การสังคายนา ครั้งที่ 3 ผู้อุปถัมภ์

ได้กล่าวแล้วว่า เรื่องสังคายนาที่ปรากฏในวินัยปิฎกมีเพียงครั้งที่ 1 กับครั้งที่ 2 ส่วนเรื่องการสังคายนาครั้งที่ 3 มีปรากฏในชั้นอรรถกถาอันพอเก็บใจความได้ดังนี้

สังคายนาครั้งที่ 3 กระทำที่อโศการาม กรุงปาตลีบุตร ประเทศอินเดีย พระโมคคัลลีบุตร ติสสเถระเป็นหัวหน้า มีพระสงฆ์ประชุมกัน 1,000 รูป ทำอยู่ 9 เดือนจึงสำเร็จ สังคายนาครั้งนี้กระทำภายหลังที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว 234 หรือ 235 ปี ข้อปรารภในการทำสังคายนาในครั้งนี้คือ พวกเดียรถีย์ หรือนักบวชศาสนาอื่นมาปลอมบวช แล้วแสดงลัทธิศาสนาและความเห็นของตนว่าเป็นพระพุทธศาสนา พระโมคคัลลีบุตร ติสสเถระ ได้ขอความอุปถัมภ์จากพระเจ้าอโศกมหาราช ชำระสอบสวนกำจัดเดียรถีย์เหล่านั้นจากพระธรรมวินัยได้แล้ว จึงสังคายนาพระธรรมวินัย

มีข้อน่าสังเกตว่า ในการทำสังคายนาครั้งนี้พระโมคคัลลีบุตรได้แต่งคัมภีร์กถาวัตถุ ซึ่งเป็นคัมภีร์ในอภิธัมมปิฎกเพิ่มขึ้นด้วย ตามประวัติว่าบทตั้งมีอยู่เดิมแล้วแต่ได้แต่งขยายให้พิสดารออกไป เรื่องกถาวัตถุ เป็นเรื่องคำถามคำตอบเกี่ยวกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มีคำถาม 500 คำตอบ 500 และเมื่อทำสังคายนาเสร็จแล้ว ก็ได้ส่งคณะทูตไปประกาศพระศาสนาในประเทศต่างๆ รวมทั้งพระมหินทเถระ ผู้เป็นโอรสพระเจ้าอโศก ได้นำพระพุทธศาสนาไปประดิษฐานในลังกาเป็นครั้งแรก การส่งสมณะทูตไปทิศทางต่างๆ ครั้งนั้นถือหลักว่าให้ไปครบ 5 รูป เพื่อจะได้ให้การอุปสมบทแก่ผู้เลื่อมใสได้ แต่คงไม่ระบุชื่อหมดทั้ง 5 โดยมากออกนามเฉพาะท่านผู้เป็นหัวหน้า

"การสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 3" ...

Posted by ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ย.พ.ส.) on Wednesday, September 18, 2019

การทำสังคายนาครั้งที่ 3 นี้ มีสาเหตุมาจากพระพุทธศาสนาได้รับความยอมรับนับถืออย่างกว้างขวาง มีผู้มีศรัทธาขอบวชในพุทธศาสนาจำนวนมาก จนเป็นสาเหตุให้นักบวชนอกศาสนาขาดลาภสักการะ พวกนี้บางทีเรียกว่า “เดียร์ถีย์” ได้ปลอมบวชในพุทธศาสนา แสดงลัทธิขัดต่อหลักพุทธศาสนา ทำการเผยแพร่ลัทธิของตนในนามพระพุทธศาสนา เป็นผลให้เกิดการรังเกียจ แตกแยกและเคลือบแคลงสงสัยในวงการพุทธศาสนา จนไม่ทำอุโบสถสังฆกรรมร่วมกันเป็นเวลานานถึง 7 ปี พระเจ้าอโศกมหาราช ซึ่งเป็นกษัตริย์ผู้ทรงศรัทธาเลื่อมใสพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า และทรงเป็นองค์อุปถัมภก ทรงวิตกว่าหากไม่แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว ก็จะทำให้พุทธศาสนาเสื่อมสลายไป ดังนั้น พระองค์จึงทรงอาราธนาพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระให้ช่วยชำระสอบสวน และกำจัดพวกเดียร์ถีร์ออกไปจากธรรมวินัยเสีย ในครั้งนั้นพวกภิกษุที่ปลอมบวชในพระพุทธศาสนาได้ถูกจับสึกเป็นจำนวนมาก หลังจากนั้น พระเจ้าอโศกมหาราชก็ทรงให้อาราธนาภิกษุผู้บริสุทธิ์ร่วมกันทำอุโบสถสังฆกรรม พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเห็นเป็นโอกาสสมควรจึงได้จัดให้มีการทำสังคายนาขึ้น
หลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ 3 นี้เสร็จสิ้นลงแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชกับพระโมคัลลีบุตรติสสเถระ ได้มีความเห็นร่วมกันว่า ในอนาคตพุทธศาสนาอาจไม่มั่นคงอยู่ในอินเดีย จึงเห็นควรส่งพระสมณทูตออกไปเผยแผ่ในส่วนต่าง ๆ ของอินเดียและในต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้ จึงมีการส่งพระสมณทูตออกประกาศพุทธศาสนา โดยแบ่งออกเป็น 9 สาย ภายใต้พระราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช พระสมณทูต 9 สาย

