อทิ ธิพลของคำไทยทีม่ ีคำลกั ษณะน้อี ยมู่ าก

๕.เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มหนว่ ยเสยี งตัวสะกด ส่วนมากจะเป็นการเปลยี่ นแปลงตวั สะกดให้ตรงตามมาตราตัวสะกดของไทย

๖.การกลายเสียงวรรณยกุ ต์ ระดับเสียงในภาษาชวา–มลายู อย่ใู นระดับกลางและต่ำ ไมอ่ ยใู่ นระดับสูง

๗.มีการเปลยี่ นแปลงเสยี งในลักษณะการกลมกลนื เสียง ซ่งึ การเปลย่ี นแปลงเสยี งในลกั ษณะนี้มหี ลายคำ มกั เปน็ การกลมกลนื เสยี งไปข้างหนา้ และกลมกลนื เสยี งรว่ มกนั ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปนี้

๗.๑ กลมกลนื เสยี งไปข้างหน้า ๗.๒ กลมกลนื เสยี งรว่ มกนั (บางคำเสียงพยญั ชนะต้นกลายไปดว้ ย

๑๔

๘.การตดั พยางค์ มักเปน็ การตดั พยางคห์ นา้ และพยางค์กลาง

๘.๑ ตดั พยางคห์ น้า ๘.๒ ตดั พยางคก์ ลาง ๘.๓ ตดั พยางค์ท้าย ๙.การเพ่ิมเสียงและเพม่ิ พยางค์ มีบางคำทีไ่ ทยรับมาใชแ้ ล้วเพิ่มเสียงเข้าไป ซง่ึ ทำใหพ้ ยางค์เพิ่มข้ึนด้วยแต่มีไม่ มากนกั ๑๐.ไทยนำมาใช้ความหมายกลายไปจากเดิม คือ ความหมายแคบเข้า ความหมายกว้างออกหรือความหมาย ยา้ ยทีด่ ังตัวอยา่ ง

๑๐.๑ ความหมายแคบเข้า ๑๐.๒ ความหมายกวา้ งออก ๑๐.๓ ความหมายยา้ ยท่หี รือความหมายเปลยี่ นแปลงไป

ตวั อยา่ งคำศพั ท์ภาษาชวา - มลายูในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กาหย,ู ยาร่วง มะมว่ งหิมพานต์ ลูกละไม ลกู มะไฟเปลอื กเหลือง ผรา ห้ิงท่วี างของแขวนอยู่เหนอื เตาไฟ เกาะตะ,กอตะ กล่องบุหรข่ี องชาวประมง ในครัวมกั ทำด้วยไมไ้ ผ่ มะมว่ งหิมพานต์ กัด อวนขนาดยอ่ มสำหรบั ดกั ปลา ลูกหัวคลอ็ ก ดนิ โคลน ซ่ึงอยู่ผวิ น้ำ การเอาไฟสอ่ งหาปลาในน้ำตน้ื

ฆง ข้าวโพด หลดุ

ฆอและ ไกท่ ัง้ ตัวท่ีแกงเสร็จ โหละปลา

๑๕

ตัวอยา่ งคำศัพท์ภาษาชวา - มลายใู นไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย พด คด,งอ,ขด หว้า โชคหรือวาสนา

พรก กะลามะพร้าว หวา้ ดี โชคดี

พรัด เรยี กฝนหรอื มรสุมตะวันตกพัด หวาก กะแช่หรอื น้ำตาลเมา

เขา้ มาวา่ ฝนพลดั

โพระ ที่ลุม่ มีน้ำขงั มสู ัง อีเห็น (สตั ว์วงศเ์ ดยี วกบั ชะมด)

โจ ยนั ตท์ ่ใี ชเ้ ขยี นไวต้ ามตน้ ไม้ หมา ภาชนะท่ีใช้ตกั นำ้ จากบอ่ จิง้ จัง ทำดว้ ยกาบหมาก บดู ู เป็นปลาตวั เลก็ ๆหมักเกลือและ ตาหนา เคร่ืองหมายหรอื รอยตำหนิ ปลาลาหนง บนรา่ งกายคน มนี ำ้ ด้วย บ้าจ้ี

น้ำเคยที่ได้จากปลาหมักเกลือ ลาต้า ข้ีลืม

จนเนื้อเป่ือยใช้เปน็ อาหาร

ปลาโคบมนั ลาไล

ปอเนาะ โรงเรียทสี่ อนหนงั สือและ ยา่ หนดั ,ยา่ นหนัด สับปะรด ย่าหมู่ ผลฝร่ัง อบรมศาสนาอิสลาม

ปากวะ,ปากระวะ บึงใหญ่

๑๖

ภาษาทมฬิ

สันนิษฐานว่าภาษาทมิฬได้เขา้ มาปะปนในภาษาไทยโดยผ่านทางลังกา เพราะไทยนับถือพทุ ธศาสนา ลัทธิลงั กาวงศ์และการค้าขายซึ่งทมฬิ ในสมัยโบราณเคยเขา้ มาค้าขายกบั ประเทศตา่ ง ๆ ทางแถบเอเชยี

