การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีกี่วิธี

หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ from Aiman Sadeeyamu


> �������͹���¼����� (Transporting)


2. �������͹���¼������¼�����������ͧ��
     �Ըշ�� 1 �������¡ ���������Ѻ������������·���������֡��� ������������·���ա�úҴ�红ͧ�ӵ�� ���͡�д١�ѡ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีกี่วิธี

�Ҿ��� 31 �������͹���¼����´����Ը��������¡

     �Ըշ�� 2 ��觺���ͷ�������Ѻ����ҹ�ѹ����� ���������Ѻ���������·�����������֡���������ö��ᢹ����ͧ��ҧ��
     �Ը�����͹���� ����������ͷ���ͧ������͢�ҡӢ����ͫ��¢ͧ���ͧ ������ǡѹ������ͫ��¡���͢�ҫ�觡ѹ��Сѹ ����������ᢹ����ͧ�ѹ��Ǣ�鹹�觺���ͷ�������Ѻ����ҹ�ѹ����� ᢹ����ͧ�ͧ�������ͺ�ͼ���������� �ҡ����ҧ�����º�����繨ѧ��з��˹�� ��������׹�繨ѧ��з���ͧ ���Ǩ֧�Թ仾����� �ѹ

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีกี่วิธี

�Ҿ��� 32 �������͹���¼����´����Ըչ�觺���ͷ����������ҹ�ѹ�����

     �Ըշ�� 3 ��þ�ا�Թ �Ըչ�������·������պҴ���ع�ç ���͡�д١�ѡ��м��Ҵ���ѧ����֡��Ǵ�

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีกี่วิธี

�Ҿ��� 33 �������͹���¼����´����Ըվ�ا�Թ

3. �������͹���¼������¼���������������
     �Ըշ�� 1 ������������§ ���������Ѻ���������·���������֡��� ��ͧ�����������ҧ����§����������ҹ�ҧ᤺�
     �Ը�����͹���� ����������ͷ��������ء������§�ѹ㹷�Ҥء��Ң�ҧ���� �ء���ʹ���������Ǽ����� ���������ا�������ǹ��ҧ � �ͧ��ҧ��´ѧ���
          ����� 1 �ʹ��ͷ���ͧ������Ǽ����µç����dz�������ѧ��ǹ��
          ����� 2 �ʹ��ͷ���ͧ������Ǽ����µç����dz��ѧ��ǹ��ҧ��С�
          ����� 3 �ʹ��ͷ���ͧ������
          ����������ͤ������͹�ͷ���ش����繤���� 3 �����Ѻ���˹ѡ���·���ش ����ͨ�¡�����¼���������ͷ������� �е�ͧ�ӧҹ������ �ѹ ����餹㴤�˹�����͡����� ����á ¡�����¾�����ѹ����ҧ����� �ҡ��ҹ�����������Ѻ��¡�����¢���ҧ���ũء�Թ���ͺ���§ ���Ҩ���������͹������������ͷ������� �е�ͧ��Фͧ��Ǽ�����㹷�ҹ͹��ᤧ ��������׹ ����ͨ��Թ�С����Թ价ҧ��ҹ��ҧ������ �ѹ ��ж�Ҩ��ҧ ��������������͹����ء��С�� ��� �ء���ŧ��͹��Ф��� � �ҧ������ŧ

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีกี่วิธี

�Ҿ��� 34 �������͹���¼����´����Ը�������������§

     �Ըշ�� 2 ����餹 3 �� �Ըչ�������·����Ҵ�纹͹˧�� ���� �͹���ӡ��� ���ҧ�ͧ���Ҵ��¡�٧�����Դ�ҧ�Թ����
     1. ��黰���Һ�� 2 ���ء��Ң�ҧ�ӵ�Ǽ��Ҵ�红�ҧ˹�� �ա��ҧ˹�觼�黰���Һ���ա 1 �� �ء��Ң�ҧ�ӵ�Ǽ��Ҵ��
     2. ��黰���Һ�Ť���� 1 ��Фͧ�����������������Ҵ�� ����ա��ҧ˹���ͧ��ǹ��ѧ���Ҵ��
     3. ��黰���Һ�Ť���� 2 ����ç��������� 1 ��ᢹ��ҧ˹���ͧ��ѧ���Ҵ�� ������仨Ѻ��ͤ���� 1 �ա���˹���ͧ����⾡���Ҵ��
     4. ��黰���Һ�Ť���� 3 ���˹��������鹢��˹����ͤ���� 2 ����ͧ����⾡ ����������仨Ѻ�Ѻ��ͤ���� 2 ����ͧ����⾡��� ��ǹ����ա��ҧ˹���ͧ���������
     5. ��ͤ���� 1 ��Ф���� 2 ��èѺ�ѹ���������ҧ��觡�ҧ�ӵ����ǹ���ͧ���Ҵ�� ��黰���Һ�Ũе�ͧ����ѭ�ҳ�ء����׹����� � �ѹ