����˵� : �ǡ���ö������;ǡ�ѡ�Ǫ���ʹ�����һ����Ǫ㹾�оط���ʹ� �������������ѡ���� ������ͺ�͹����¾�оط���ʹ� ���ʴ��ѷ����Ф�����繢ͧ����� "�繾�оط���ʹ� �繤�����͹�ͧ��оط����" ����������պصõ��������ͤ����ػ�����ҡ��������ȡ����Ҫ����ա���ͺ�ǹ ���ҧ �ӨѴ�ǡ���ö�������Ǫ����ҳ 60,000 �ٻ ����������������͡�ҡ��оط���ʹ��������

ʶҹ��� : ��ȡ���� ��ا�ҵ�պص� ���ٷ�ջ

ͧ���ػ����� : ��������ȡ����Ҫ

��èѴ��� : ����������պصõ�������繻�иҹ ������ѹ����һ�Ъ�����ѧ�յԡ�áʧ��ӹǹ 1,000 �ٻ

�������� : 9 ��͹ �֧�����

����ѧ��¹Ҿ�и����Թ�¤��駹�� ���ա�ëѡ�����и����Թ����еͺ��ͫѡ��������ǡѺ����ѧ��¹Ҥ��駡�͹ ������ҡ���������´��� �������ٻ㴷�˹�ҷ��ѡ��� �ٻ㴷�˹�ҷ��ͺ��ͫѡ��� ���ҡ���� ����������պصõ���������ʹͤӶ�� 500 ����������㹤�����졶��ѵ�� ����繤������㹾����Ը����Ԯ� �繡�â��¤����������������ʴ���͡��ա ����Ъ��ʧ�����Ѻ�ͧ�繤�͸Ժ�·��١��ͧ�����ѡ����㹾�оط���ʹ�

�š���ѧ��¹Ҥ��駹�� �͡�ҡ����ӨѴ�ǡ���ö�������Ǫ ����͡�ҡ��оط���ʹ����� �ѧ���ͺ�ҹ��и����Թ�����١��ͧ �����ͺ�Ӷ�� 500 ��� �ӵͺ 500 ��� �������㹤�����졶��ѵ�ش��� ��������稡���ѧ��¹��������ա��������ٵ������оط���ʹ�㹴Թᴹ��ҧ� ������е�ҧ�������� 9 ��´��¡ѹ ����������� 5 �ٻ ���ͨ���������ػ������������������١��ͧ�������Թ��

��·�� 1 ����Ѫ�ѹ�ԡ��� ��������¤�� ������оط���ʹ� � ��鹡�����������鹤ѹ����

��·�� 2 ����������� ��������¤�� ������оط���ʹ� � ����������� ��дԹᴹᶺ���������⤸�����

��·�� 3 ����ѡ�Ե��� ��������¤�� ������оط���ʹ� � ǹ���ջ����

��·�� 4 ��и����ѡ�Ե��� ���;���¹������ѡ�Ե��� (������㨡ѹ����繽��觤��á㹪ҵԡ�ա�������ҺǪ㹾�оط���ʹ�) ��������¤�� ��������оط���ʹ� � ͻ�ѹ������

��·�� 5 �����Ҹ����ѡ�Ե��� ��������¤�� ������оط���ʹ� � ��������ɮ��

��·�� 6 �������ѡ�Ե��� ��������¤�� ������оط���ʹ� � �¹������

��·�� 7 ����Ѫ������ ��������¤�� ��;�С��ʻ⤵���� �����š����� ��зع���������� ��о������� ������оط���ʹ� � �Թᴹᶺ�����������

��·�� 8 ����ʳ��� ��о���ص����� ��������¤�� ������оط���ʹ� � �Թᴹ����ó����

��·�� 9 �����Թ���� (���ʾ�������ȡ����Ҫ) ��������¤�� ��;����ԯ���� ����ط������ ����������� ��о���ѷ������� ������оط���ʹ� � �ѧ�ҷ�ջ ��Ѫ���¢ͧ��������ҹ����µ���� ��ѵ��������ѧ�ҷ�ջ