ตวั อยา่ งคำศพั ทภ์ าษาทมิฬในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย แกงกะหร่ี แกงแขกชนิดหนง่ึ มเี คร่อื งเทศ ปะวะหล่ำ เครอื่ งประดบั สำหรับผกู จ้อมือเ ปน็ ลูกกลมๆ กลุ ี คนรบั จา้ งทำงานหนกั กะละออม ภาชนะสานชนดิ หนง่ึ ทำดว้ ยไม้ไผ่ เชน่ หาม แตง่ หรือฝนอญั มณเี ชน่ เพชร พลอยใหไ้ ดเ้ หลย่ี มหรอื รูปตาม กานพลู ชื่อไม้ต้นขนาดกลางดอกตมู มี เจียระไน ตอ้ งการแลว้ ขดั เงา สมนุ ไพรเครอื่ งเทศของแขก รสเผด็ รอ้ น ชนิดหนึง่ มเหสีคนแรก กำมะหย่ี ผ้าชนิดหนึ่งมีขนอ่อนนมุ่ ย่หี รา่ พระอาทติ ย์ จงกลนี บัวดอกชนดิ หนง่ึ มกี ลบี ซ้อน ประไหมสหุ รี ตรียำปวาย ของกนิ แก้เลย่ี นมแี ตงกวา พธิ ีกรรมศาสนาพราหมณ์ สรุ ยิ ัน หัวหอม นำ้ สม้ ตะก่วั หรือเรียกวา่ พิธโี ลช้ ิงชา้ อาจาด แร่จำพวกโลหะมลี ักษณะออ่ น ละลายง่าย

๑๗

ภาษาจนี

ไทยและจีนเป็นมิตรประเทศที่ติดต่อเจริญสัมพันธไมตรี และค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าและศิลปะ วัฒนธรรมกันมายาวนาน ชาวจีนที่มาค้าขายได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก ภาษาจีน จึงเข้ามาสู่ไทยโดยทางเชื้อชาติ นอกจากนี้ภาษาจีนและภาษาไทยยังมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน จึงทำให้มีคำ ภาษาจนี เขา้ มาปะปนอย่ใู นภาษาไทย ภาษาจีนมีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกบั ภาษาไทยมาก คือ เปน็ คำโดด

เมื่อนำคำภาษาจีนมาใชใ้ นภาษาไทยซึง่ มวี รรณยุกตแ์ ละสระประสมใช้จึงทำให้สามารถออกเสยี งวรรณ ยกุ ตแ์ ละสระตามภาษาจนี ได้อย่างง่ายดาย นอกจากน้ีการสะกดคำภาษาจีนในภาษาไทยยงั ใช้ตัวสะกดตรงตาม มาตราตัวสะกดทง้ั 8 มาตราและมกี ารใช้ทณั ฑฆาต หรือตัวการนั ตด์ ้วย

หลักการสังเกตคำภาษาไทยทมี่ าจากภาษาจีน

๑.นำมาเปน็ ชื่ออาหารการกนิ เชน่ กว๋ ยเต๋ียว เต้าทึง แปะ๊ ซะ เฉาก๊วย จับฉา่ ย เป็นต้น ๒.เป็นคำท่ีเก่ยี วกบั สิง่ ของเครื่องใชท้ ่เี รารับมาจากชาวจนี เชน่ ตะหลวิ ตกึ เก้าอ้ี เกง๋ ฮวงซ้ยุ ๓.เปน็ คำทเี่ กย่ี วกับการค้าและการจัดระบบทางการค้า เช่น เจง๋ บ๋วย หนุ้ ห้าง โสห้ยุ เปน็ ตน้ ๔.เป็นคำที่ใช้วรรณยุกตต์ รี จัตวา เปน็ สว่ นมาก เช่น ก๋วยจ๊บั กุ๊ย เก๊ เกก๊ กง๋ ตนุ๋ เป็นต้น

วิธนี ำคำยมื ภาษาจีนมาใชใ้ นภาษาไทย

ไทยนำคำภาษาจีนมาใช้ โดยมากไทยเลียนเสียงจีนได้ใกล้เคียงกว่าชาติอื่น ๆ เช่น เกาเหลา ตั้งฉ่าย เต้าทึง เต้าหู้ เต้าฮวย บะฉ่อ พะโล้ แฮ่กเป็นต้น มีบางคำที่นำมาตัดทอนและเปลี่ยนเสียง เช่น เตี้ยะหลิว ตะหลิว บะ๊ หม่ี บะหมี่ ป้งุ กี ปุ้งกี๋

ตัวอย่างคำศัพทภ์ าษาจีนในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กงสี หนุ้ ส่วน ซี้ซวั๊ กระจดั กระจาย เซง็ ลี้ การคา้ ขาย กว๋ ยเต๋ยี ว ของกนิ เป็นเสน้ โต้โผ ออกนอกหนา้

เกย๊ี ว ของกินเปน็ แผน่

ตวั อย่างคำศพั ทภ์ าษาจีนในไทย ๑๘

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กะลอจี๊ ขนมชนิดหน่งึ ไต้ก๋ง นายทา้ ยสำเภา ต๋ง ชักเอาไว้ ข้ึนฉ่าย ช่ือไมล้ ม้ ลกุ ตงฉนิ ซอ่ื สตั ย์ บะฉอ่ หมสู ับ เข่ง ภาชนะสาน บุ้งกี๋ เครอ่ื งสาน แปะ๊ เจย๊ี ะ เงินกนิ เปลา่ ขมิ เครอื่ งดนตรจี นี โพย บญั ชี,ทะเบยี น หมวย เดก็ หญงิ ลกู จนี งว้ิ ละครจีนโบราณ เสย่ี ชายร่ำรวย ห้าง บริษัท เจ๋ง ยอดเยยี่ ม,ดเี ลิศ โอเลี้ยง กระแฟดำใส่นำ้ แข็ง อัง้ โล่ เตาไฟเผาดิน เจก๊ น้องของพอ่

จับกงั กรรมกร

แฉ กระจายตรวจ

เฉง่ จา่ ยทไี่ ด้เสยี กัน

แชบว๊ ย ชือ่ กุ้งทะเลชนิดหนงึ่

แซยิด การทำบญู อายคุ รบ 60 ปี

๑๙

ภาษาญป่ี นุ่

การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่นตามหลักเกณฑ์นี้เป็นการถ่ายเสียงภาษาญี่ปุ่นที่เขียนด้วยอักษรโรมันเท่าที่ อักษรโรมันจะแสดงได้ โดยถ่ายเสียงสระและเสียงพยัญชนะตามที่ออกเสียงในภาษาญี่ปุ่นมาตรฐานหรือ ภาษาโตเกยี วและมตี ารางเทยี บสระ พยัญชนะ แสดงไว้