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีกี่วิธี

�Ҿ��� 35 �������͹���¼����´����Ը��餹 3 ��

Psychodynamic Theories ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีกี่วิธี


      ซิกมันต์ ฟรอยด์(Sigmund Freud) เป็นจิตแพทยช์าวเวียนนา ไดรับการยกย่องว่า เป็นบิดาของจิตวิเคราะห์เป็น

ทฤษฎีแรกที่ได้อธิบายการทา งานของจิตใจ ซึ่งเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์ฟรอยดเ์ชื่อวา่ พฤติกรรมทุกพฤติกรรมมี

ความหมาย ไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ แต่จะมีจิตส่วนหนึ่งดำเนินการและสั่งการให้เกิดรูปแบบพฤติกรรมนั้นๆ และสิ่งที่มี

อิทธิพลในการแสดงพฤติกรรม ไดแ้ก่ ประสบการณ์ในวยัตน์ ชีวติ ซึ่งฟรอยด์เชื่อว่า ประสบการณ์เหล่านี้จะฝังแน่นอยู่ใน

จิตใจ บุคคลอาจไม่รู้ตัวแต่ประสบการณ์ดังกล่าวจะมีส่วนทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมาภายหลัง การทำความเข้าใจมนุษย์และพฤตกิรรมของมนุษย์ตามแนวคิดจิตเคราะห์เกี่ยวข้องกับการทำความเข้าใจแนวคิดหลัก 5 แนวคดิ ซึ่งเชื่อว่า เป็นองค์ประกอบใหญ่ในพฤตกิรรมมนุษย์ ได้แก่ ระดับของจิตใจ โครงสร้างของจิตใจสัญชาตญาณ กลไกการป้องกันทางจิต และพัฒนาการของบุคลกิภาพ

     1. ระดับของจิตใจ (Level of the Mind)

ระดับของจิตใจ ฟรอยด์อธิบายว่า หากจะพิจารณาจิตใจของมนุษย์ตามความรู้สึกตัวแล้ว จะแบ่งระดับความรู้สึกของ

จิตใจออกเป็ น 3 ระดับ คือ

     1.1 จิตสำนึก (The conscious level) เป็ นส่วนของจิตใจที่เจ้าตัวรู้สึกและตระหนักในตนเองอยู่

พฤติกรรมที่แสดงออกอยู่ภายใต้การควบคุมด้วยสติปัญญา ความรู้ และการพิจารณาให้เหมาะสมกับสิ่งที่ถูกต้องและ

     1.2 จิตกึ่งสำนึก (The subconscious level) เป็ นระดับของจิตใจที่อยู่ในชั้นลึกลงไปกว่าจิตสํานึก คือ

เจ้าตัวไม่ได้ตระหนักรู้ตลอดเวลา หากแต่ต้องใช้เวลาคิดหรือระลึกถึงชั่วครู่ และประสบการณ์ต่างๆจะถูกดึงมาสู่จิตสํานึก 2

จิตใจส่วนนี้จะช่วยขจัดข้อมูลที่ไม่จําเป็นออกจากความรู้สึกของบุคคลและเก็บไว้แต่ในส่วนที่มีความหมายต่อตนเอง

จิตใจส่วนนี้ดําเนินการอยู่ตลอดเวลาในชีวิตประจําวัน

    1.3 จิตใต้สำนึก (Unconscious level) เป็ นระดับของจิตใจในชั้นลึกที่เจ้าตัวเก็บไว้ในส่วนลึก อัน