การสังคายนาครั้งนี้มีปรากฎอรรถกถา มหาวิภังค์ (วิ.มหา. (มหามกุฏฯ)(ไทย) 1/9/71-107) ณ เมืองปาฏลีบุตรมีพวกเดียรถีย์ขาดลาภสักการะ นุ่งห่มผ้าเหมือนภิกษุ ปลอมบวชในพระพุทธศาสนาจำนวนมาก มาแสดงลัทธิที่ผิดพุทธบัญญัติ ทำสังฆลฑณให้แตกสามัคคี ทำให้สงฆ์ไม่ทำสังฆกรรมร่วมด้วยถึง 7 ปี พระเจ้าอโศกมหาราชจึงทรงโปรดให้อำมาตย์ผู้หนึ่งไประงับอธิกรณ์นี้ แต่อำมาตย์ทำเกินเลยบังคับสงฆ์ให้ลงสังฆกรรมร่วมกับเหล่าเดียรถีย์ พวกภิกษุไม่ยอม อำมาตย์จึงได้ฆ่าฟันภิกษุที่ขัดขืน 2-3 รูป พระเจ้าอโศกทราบเรื่องเกิดความไม่สบายใจ จึงสอบถามพวกภิกษุว่าบาปนี้จะถึงแก่พระองค์หรือไม่ ก็ไม่มีภิกษุรูปใดตอบได้ พวกภิกษุจึงอาราธนาพระโมคคัลลีบุตรติสสะเถระให้วิสัชชนา พระเถระได้แก้ข้อกังขาว่าบาปเป็นเฉพาะของอำมาตย์เท่านั้นเพราะทำเกินรับสั่ง พระเจ้าอโศกทรงเลื่อมใสอาราธนาพระเถระให้เป็นผู้ชำระสงฆ์ให้บริสุทธิ์ พระเจ้าอโศกได้โปรดให้ชุมนุมสงฆ์ทั่วสังฆมณฑล ทรงสอบถามพระภิกษุ เช่นว่า พระพุทธเจ้าสอนอย่างไร ภิกษุที่ปลอมบวชตอบเป็นทำนองสัสสตทิฏฐิบ้าง อุจเฉททิฏฐิบ้าง พระเจ้าอโศกก็ให้สึกไปสวมชุดขาวเป็นจำนวนมากถึง 60,000 รูป ส่วนภิกษุฝ่ายธรรมวาทีพากันตอบว่า "วิภัชวาท"

 

ครั้นกำจัดภิกษุปลอมบวชได้แล้ว พระเจ้าอโศกจึงอาราธนาให้สงฆ์ทำอุโบสถกรรม และพระโมคคัลลีบุตรจึงถือโอกาสทำสังคายนาครั้งที่  3  โดยเลือกพระอรหันต์จำนวน 1,000 รูปเข้าร่วมทำสังคายนา ณ อโศการามทำอยู่ 9 เดือนจึงเสร็จ ทำสังคายนาเมื่อพระเจ้าอโศกเสวยราชย์ได้ 8 ปี พระโมคคัลลีบุตรได้รจนาคัมภีร์อภิธรรม กถาวัตถุ เพื่อไว้โต้แย้งกับพระพุทธศาสนานิกายอื่น เพื่อรักษาพระพุทธมติอันบริสุทธิ์ไว้ (เสถียร โพธินันทะ, 2542 : 185-186) 

 

การสังคายนา ครั้งที่ 3 ผู้อุปถัมภ์

พระเจ้าอโศกมหาราช องค์อุปถัมภ์ในการสังคายนาครั้งที่ 3

 

ส่วนในอรรถกถาพระวินัยได้กล่าวไว้คร่าวๆ เนื้อหาข้างต้นมีรายละเอียดครอบคลุมแล้ว   อาจารย์เสถียรยังได้ชี้ประเด็นต่ออีกว่า  ในคัมภีร์อโศอวทานและในศิลาจารึกของพระเจ้าอโศกไม่ได้มีกล่าวถึงการสังคายนาครั้งนี้ นักวิชาการตะวันตกเชื่อว่า การสังคายนาเป็นเรื่องสำคัญมากน่าจะมีกล่าวไว้ในศิลาจารึกบ้าง แต่ศิลาจารึกก็ไม่ได้กล่าวถึงเลย จึงเชื่อว่าเป็นเรื่องที่ชาวลังกาแต่งขึ้นมาภายหลัง และแท้จริงแล้วเดียรถีย์ 60,000 คน นั่นก็คือ พระภิกษุในนิกายมหาสังฆิกะ เพราะจากสิลาจารึกพระเจ้าอโศกทรงให้การอุปถัมภ์ในทุกๆ  ลัทธิศาสนาแม้กระทั่งสัตว์เดรัจฉาน   ไม่เฉพาะในพระพุทธศาสนาเท่านั้น  และยุคนั้นมีความอุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก การที่มีคนปลอมบวช 60,000 คน  โดยที่ทางคณะสงฆ์เองไม่สามารถหาทางป้องกันได้เลยเป็นเวลา 7 ปี ทั้งที่มีกษัตริย์และอำมาตย์คอยให้การพิทักษ์พระพุทธศาสนาไว้ บวกกับในคัมภีร์ลังกาชอบเขียนกล่าวว่าภิกษุฝ่ายตรงข้ามว่าเป็น อธรรมวาทีบ้าง เดีรยถีย์บ้าง อลัชชีบ้าง นั่นก็พอจะสรุปได้ว่า เดียรถีย์ที่ปลอมบวชก็คือ พระในนิกายมหาสังฆิกะนั่นเอง 