ตวั อย่างคำศพั ทภ์ าษาญ่ีปนุ่ ในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กโิ มโน เครอ่ื งแต่งกายประจำชาตญิ ่ีปุน่ สนึ ามิ คลืน่ ทะเลยักษก์ ำลังทำลายลา้ งสูง เทมปุระ อาหารชนิดหนึง่ ชุบแป้งทอด เกอิชา หญิงต้อนรับ หญงิ ให้บรกิ าร ฟูจิ ชอ่ื ภูเขาในญป่ี นุ่ คอสเพลย์ การแตง่ ตัวเลียนแบบตัวละคร คามคิ าเซ่ ทหารหนว่ ยกลา้ ตายของญีป่ ุ่น คิกขุ ใสซอ่ื ,นา่ เอน็ ดู

คาราเต้ ศิลปะการตอ่ สู้ดว้ ยสนั หรอื นิ้วมือ โชยุ ซีอิ๊วญี่ป่นุ ซูชิ อาหารญ่ีปุน่ ซามูไร ทหารอาชพี ใชข้ า้ วมาปน้ั เปน็ กอ้ นๆ เดมิ พวกน้ใี ชม้ ีดดาบเป็นอาวธุ ช่ือเมอื งหลวงของประเทศญ่ปี นุ่ ชื่ออาหารญ่ปี ่นุ คลา้ ยแพนเคก้ ซูโม มวยปล้ำ มว้ นห่อไสต้ ่างๆ

ยูโด วิชาการตอ่ ส้ปู ้องกนั ตัวแบบหนง่ึ

สาเก สรุ ากล่นั จากข้าว โตเกยี ว สกุ ี้ยากี้ ชื่ออาหารชนิดหน่ึง โตเกียว

ตัวอย่างคำศัพทภ์ าษาญป่ี นุ่ ในไทย ๒๐

คำ ความหมาย คำ ความหมาย ป่ินโต ภาชนะใส่อาหาร นินจา นักฆ่าญป่ี ุ่นสมยั โบราณ อะนิเมะ ชือ่ ภาพยนต์ การต์ นู ญ่ปี ่นุ คาราโอเกะ ชดุ อุปกรณท์ ี่มีทำนองเพลงและ ราเมง มีเนอ้ื ร้องให้รอ้ งตาม โอซะกะ ชอ่ื เมอื งในประเทศญป่ี ุ่น บะหม่นี ำ้ แบบญ่ปี นุ่ ตั้งอยูใ่ นเขตคนั ไซ อจุ จาระ วาซาบิ เครอื่ งปรุงรสอาหาร รสเผ็ด อุนจิ ปลาดิบ

บอนไซ ตน้ ไม้ทีถ่ กู บังคบั ไมใ่ หเ้ จรญิ ตาม ซาชิมิ ปรกติ

๒๑

ภาษาโปรตุเกส

โปรตุเกสเป็นชนชาติแรก ๆ ที่เดินทางมาติดต่อค้าขายกับประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา การติดต่อระหว่างโปรตุเกสและไทยน้ัน มีทั้งด้านการค้าขาย เผยแพร่ศาสนา และการเข้ามาเป็นทหารอาสา สมัครของพระมหากษัตริย์ไทย ทำให้กรุงศรีอยุธยาได้รับวัฒนธรรมต่าง ๆ หลายประการ ท้ังด้านการทหาร การจัดทพั อยา่ งยโุ รป แบบอย่างเครือ่ งยศ ตำรายาบางชนดิ รวมทงั้ อาหาร ขนมหวาน

ตัวอยา่ งคำศพั ทภ์ าษาโปรตเุ กสในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กะละแม ขนมชนิดหนึง่ กราตัส กระดาษ กัมประโด ผ้ซู ื้อ กะละมงั ภาชนะใส่ของ กระจบั ป้ิง เครอื่ งปดิ บังอวยั วะเพศ บาทหลวง นักบวชในศาสนาคริสต์ จบั ปิง้ กระจับปิ้ง ป้ันเหน่ง เข็มขดั ป่ินโต ภาชนะใส่ของ ปัง ขนมชนดิ หนงึ่ หลา มาตราสว่ นความยาว

เลหลัง ขายทอดตลาด

สบู่ ครมี ฟอกตัว

เหรียญ โลหะกลมแบน

๒๒

ภาษาเปอร์เซีย

จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีว่า "พวกแขกเทศ" คือชาวต่างประเทศที่นับถือศาสนาอิสลามโดย เฉพาะอย่างยิ่งอาหรับและเปอร์เซียได้เข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแล้ว ภาษาเปอร์เซียก็เป็นอีกแหล่งหนึ่งที่คนไทยหยิบยืมเอามาใช้แสดงถึงความสัมพันธ์ และการแลกเปลี่ ยน ทางวฒั นธรรมทีม่ ีมายาวนาน

ตวั อย่างคำศัพท์ภาษาเปอร์เซยี ในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กะลาสี ลกู เรอื ตราชู เครื่องชง่ั บัดกรี เชอื่ มโลหะ กะหล่ำ ชอื่ ไม้ลม้ ลกุ ชนิดหนง่ึ เยยี รบบั ผา้ ทอยกดอกเงนิ

กน้ั หย่นั มีดสนั้ ปลายแหลมแบบจนี ราชาวดี พลอยสีฟา้ กากี มีคม ๒ ข้าง สรัง งานในเรือ ฝนุ่ หรอื ข้ดี นิ สนม หญิงฝ่ายใน ส่าน ผ้าคลุมกาย คลมุ หน้า เกด องุ่นแห้ง สหุ รา่ ย คนโทนำ้ คอแคบ