ประกอบด้วยความต้องการตามสัญชาตญาณต่างๆซึ่งไม่อาจแสดงได้อย่างเปิดเผยและประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละ

ขั้นตอนของพัฒนาการในชีวิตที่มนุษย์เก็บสะสมไว้ โดยเฉพาะที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ฟรอยด์กล่าวว่า มนุษย์จะเก็บ

ความรู้สึกทางลบไว้ในส่วนจิตใต้สํานึก และจะแสดงออกในบางโอกาส ซึ่งเจ้าตัวไม่ได้ควบคุมและไม่รู้สึกตัว ฟรอยด์เชื่อ

ว่า การทําความเข้าใจมนุษย์ต้องทําตามความเข้าใจจิตใจส่วนนี้ด้วย

    2. โครงสร้างจิตใจ (Structure of Mind)

 โครงสร้างของจิตใจ ฟรอยด์อธิบายว่า จิตใจของมนุษย์ ประกอบด้วยโครงสร้างหลักที่เป็นองค์ประกอบอยู่ 3

    2.1 อิด (Id) คือ สัญชาตญาณ หมายถึง ส่วนของจิตที่ยังไม่ได้ขัดเกลา เป็ นส่วนดั ้งเดิมของมนุษย์ที่ติดตัว

มาแต่กําเนิด และเป็นแรงขับของสัญชาตญาณพื ้นฐาน มุ่งให้ได้รับผลประโยชน์ต่อตนเองหรือความพึงพอใจและ

ความสุขของตนเองเป็นหลัก(Pleasure principle) กระบวนการทํางานของจิตส่วนนี้ไม่ได้นําเหตุผลและความเป็นจริง

อื่นๆมาเกี่ยวข้อง แต่เป็นการตอบสนองความต้องการตามสัญชาตญาณ ฟรอยด์เรียกกระบวนการทํางานของจิตส่วนนี้ว่า

เป็น กระบวนการคิดแบบปฐมภมูิ(Primary thinking process) ได้กลั่นกรองหรือขัดเกลาให้เหมาะสม

   2.2 อีโก้(Ego) เรียกอีกอย่างว่า ตัวตนแห่งบุคคล หรือ Self เป็ นส่วนของจิตใจที่การดําเนินโดยอาศัย

เหตุและผล การเกิดของส่วนนี้จะทําให้Id ถูกผลักดันลงไปสู่จิตใจระดับจิตใต้สํานึกและเป็ นตัวประสานงานระหว่างความ

ต้องการตามสัญชาตญาณกับโลกภายนอกตามหลักแห่งความเป็นจริง(Reality Principle) การทํางานของจิตส่วนนี้อยู่

ในระดับที่บุคคลรู้ตัว มีการพินิจพิจารณากลั่นกรอง เพื่อให้การตอบสนองตามความต้องการแรงขับของId อยู่ในขอบเขต

ของความเหมาะสมตามมาตรฐานของสังคม จึงเรียกกระบวนการคิดลักษณะนี้ว่า กระบวนการคิดแบบทุติยภมูิ

(Secondary thinking process)

     2.3 ซุปเปอร์อีโก้ (Super Ego) หรือ มโนธรรม เป็ นส่วนของจิตใจที่ทําหน้าที่เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบ

ชั่วดี ถูกผิดตามศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและศาสนา แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ

      2.3.1 มโนธรรม (Conscience) เกิดจากการอบรมสั่งสอนของพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู เป็นการสอนทั้ง

ทางตรงและทางอ้อมให้แก่เด็ก เช่น สอนว่าอะไรไม่ควรทํา ถ้าทําผิดจะถูกลงโทษ หรือ การที่การที่เด็กได้เห็นการกระทํา

ของพ่อแม่ ผู้ใกล้ชิด และจากครอบครัวอยู่เสมอ ก็เป็นการปลูกฝังโดยเด็กได้รับประสบการณ์จากสิ่งเหล่านี้ ซึ่งเรียกว่า

เป็นการสะสมในสิ่งดีงามติดตัวมาตลอด เมื่อโตขึ้นถ้าทําอะไรขัดกับมโนธรรมจะก่อให้เกิดความสํานึกผิด (guilt

     2.3.2 อุดมคตแิห่งตน (ego-ideal) เกิดจากการอบรมสั่งสอนของพ่อแม่และผู้อื่นเช่นกัน เป็นการสอนว่า