 

ผู้เขียนเองมีความเห็นว่า ออกจะโหดร้ายเกินไปด้วยการตัดสินว่าใช่พระหรือไม่ใช่พระ เพียงการสอบถามปัญหาเท่านั้น ทั้งที่พระที่ห่มผ้าเหลืองนั้นไม่ได้ทำผิดพระวินัยร้ายแรงใดๆ จนต้องขาดจากความเป็นพระ บวกกับพระภิกษุบางรูปที่ตั้งใจปฏิบัติไม่ได้มีความรู้ทางด้านปริยัติหรือไม่อาจจะตอบคำถามได้ถูกต้อง ก็ต้องถูกพระราชอาณาให้สิกขาลาเพศไป ซึ่งเป็นที่น่าสลดใจอย่างยิ่ง

 

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถา แปล. ชุด 91 เล่ม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2532.

พระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิตญาโณ). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา.-- พิมพ์ครั้งที่ 4 --.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2542.

เสถียร โพธินันทะ. ประวัติศาสนาพระพุทธศาสนา.-- พิมพ์ครั้งที่ 4 --. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2543.

ใครเป็นผู้อุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 3

ตติยสังคายนา ข้อปรารภในการทำสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อพวกเดียรถีย์ หรือนักบวชศาสนาอื่นมาปลอมบวช แล้วแสดงลัทธิศาสนาและความเห็นของตนว่าเป็นพระพุทธศาสนา พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ จึงได้ขอรับอุปถัมภ์จากพระเจ้าอโศกมหาราชสังคายนาพระธรรมวินัยเพื่อกำจัดความเห็นของพวกเดียรถีย์ออกไป

การทำสังคายนาครั้งที่ 3 ได้ใช้เวลากี่เดือน

เมื่อทรงชำระอธิกรณ์เสร็จแล้ว พระโมคัลลีบุตรติสสเถระจึงเลือกพระอรหันตขีณาสพทรงอภิญญาได้ ๑,๐๐๐ รูป เป็นตัวแทนของพระสงฆ์จำนวน ๖,๐๐๐,๐๐๐ รูป เพื่อประชุมกันทำสังคายนา ตติยสังคายนาครั้งนี้ทำอยู่เป็นเวลาเดือน ที่อโศการาม พระนครปาตลีบุตรมในพระบรมราชูปถัมภ์ ของพระเจ้าอโศกมหาราช เมื่อ พ.ศ. ๒๑๘

การสังคายนาครั้งที่3มีความสําคัญอย่างไร

จากการสังคายนาครั้งนี้ทำให้พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้ายังคงความบริสุทธิ์เที่ยงตรงและตกทอดมาสู่พุทธศาสนิกชนรุ่นหลังให้น้อมนำไปปฏิบัติดำเนินตาม และที่สำคัญอย่างยิ่งคือการทำพระธรรมนั้นได้เผยแผ่ไปสู่ดินแดนต่าง ๆ ซึ่งทำให้ชนทั้งหลายได้มีโอกาสสัมผัสแสงแห่งพระธรรมและหลุดพ้นจากทุกข์ได้อีกหลายร้อยหลายพันปีจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ...

การสังคายนาครั้งที่ 3 เกิดขึ้นในรัชสมัยใด

การสังคายนาครั้งที่ 3 ในประเทศอินเดีย ภายหลังพระพุทธเจ้าปรินิพพาน 234 ปี ตรงกับสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชปกครองชมพูทวีป พระเจ้าอโศกทรงเป็นพุทธมามกะ ทำนุบำรุงศาสนาพุทธ ทำให้มีเดียรถีย์ หรือนักบวชนอกพระศาสนา มาปลอมบวชในบวรพุทธศาสนาเป็นอันมากเพื่อหวังลาภยศ เกิดการบิดเบือนคำสอนของพระพุทธเจ้าด้วยความเชื่อในลัทธิเดิมของตน