โกหรา่ น หรหู ราภูมิฐาน

กาหลบิ ผปู้ ระกาศศาสนาอสิ ลาม

กุหลาบ ดอกไม้ชนดิ หนึง่ ก้านมหี นามเล็กๆ

๒๓

ตวั อยา่ งคำศพั ท์ภาษาเปอร์เซียในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย เขม้ ขาบ ชื่อผา้ สกั หลาด ผา้ ทำด้วยขนสัตว์ องนุ่ ชื่อไม้เถา ผลเปน็ พวงกนิ ได้ คาราวาน ผู้คนเดนิ ทางกับอูฐ อะไหล่ ชิ้นสว่ นของเคร่ืองจักรยนต์ อะลัว ช่อื ขนมชนดิ หนงึ่ จาระบี น้ำมันกนั ความสึกหรอ อำพัน ยางไม้ท่ีแขง็ เปน็ กอ้ น ยหี่ รา่ เครอ่ื งเทศชนิดหนงึ่ ชกุ ชี ฐานพระประธาา

ตาด ผา้ ไหมปกั เงิน

ตรา เคร่ืองหมาย

๒๔

ภาษาองั กฤษ

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอังกฤษได้รบั ความนิยมใช้เป็นภาษาเพือ่ การ สื่อสารมากที่สุด หลาหลายประเทศยอมรับภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ภาษาอังกฤษจึงกลายเป็น ภาษาสากลของชาวโลก คนไทยไดศ้ กึ ษาภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองมาเปน็ เวลานาน จนภาษาอังกฤษเข้ามา มีอทิ ธพิ ลต่อชีวติ ของคนไทยมากขึน้

ทัง้ ในด้านการพูดและการเขยี นสื่อสารในชวี ิตประจำวัน โดยเฉพาะในปจั จบุ ันคนไทยศกึ ษาความรู้และ วิทยาการต่าง ๆ จากตำราภาษาอังกฤษ และสนใจเรียนรู้ภาษาอังกฤษกันมากขึ้นคำยืมจากภาษาอังกฤษจึง หลั่งไหลเข้ามาในภาษาไทยมากข้ึนทกุ ขณะท้ังในวงการศกึ ษา ธุรกจิ การเมือง การบนั เทงิ

การยมื คำภาษาอังกฤษมาใชใ้ นภาษาไทยมีดงั นี้

๑.การทบั ศพั ท์ โดยการถา่ ยเสียงและถอดตวั อกั ษร คำยมื จากภาษาองั กฤษโดยวธิ กี ารทับศพั ทม์ ีจำนวนมาก คำบางคำ

ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์เป็นคำไทยแล้ว แต่คนไทยนิยมใช้คำทับศัพท์มากกว่า เพราะเข้าใจง่าย ส่ือสารไดช้ ัดเจน

๒.การบัญญตั ศิ พั ท์ เปน็ วิธกี ารยมื คำ โดยรับเอาเฉพาะความคดิ เก่ียวกับเรอื่ งนนั้ มาแล้วสร้างคำขึ้นใหม่ ซึ่งมีเสียงแตกต่าง

ไปจากคำเดิม โดยเฉพาะศัพท์ทางวิชาการจะใช้วิธีการนี้มาก ผู้ที่มีหน้าที่บัญญัติศัพท์ภาษาไทยแทนคำ ภาษาองั กฤษคอื ราชบัณฑิตยสถาน

๓.การแปลศพั ท์ วิธีการนี้จะตอ้ งใช้วิธีการคิดแปลเป็นคำภาษาไทยใหม้ คี วามหมายตรงกับคำในภาษา อังกฤษ แล้วนำ

คำนน้ั มาใชส้ อ่ื สารในภาษาไทยต่อไป

๒๕

ตวั อย่างคำทบั ศพั ท์ภาษาอังกฤษในไทย

ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย almond อลั มอนด์ Oxygen ออกซิเจน Plastic พลาสติก apple แอปเปล้ิ Quota โควตา้ Radar เรดาร์ balloon บอลลนู Sause ซอส Switch สวติ ซ์ cake เค้ก Tape เทป Upload อัพโหลด Downlond ดาวโหลด Vaccine วคั ซนี Vitamin วติ ามิน Espresso เอสเพรสโซ Wave เวฟ Web เวบ็ Football ฟตุ บอล X-ray เอกซเรย์ Yeast ยสี ต์ Graphic กราฟฟกิ Zoom ซูม

Hippopotamus ฮปิ โปโปเตมัส

Internet อนิ เทอร์เน็ต

Jackpot แจก็ พอต

Knock นอ็ ก

Lipstick ลปิ สตกิ

Model โมเดล

Notebook โนต้ บคุ๊

ตวั อยา่ งคำบัญญตั ศิ ัพทภ์ าษาองั กฤษในไทย ๒๖

ภาษาอังกฤษ ศพั ทบ์ ัญญัติ ภาษาอังกฤษ ศพั ท์บัญญัติ Telegraph โทรเลข Test ทดสอบ Toll ทางผ่าน Telephone โทรศพั ท์ Network เครอื ข่าย Ligth year ปแี สง Telescope โทนทรรศน์ Class ชนช้ัน Free world โลกเสรี Teievition โทรทศั น์ submarine เรอื ดำนำ้ Mactch ไมข้ ดี ไฟ Teletype โทรพิมพ์ University มหาวิทยาลยั Bank ธนาคาร Ecology โทรคมนาคม Cereal ธัญพชื Personality บคุ ลกิ ภาพ Reform ปฏริ ูป activity กิจกรรม Culture วฒั นธรรม Globalization โลกาภิวัฒน์ Theory ทฤษฎี

Federal state สหพนั ธรฐั

Radio วทิ ยุ

Score ดนตรปี ระกอบ

post card ไปรษณยี าบตั ร

Editor บรรณาธกิ าร

Police ตำรวจ

Frost น้ำคา้ งแข็.