อะไรควรทําอะไรไม่ควรทํา เมื่อโตขึ้นถ้าทําตามอุดมคติแห่งตนจะก่อให้เกิดความรู้สึกอิ่มใจและภาคภูมิใจ ส่วนสําคัญ

ของ super Ego เกิดขึ้นในส่วนปลายของระยะปมออดิพุส เมื่อเด็กอายุประมาณ 5-6 ปี เด็กจะพยายามรับเอา

มาตรฐานทางศีลธรรมและอุดมคติจากพ่อแม่เข้ามาไว้ในตน พยายามซึมซาบสิ่งเหล่านี้จนกลายเป็นคุณธรรมของตนเอง3

โครงสร้างจิตใจ 3 ระบบนี้มีความสัมพันธ์กัน ถ้าทํางานสัมพันธ์กันดีการแสดงออกหรือบุคลิกภาพก็เหมาะสม

กับตน แต่ถ้าโครงสร้างทั้ง 3 ระบบทําหน้าที่ขัดแย้งกับบุคคลก็จะมีพฤติกรรมหรือบุคลิกภาพที่มาราบรื่นผิดปกติหรือไม่

 ตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ฟรอยด์เชื่อว่า พลังผลักดันทางบุคลิกภาพมาจากพลังงาน 2 ประเภท คือ พลังทาง

ร่างกาย (Physiologocal energy) และพลังจิต (Psychic energy) พลังทั้งสองชนิดนี้จะเชื่อมโยงกัน พลังงานทาง

จิตอยู่ภายใต้จิตไร้สํานึก และเป็นตัวพฤติกรรมในคน ตัวเชื่อมระหว่างพลังงานทางกายและพลังงานทางจิต คือ

สัญชาตญาณ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

    3.1 สัญชาตญาณทางเพศ (Sexual Instinct or Life of Libodo) คือ สัญชาตญาณเพื่อเอา

ชีวิตรอดและการดํารงเผ่าพันธุ์ ทําหน้าที่ผลักดันให้มนุษย์แสวงหาความพอใจตามที่ต้องการและยังเกี่ยวข้องกับการ

สืบพันธุ์มีลักษณะเป็นพลังสร้างสรรค์ ส่วนสําคัญที่สุด คือ แรงขับทางเพศ ซึ่งถือว่ามีมาตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งมีบริเวณที่

ก่อให้เกิดความพึงพอใจตามอวัยวะต่างๆของร่างกายตามวัยของการพัฒนา

   3.2 สัญชาตญาณทางก้าวร้าว (Aggressive Instinct of Death Instinct of Mortido) ทํา

หน้าที่ผลักดันให้มนุษย์แข่งขันกัน ชิ่งดีชิงเด่นกัน เอาชนะกัน มีลักษณะเป็นพลังทําลายพยายามทําทุกสิ่งทุกอย่างแยก

ออกจากกัน สัญชาตญาณทางเพศ และทางก้าวร้าวอาจเกิดร่วมกันได้ เช่น การแข่งขันเพื่อแย่งชิงเอาสิ่งที่ตนรักและหวง

แหน การต่อสู้เพื่อเอาเอกราช เป็นต้น

   4. กลไกการป้องกันทางจิต ( Defense mechanism)

ฟรอยด์เชื่อว่า มนุษย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงความวิตกกังวลได้ เพราะในชีวิตจริงมนุษย์จะไม่ได้รับการตอบสนอง

ความต้องการได้ตลอดเวลา มนุษย์มีความคับข้องใจ ขัดแย้ง หรือEgo ไม่สามารถทําหน้าที่ควบคุม Id และ Super

Ego ได้อย่างเหมาะสม มนุษย์จึงต้องพยายามหาทางผ่อนคลาย Ego จึงแสวงหาวิธีลดภาวะไม่พึงปรารถนา โดยวิธีการ

ที่เรียกว่า กลไกการป้องกันทางจิต (Defensee mechanism) ซึ่งเป็นการปฏิเสธหรือปิดบังความจริง อันเป็นกลไกที่

อยู่ในจิตใต้สํานึกมากกว่าทางจิตสํานึก มีหลายรูปแบบ เป้าหมายของทฤษฎีจิตวิเคราะห์ คือ การช่วยให้บุคคลออกจาก

ระดับจิตใต้สํานึกไปสู่จิตรู้สํานึก เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าใจพฤติกรรมที่เกิดขึ้นทั้งอดีตและปัจจุบันด้วยการลดพฤติกรรม

เก็บกดและการต่อต้าน ช่วยสํารวจความคิดความรู้สึก วิเคราะห์ประสบการณ์ในวัยเด็ก เปิดเผยสาเหตุของพฤติกรรมที่

เป็นปัญหาในปัจจุบันอันนําไปสู่ความเข้าใจ ตระหนัก และยอมรับการเจ็บป่วยได้ เกิดความรู้จักตน(Insight) ลดการมี

พฤติกรรมที่แสดงถึงความพ่ายแพ้ตนเอง

     กลไกการป้องทางจิตที่สำคัญ (Defense mechanism)

     1. การเก็บกด (Repression) เป็ นการเก็บกดความคิด ความรู้สึก หรือความต้องการที่ตนเองยอมรับไม่ได้จาก

จิตรู้สํานึก(Conscious Mind)ลงไปเก็บไว้ในระดับจิตใต้สํานึก(Unconscious Mind) ดังนั้นบุคลิกภาพในระดับจิตใต้

สํานึกจึงเต็มไปด้วยความทรงจําที่ไม่น่าอภิรมย์ ความต้องการทางเพศที่ถูกห้าม เป็นต้น จะเห็นว่าสิ่งที่เก็บกดไว้ไม่ได้

หายไปไหนแต่มันจะลงไปอยู่ในระดับจิตใต้สํานึกซึ่งสามารถใช้การสะกดจิตหรือการใช้ยาให้อยู่ในภาวะครึ่งหลับครึ่งตื่น

ช่วยให้บุคคลนําสิ่งที่เก็บกดไว้ขึ้นมาในระดับจิตสํานึกได้

ตัวอย่างที่พบได้ในชีวิตประจําวัน

- การลืมทํางานที่ได้รับมอบหมาย

- การลืมนัดหมายกับคนที่ไม่ชอบ

-การลืมเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง

- ผู้ป่ วยที่บอกพ่อแม่ว่าพ่อแม่ไม่ใช่พ่อแม่ของตนเอง

    2.การลืม (Suppression) คล้ายคลึงกับ Repression แต่เป็นกระบวนการของจิตรู้สํานึก เป็นการพยายามที่

จะผลักดันสิ่งที่ไม่สบายใจออกไปจากจิตใจโดยการพยายามที่จะไม่นึกถึงหรือลืมเสีย

- คนที่ถูกเพื่อนสนิทวิจารณ์จะพยายามลืมคําวิจารณ์นั้นเสียเพราะก่อให้เกิดความรู้สึกไม่ดี

- พ่อแม่นับหนึ่งถึงสิบเพื่อพยายามจะลืมความโกรธที่ลูกดื้อรั้น

- ผู้ป่วยจิตเวชบอกว่า ฉันไม่มีอะไรจะบอกคุณ

   3. การเลียนแบบ (Identification) เป็นการลอกเลียนแบบพฤติกรรม ท่าทาง ความคิดและความรู้สึกของบุคคล

อื่นที่ตนนิยมชมชอบหรือสู้เขาไม่ได้มาเป็นของตน เพื่อช่วยสร้างความรู้สึกที่มีคุณค่าให้กับตนเอง เช่น เลียนแบบครู

 กลไกทางจิตชนิดนี้จะพบได้ในระยะ Oedipus period ซึ่งเป็นการเริ่มต้นเลียนแบบบุคลิกลักษณะทางเพศที่

ถูกต้องของเด็ก แต่ถ้าล้มเหลวในขั้นพัฒนาการนี้ เด็กจะเลียนแบบผิดเพศ เช่น เด็กผู้ชายเลียนแบบแม่ เด็กผู้หญิง

 ดังนั้น กลไกทางจิตชนิดนี้จึงนับได้ว่าดีและมีประโยชน์ ถ้าเลือกแบบอย่างที่เหมาะสม แต่จะเป็นการมาดีถ้า