๒๗

ตัวอยา่ งคำแปลศพั ท์ภาษาองั กฤษในไทย

ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย Tea spoon ชอ้ นชา Black market ตลาดมืด Short story เรอ่ื งสน้ั Table spoon ชอ้ นโตะ๊ Middle-man คนกลาง Dry cleaning ซกั แหง้ Electricity ไฟฟ้า Horse power แรงมา้ Honeymoon น้ำผง้ึ พระจันทร์ Electric fan พัดลม Blacklist บญั ชดี ำ

Airpiane เครอื่ งบนิ

Typewriter เครอ่ื งพิมพ์ดดี

War ship เรือรบ

๒๘

ภาษาฝรง่ั เศส

ชาวฝรั่งเศสได้เข้ามาสู่ประเทศไทยโดยมองซิเออร์ เดอลา มอตต์ ลังแบรต์ สังฑราชแห่งเบริท ในคณะสอนศาสนาโรมันคาธอลิกของฝรั่งเศส และมีนักสอนศาสนาเข้ามาเรื่อยๆ ต่อมาได้มีการตั้งโรงเรียน และสร้างโรงสวดขึ้น บริษัทอินเดียตะวันออกของฝรั่งเศสได้ส่งเรือเข้ามาทำการค้าขายกับประเทศไทย ไทยส่งราชทูตคณะที่ ๒ ออกไปเจริญสัมพันธไมตรีกับพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ และฝรั่งเศสได้ส่งเชอวาลิเอร์เดอ โชมองต์เป็นราชทูตมาเกลี้ยกล่อมให้สมเด็จพระนารายณ์เปลี่ยนศาสนามานับถือศาสนาคริสต์ แต่ก็ไร้ผล อย่างไรก็ตามพระองค์ก็มิทรงได้ขัดขวาง ถ้าหากประชาชนชาวไทยจะหันไปเข้ารีตนับถือศาสนาคริสต์ การที่ชาวไทยได้มีความสัมพันธ์กับชาวฝรั่งเศสตั้งแต่ครั้งนั้นจนกระทั่งสมัยปัจจุบัน ทำให้มีคำยืมที่มาจาก ภาษาฝรง่ั เศสจำนวนหน่ึงท่ีเข้ามาใช้แพรห่ ลายอย่ใู นภาษาไทย

ตัวอย่างคำศัพทภ์ าษาฝรง่ั เศสในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กงสลุ เดคาเมตร ความยาวตามมาตราเมตรกิ พนักงานดูแลผลประโยชน์ กรัม ของรัฐบาล เดซิเมตร ๑ ใน ๑๐ ของเมตร. หน่วยน้ำหนกั ชนิดหน่ึง แนว, แถว, สายน้ำ ศลิ ปะ กลวิธี กาแฟ ช่ือเครื่องดมื่ ทที่ ำมาจากเมล็ดกาแฟ โดม แบคทีเรยี ชนิดหน่ึง อาหารที่บรกิ ารตวั เอง กบิ๊ เก๋ ดดู มี ีเสน่ห.์ เทคนคิ หมวกผา้ สักหลาด

กิโล เคร่อื งชง่ั บกั เตรี

เกาลิน ดินเกาเหลียง บุฟเฟต์

โกเ้ ก๋ สวยเขา้ ทีจนอวดได้ เบเรต์

๒๙

ตัวอยา่ งคำศัพทภ์ าษาฝร่งั เศสในไทย

คำ ความหมาย คำ ความหมาย คาเฟ่ กาแฟ โบรชัวร์ ใบปลวิ เปตอง ชอ่ื กีฬากลางแจง้ ชนิดหนึ่ง คูปอง บตั รหรอื ต๋ัวแทนเงนิ สด เมตร มาตราวัดความยาว เมนู รายการอาหาร ครัวซองท์ ขนมชนิดหน่ึง ลิตร มาตราตวงจำนวนหน่ึง แลก็ เกอร์ นำ้ มนั ชักเงา ชิ้นเช้ ครู่ ัก สังกะสี สง่ิ ทใ่ี ชม้ ุงหลังคา อาวัล การรับประกนั การใช้เงิน แชสซี โครงรถตามความยาว

โชเฟอร์ คนขบั รถยนต์

ซังเต คุก ตาราง

เซนติเมตร ชอื่ หนว่ ยความยาว

๓๐

คำจากภาษาถ่ินในภมู ภิ าคต่าง ๆ

ภาษาในประเทศไทย มีผู้พูดหลายภาษาด้วยกัน โดยภาษาไทยภาคกลางเป็นภาษาที่มีผู้ใช้มากสุด ควบคู่เป็นภาษาราชการ นอกจากนั้นยังมีภาษาถิ่นย่อย และภาษาอื่น ๆ อีกหลายตระกูลภาษา โดยรวม มผี ู้ใชภ้ าษาราว 74 ภาษาในประเทศไทย

สำหรับภาษาตระกูลไทยนั้น ยังมีภาษาถิ่นย่อยหลัก เช่น ภาษาไทยภาคกลาง (รวมภาษาไทยโคราช), ภาษาไทยถิ่นใต้, ไทยอีสาน หรือ คำเมือง เป็นต้น ขณะเดียวกันก็มีภาษาจีนอีกหลายถิ่นย่อย เช่น จีนแต้จิ๋ว จีนกลาง จนี แคะ ภาษาจีนกวางต้งุ

สาเหตทุ ่ีทำใหเ้ กดิ ภาษาถ่ินในภูมภิ าคต่าง ๆ

1.สภาพภมู ศิ าสตร์

เมอ่ื กลุม่ คนอาศยั อยู่ในสถานที่เดยี วกนั ย่อมต้องใช้ภาษาเดยี วกันในการสอื่ สาร แตห่ ากกลุ่มชนอพยพ ย้ายถิ่นฐานไป ไม่ว่าจะเป็นผลจากการรุกรานของศัตรู หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติยอ่ มส่งผลให้ภาษาของชน กลุ่มนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยอาจออกเสียงเปลี่ยนไป ทำให้คําและความหมายของแต่ละคำน้ัน เปลีย่ นไปเชน่ กัน จึงเปน็ สาเหตุให้เกดิ ภาษาถน่ิ ขน้ึ นน่ั เอง