เลียนแบบตัวอย่างที่มาถูกต้องเหมาะสมถูกต้อง เช่น เลียนแบบพฤติกรรมผู้ร้าย เลียนแบบพฤติกรรมอ่อนแอขี้โรคของ

    4. การโทษตนเอง ( Introjection) เป็ นกระบวนการที่บุคคลจะนําเอาความคิด ปรัชญา ทัศนคติและอื่นๆเข้า

มาไว้เป็ นของตนเอง เช่น ผู้ป่วยจิตเวชทีมักใช้กลไกชนิดนี้โดยรับเอาความผิดเข้ามาไว้ในตนเองและโทษว่าตนเองไม่ดีจน

ทําให้เกิดพฤติกรรมฆ่าตัวตาย

    5. การกล่าวโทษผู้อื่น (Projection) เป็นการโยนความผิดให้กับผู้อื่น ทั้งๆที่เป็นความผิดของตนเอง รับผิดชอบ

ต่อพฤติกรรม ความคิด ความรู้สึกที่ไม่เป็นที่ยอมรับของเขาได้

- คนที่ไปงานเลี้ยงแล้วนั่งคนเดียว จะโทษว่าคนอื่นไม่มาพูดคุยกับเขา

- สอบตกก็บอกว่า ครูสอนไม่ดี

- ผู้ป่วยบอกว่าเขาไม่ได้ป่วย แต่ญาติที่พามาป่วย

 Projection เป็นกลไกทางจิตเมื่อใช้บ่อยๆจนไม่สามารถรับรู้สภาพความเป็นจริง จะเกิดอาการหลงผิดคิด

ว่ามีคนปองร้าย (Delusion of persecution) พบได้ในผู้ป่ วยหวาดระแวง (Paranoid patient)

  6.การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง (Rationalization) เป็นการพยายามหาเหตุผลมาอธิบายพฤติกรรม ความคิด

ความรู้สึกที่ทําให้เกิดความผิดหวัง เพื่อปกป้องตนเองจากความรู้สึกผิดหรือความบกพร่องเพื่อลดความเครียด เพื่อรักษา

ศักดิ์การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

  6.1 แบบองุ่นเปรี้ยว(Sour grape) เป็นการให้เหตุผลว่าสิ่งที่ตนเองต้องการแล้วไม่ได้นั้นเป็นสิ่งไม่ดี

เช่น - อยากเรียนหมอ แต่สอบไม่ติด ก็บอกว่า อาชีพหมอเป็นสิ่งไม่ดี ทําให้เครียด ตายเร็ว

     - รักผหู้ ญิงแลว้ไม่รักตอบ ก็บอกวา่ผหู้ ญิงคนน้นั ไมคู่ควรกตับน

  6.2 แบบมะนาวหวาน (Sweet lemon) เป็ นการหาเหตุผลมาสนับสนุนว่า เมื่อตนต้องการสิ่งใดแล้วไม่

สามารถหามาได้ แต่สิ่งที่ตนเองประสบหรือการกระทําของตนเป็นสิ่งที่ดีที่สุดแล้ว เช่น

 - อยากได้แฟนหล่อแต่หาไม่ได้ ก็พยายามปลอบใจตนเองว่า ถึงไม่หล่อแต่ก็นิสัยดี

 - มีบ้านเล็กก็บอกว่าดี ดูแลทําความสะอาดง่าย

 - คนจน บอกว่าดี ไม่ต้องกลัวโจรมาปล้น

 คนโสดที่ให้เหตุผลว่า ชีวิตมีอิสระดี ได้เป็นตัวของตัวเอง แล้วใช้ชีวิตอิสระด้วยการทํางานที่พอใจ ท่องเที่ยว

มีเพื่อนที่เข้าใจ ทัศนคติตรงกัน แต่ถ้าอ้างเหตุผลแล้วยังรู้สึกทุกข์ใจ เช่น เหงา ว้าเหว่ อยากมีคู่ครอง ก็แสดงว่ากลไกนี้

   7. ชดเชย (Compensation) เป็นกลไกการปรับตัวเพื่อข่มลักษณะด้อยของตนเองโดยการสร้างปมเด่นเพื่อแทน

ปมด้อยเดิม เพื่อให้ตนรู้สึกสบายใจขึ้น กลไกนึ้จะช่วยให้บุคคลเกิดความรู้สึกยอมรับนับถือตนเอง ซึ่งเป็นกลไกทางจิตที่