2.สภาพแวดล้อม

เมื่อกลุ่มคนอาศัยอยู่ใกล้ชิดกัน ย่อมเกิดการรับและการผสมผสานกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม เช่น ภาษาถิ่นใต้ ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาชวา-มลายู ภาษาถิ่นเหนือ ได้รับอิทธิพลจากภาษาพม่าและมอญ ภาษาถน่ิ อีสาน ได้รบั อิทธพิ ลมาจาก ภาษาเขมร และลาว เป็นต้น

๓๑

ภาษาถิ่นภาคเหนือ

ภาษาถิ่นภาคเหนือหรือภาษาพายัพ(คำเมือง) ได้แก่ ภาษาถิ่นที่ใช้สื่อสารในบางจังหวัดของ ภาคเหนือตอนบนหรือภาษาที่ในอาณาจักรล้านนาเดิม มักจะพูดกันมากในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชยี งราย พะเยา ลำปาง นา่ น ลำพูน ตาก แพร่ เปน็ ตน้

ตวั อยา่ งคำศพั ท์ภาษาถิ่นภาคเหนอื

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กิน๋ กนิ ม่วน สนกุ เมอ่ื ย เปน็ ไข้ กาดมว่ั ตลาดเชา้ เยียะ ทำ ลำ อรอ่ ย ขนาด มาก ละออ่ น เดก็ ส่งึ ตงึ ซอ่ื บ้ือ ง่าว โง่ หัน เห็น หอื้ ให้ จดั๊ นกั มาก อุ๊ย คนแก่ แอ่ว เทยี่ ว จ้อง ร่ม ฮัก รกั ฮู้ รู้ เชียง เมือง บะนำ้ แกว้ ฟกั ทอง เข้าโพด ขา้ วโพด ตุง ธง

ต๊เุ จา้ พระ

เตา้ เทา่

เตยี่ ว,ผ้าเตี่ยว กางเกง

บะเขือส้ม มะเขือเทศ

ปอ้ พอ่

ป๊ิก กลบั

๓๒

ภาษาถ่นิ ภาคตะวนั ออก

เรยี กวา่ เปน็ ภาษายอ่ ยทใ่ี ช้สื่อสารกันในทอ้ งถน่ิ ตะวันออกเช่น ระยอง จนั ทบุรี ตราด เปน็ ตน้

ตวั อย่างคำศพั ท์ภาษาถิ่นภาคตะวันออก

คำ ความหมาย คำ ความหมาย เกียน เกวียน กะแต่ง ผักที่มลี กั ษณะคลา้ ย คนุ ,แมะ บุกแต่เลก็ กวา่ ตะโงน ตะโกน ยาย โพง กระปอ๋ งตักน้ำ ธุ ไหว้ พอแรง มาก สนกุ ซะ้ สนุกมาก หวด กิน นักนัก่ มากมาย,เยอะแยะ ลยุ้ , หลัว เขง่ อแี หวก แมงกะชอน สงาด เยอะ, มากมาย ฮิ คำสร้อย เอีย๊ ว อ่อน สะหมา่ ประหมา่

หาบ แบก

อโี ป้ ผา้ ขาวมา้

เอ๊าะ สาวรนุ่

อ๊อกอ้อ ตุ๊กแก

๓๓

ภาษาถ่ินภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

ภาษาถิ่นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื หรอื ภาคอสี าน เปน็ ภาษาทใี่ ชในการติดต่อสื่อสารในชาวจงั หวดั ต่าง ๆ ของภาคอสี าน

ตวั อยา่ งคำศัพทภ์ าษาถิ่นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

คำ ความหมาย คำ ความหมาย เด้อ นะ เปน็ ตาซังคกั ๆ น่าเกลยี ดมากๆ เอาน้ําไปถอก เอานำ้ ไปเทท้งิ ตาแชบ น่าอรอ่ ย งึดหงาย อัศจรรย์มาก ออนซอนเด๊ ท่ึงมา มึนตบึ้ งงมาก เม๊ิดปี ท้ังปี บัดทีน้ี คราวน้ี จกั หน่อย เลก็ นอ้ ย เคยี ดแล้ว โกรธแล้วนะ

ลืมคาว หลงลืมชัว่ ครู่ ผาดหว่า พดู ไปนัน่ ขี้ตวั๊ ะ ขโี้ กหก ตาฮัก นา่ รกั ขค้ี รา้ น ขเ้ี กยี จ อีเกีย คา้ งคาว ตายแกแ่ ด่ ตายแบบเขยี ดคือ พพิ กั พพิ ่วน กระอักกระอว่ น สาวซ่ำน้อย ขาเหยียดแนว่ ข้าวงาย ข้าวมอ้ื เชา้ สาววัยรนุ่

กะเดย้ี กะด้อ มากไปจริงๆ

สวดลวด ตะกละ

เบดิ เงย

พอไคแหน่ ค่อย

ขา้ วแลง ขา้ วม้อื เย็น

ตัวอย่างคำศพั ท์ภาษาถนิ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ๓๔

คำ ความหมาย คำ ความหมาย ข้าวสวย ข้าวมือ้ เที่ยง มดื ตึบ้ มืดมาก เกอื้ เอื้อเฟือ้ กกไม้ ต้นไม้ กอ่ สรา้ งขึน้ กลนื ลดึ ๆ กลนื โดยไม่เคีย้ ว โกน โพรงไม้ โจก แกว้ ใส่น้ำดม่ื ตะเว็น พระอาทิตย์ กระตบิ ข้าว ก่องใส่ขา้ วเหนยี วสุก

จอกหลอก แจกแหลก เล็กๆ นอ้ ยๆ

น้ำกนิ นำ้ ดม่ื

๓๕

ภาษาถ่ินภาคภาษาใต้

ภาษาถิ่นใต้ ได้แก่ ภาษาถิ่นที่ใช้สื่อสารอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ของภาคใต้ของประเทศไทยลงไปถึง ชายแดนประเทศมาเลเซีย

ตวั อย่างคำศัพท์ภาษาถน่ิ ภาคใต้

คำ ความหมาย คำ ความหมาย กางหลาง เกะกะ ตอเบา ผักกระถนิ โตน น้ำตก กุบกบ่ั รีบรอ้ น ต่อเช้า พรงุ่ น้ี น้ำเต้า ฝักทอง แกลง้ ตง้ั ใจทำ ชมพู่ ฝร่ัง พงุ ปลา ไตปลา ขีช้ ิด ข้เี หนียว ลกลกั เรง่ รีบ,ลนลาน หวนั ม้งุ มงิ้ โพลเ้ พล้ ข้ีหก,ข้ีเทจ็ โกหก หลาด ตลาด ยานดั สับปะรด ขี้หมน้ิ ขมน้ิ ลอกอ มะละกอ เปรว ปา่ ช้า คง ข้าวโพด เตย๋ี ว เทยี่ ว หลาว นะ เคร่า คอย,รอคอย ชนั ชี สัญญา

ฉา่ หว้ิ ตระกร้า

แตงจนี แตงโม

ตาล่อ,ตาอยาก โลภมาก,อยากได้

แต่วา เม่อื วาน

น้ำชุบ น้ำพรกิ

เคย กะปิ

โกปี้ กาแฟ

๓๖

สรุป

การยืมคำในภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย ทำให้เราสามารถเลือกใช้คำได้หลากหลายแต่การใช้คำยืม ต้องมีความรู้และความเข้าใจเป็นพื้นฐานเพื่อให้ใช้ได้อย่างถูกต้อง การรับภาษาต่างประเทศมาใช้สื่อสารใน ภาษาไทย มีทง้ั ขอ้ ดีและขอ้ เสียคนไทยทกุ คนพึงควรระมัดระวงั ในการนำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ ทีค่ นไทยใช้ตดิ ต่อส่ือสารมา เปน็ เวลาอันยาวนานการยืมคำภาษาต่างประเทศ เข้ามาใช้โดยวิธีการทับศัพท์ควรใช้เฉพาะคำที่จำเป็นเท่านั้น คำใดมีคำไทยใช้หรือมีศัพท์บัญญัติใช้แล้วก็ไม่ ควรนำภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้อีก และควรเรยี งเรียงถ้อยคำเข้าประโยคเพื่อใช้ในการสื่อสารตามรูปแบบ ของภาษาไทย

ภาษาถน่ิ เป็นภาษายอ่ ยทใี่ ชพ้ ดู จากนั ในท้องถ่นิ ต่าง ๆ ซงึ่ เกิดจากการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อความหมาย ความเข้าใจกันระหว่างผู้คนท่ีอาศัยอยู่ตามทอ้ งถิ่นนัน้ ๆ ซึ่งอาจจะแตกต่างไปจากมาตรฐาน หรือภาษาท่คี น ส่วนใหญ่ของแต่ละประเทศใช้กนั และอาจจะแตกต่างจากภาษาในท้องถิ่นอ่ืนทง้ั ทางด้านเสียง คำและการใช้ คำภาษาถิ่นเป็นภาษาที่มีลักษณะเฉพาะ ทั้งถ้อยคำและสำเนียงภาษาถิ่นจะแสดงถึงเอกลักษณ์ ลักษณะ ความเปน็ อย่แู ละวิถชี ีวติ ของผคู้ น ในทอ้ งถ่ินของแต่ละภมู ิภาคของประเทศไทย

๓๗

บรรณานุกรม

การใชภ้ าษาใต้. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/adecmjuu๒๖๐๕ ////////(วนั ทีส่ ืบคน้ ข้อมูล : ๒๘ สงิ หาคน ๒๕๕๑) ขอ้ สังเกตคำทม่ี ากจากภาษาชวา-มลาย.ู (๒๕๖๑). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงเว็บไซต์จาก : ////////https://pratoolee.ac.th/ข้อสงั เกตคำท่ีมาจากภาษ-7/.(วันที่สบื คน้ ขอ้ มูล : ////////๑ กนั ยายน ๒๕๖๔). คำภาษาเขมรในภาษาไทย. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงเวบ็ ไซต์จาก : ////////https://www.baanjomyut.com/library_๒/extension-1/loanwords/08.html. ////////(วนั ที่สบื คน้ ขอ้ มลู : ๒๗ สงิ หาคน ๒๕๖๔). คำภาษาชวา-มลายทู ีม่ ใี ช้ในภาษาไทย. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ เว็บไซต์จาก : ////////https://www.baanjomyut.com/library_๒/extension-1/loanwords/09.html. ////////(วนั ที่สืบค้นข้อมูล : ๑ กันยายน ๒๕๖๔). คำภาษาเปอรเ์ ซีย. (๒๕๕๒). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงเวบ็ ไซต์จาก : https://www.kroobannok.com/๑๗๔๒๒. ////////(วนั ทส่ี ืบค้นขอ้ มลู : ๑ กันยายน ๒๕๖๔). คำยืมที่มาจากภาษาองั กฤษ. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถงึ เว็บไซต์จาก : ////////https://www.baanjomyut.com/library_๒/extension-๑/loanwords/๐๖.html. ////////(วนั ทส่ี บื ค้นข้อมูล : ๓๑ สงิ หาคน ๒๕๖๔). คำยืมภาษาจีนท่มี ีใชใ้ นไทย. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เข้าถงึ เว็บไซต์จาก : ////////https://www.baanjomyut.com/library_๒/extension-๑/loanwords/0๗.html. ////////(วนั ที่สบื ค้นขอ้ มลู : ๓๑ สงิ หาคน ๒๕๖๔). ประมวลคำภาษาบาลีและสนั สกฤตท่ไี ทยนำมาใช้. (๒๕๖๔). [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ เว็บไซตจ์ าก : ////////https://bit.ly/3BpKCD6. (วันทีส่ ืบค้นข้อมลู : ๒๙ สงิ หาคน ๒๕๖๔). พงศธร หวานสนิท. (๒๕๖๐). ภาษาบาลี และสนั สกฤตในภาษาไทย. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ เวบ็ ไซต์จาก : ////////https://sites.google.com/site/phngsthrhwansnith/home. (วันท่ีสบื คน้ ข้อมลู : ////////๒๙ สงิ หาคน ๒๕๖๔). ภาษาเปอรเ์ ซยี . (๒๕๖๔). [ออนไลน]์ . เข้าถึงเว็บไซต์จาก : ////////https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาเปอร์เซยี . (วันทส่ี บื ค้นข้อมูล : ๑ กันยายน ๒๕๖๔). ภาษาโปรตเุ กสในภาษาไทย. (๒๕๕๒). [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ เว็บไซตจ์ าก : ////////https://www.kroobannok.com/๑๗๔๒๐. (วนั ท่สี ืบคน้ ข้อมูล : ๓๐ สงิ หาคน ๒๕๖๔).

๓๘

บรรณานุกรม (ต่อ)

ภาษาโปรตุเกสในภาษาไทย. (๒๕๖๑). [ออนไลน]์ . เข้าถงึ เวบ็ ไซต์จาก : ////////https://sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/influence-thai/portugues-in-thai. ////////(วนั ท่ีสบื คน้ ขอ้ มูล : ๓๐ สงิ หาคน ๒๕๖๔). ภาษาถน่ิ เหนอื . (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงเวบ็ ไซตจ์ าก : ////////https://sites.google.com/site/pimpilai๕๔๘๑๑๓/ภาษาถนิ่ เหนือ. (วันทสี่ ืบคน้ ขอ้ มูล : ////////๒๙ สิงหาคน ๒๕๖๔). ภาษาฝรง่ั เศส. (๒๕๖๐). [ออนไลน์]. เขา้ ถึงเว็บไซต์จาก : ////////http://lakpasa.blogspot.com/๒๐๑๗/๐๘/blog-post_๘๔.html. (วนั ทีส่ ืบคน้ ขอ้ มลู : ////////๓๐ สงิ หาคน ๒๕๖๔). สโรชา ศิรพิ จนานนท์. (ม.ป.ป.). ภาษาถิน่ ตะวนั ออก. [ออนไลน]์ . เข้าถึงเวบ็ ไซตจ์ าก : ////////https://sites.google.com/site/๓๒๕๐๗arada/phasa-thin-tawan-xxk. (วันที่สบื ค้นข้อมลู : ////////๒๙ สงิ หาคน ๒๕๖๔). Lekyada. (๒๕๕๐). โตโ้ ผ กับคำว่า ต้วั โผ. [ออนไลน์]. เข้าถงึ เวบ็ ไซตจ์ าก : ////////http://oknation.nationtv.tv/blog/Lekyada/๒๐๐๗/๐๓/๐๑/entry-๑. (วนั ทสี่ บื ค้นข้อมลู : ////////๓๑ สงิ หาคน ๒๕๖๔). Nutchaphon B. (๒๕๖๑). เรยี นรู้คำศัพท์ "ภาษาอสี าน" ภาษาชิคๆ ที่พูดแลว้ ม่วนมาก. [ออนไลน]์ . ////////เขา้ ถึงเวบ็ ไซต์จาก : https://www.sanook.com/campus/๑๓๙๗๖๗๗/. (วนั ท่ีสบื คน้ ขอ้ มูล : ////////๓๐ สิงหาคน ๒๕๖๔). Nutchaphon B. (๒๕๖๑). รวม "คำทับศัพท์ ภาษาองั กฤษ" ทีค่ นไทยมักจะใช้กนั บอ่ ยๆ. [ออนไลน์]. ////////เข้าถึงเว็บไซต์จาก : https://www.sanook.com/campus/๑๓๙๙๐๘๕/. (วนั ท่ีสืบคน้ ข้อมลู : ////////๓๑ สงิ หาคน ๒๕๖๔). Teacher Guru. (๒๕๖๒). คำภาษาองั กฤษในภาษาไทย. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ เว็บไซต์จาก : ////////https://www.wordyguru.com/article/คำภาษาองั กฤษในภาษาไทย. (วนั ท่ีสบื คน้ ขอ้ มูล : ////////๓๑ สิงหาคน ๒๕๖๔). Waniosa Amedestir. (๒๕๖๔). ภาษาทมิฬ. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ เวบ็ ไซต์จาก : ////////https://th.wikipedia.org/wiki.. (วนั ท่สี ืบค้นข้อมูล : ๒๙ สงิ หาคน ๒๕๖๔). Ymrttw. (๒๕๖๔). ภาษาญี่ปุน่ . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงเว็บไซตจ์ าก : ////////https://th.wikipedia.org/w/index. (วนั ที่สบื คน้ ขอ้ มลู : ๒๙ สิงหาคน ๒๕๖๔).

๓๙

ภาคผนวก

ภาษาสันสกฤต

ภาษาบาลี

๔๐

ภาษาเขมร

ภาษาชวา-มลายู

๔๑

ภาษาทมิฬ

ภาษาจีน

๔๒

ภาษาญ่ีปุ่น

ภาษาโปรตุเกส

๔๓

ภาษาเปอร์เซีย

ภาษาองั กฤษ

๔๔

ภาษาฝรั่งเศส

ภาษาถนิ่ ภาคเหนอื

๔๕

ภาษาถิ่นภาคตะวนั ออก

ภาษาถ่นิ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื หรอื อสี าน