ค่อนข้างดี ถ้าหาสิ่งชดเชยไปในทางสร้างสรรค์และบุคคลประสบความสําเร็จ เช่น

 - คนที่เรียนไม่เก่งก็หันไปเอาดีด้านกีฬา

 - คนตัวเล็กแสดงความสามารถจนได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้างาน

 แต่ถ้าสิ่งชดเชยนั้นเป็นไปในทางเสียหาย เช่น ร่างกายพิการมาได้สัดส่วนไปเป็นหัวหน้าโจร วางแผนก่อ

อาชญากรรมหรือ คนมาสวยหันไปทุ่มเทกับการเรียนจนร่างกายเจ็บป่วยและสุขภาพจิตเสีย เป็นต้น

   8. การทดแทน (Sublimation) เป็นกลไกที่ประนีประนอมกับสถานการณ์ เช่น ไม่สามารถแสดงพฤติกรรม

บางอย่างที่สังคมไม่ยอมรับให้เป็นสิ่งที่สังคมยอมรับได้ เช่น

 - คนที่มีความต้องการทางเพศก็แสดงออกมาในทางศิลปะที่สร้างสรรค์ เช่น เขียนบทกลอน นวนิยาย วาดภาพ

 - ความก้าวร้าวหรือความไม่เป็นมิตร แสดงออกมาในการเล่นกีฬา โต้วาที เป็นต้น

  9.การย้ายที่(Displacement) คือการเคลื่อนย้ายอารมณ์ที่มีต่อสิ่งที่เป็นต้นตอที่ทําให้เกิดอารมณ์ไม่ดี ไปสู่

สิ่งที่ปลอดภัยกว่าและสามารถแสดงความรู้สึกนั้นได้ เช่น

 - โกรธแม่ จึงกระแทกประตูอย่างแรง

 - ถูกครูด่า โกรธมากแต่ทําอะไรไม่ได้ เห็นหมานอนอยู่ข้างถนนก็เลยเตะหมาเพื่อให้หายแค้น

  10. การถดถอย (Regression) เป็ นกระบวนการที่บุคคลหนีความคับข้องใจ ความวิตกกังวลต่างๆ โดยกลับไป

มีพฤติกรรมที่อ่อนกว่าวัย มีพฤติกรรมถดถอยไปสู่พฤติกรรมในระยะต้นๆของชีวิต เช่น

 - เด็กที่แม่มีน้องใหม่ กลับมาอ้อนแม่ไม่ยอมกินข้าวเอง ทั ้งที่ทําได้เองแล้ว

 - ผู้ป่ วยจิตเวชที่อายุมากแล้วยังผูกผมจุก เรียกตนเองว่า หนู

  11.การปฏิเสธ (Denial) กลไกทางจิตชนิดนี้ใช้เพื่อหนี หลีกเลี่ยงความเป็นจริงที่ทนรับไม่ได้ โดยการปฏิเสธ

ว่ามันเกิดขึ้นแล้ว มักใช้ในกรณีที่มีเหตุการณ์ที่ทําให้ตกใจ หรือคุกคามมากๆ เช่น ภัยสงคราม คนรักเสียชีวิตกะทันหัน

 - แพทย์บอกผู้ป่ วยว่าเป็ นมะเร็ง ผู้ป่ วยไม่เชื่อและไปหาแพทย์คนใหม่ให้ตรวจรักษาตน

 - ผู้ป่วยมีสามีเสียชีวิตในสงคราม แต่เธอยังเชื่อว่าเขายังมีชีวิตอยู่และตระเตรียมของใช้เพื่อรอเขากลับมา

 - ผู้ป่วยจิตเภทปฏิเสธความขัดแย้งในใจ

  12. การแยกออก(Isolation) เป็นกลไกทางจิตที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลต้องการปกป้องตนเองให้พ้นไปจาก

สถานการณ์ที่ทําให้ไม่สบายใจ โดยการแยกความคิด ความรู้สึกส่วนที่ขัดแย้งกันออกจากกัน หรือการแยกความคิดที่

รบกวนจิตใจออกจากอารมณ์ความรู้สึกในขณะนั้น เช่น

 - เมื่อมีความผิดพลาดในงาน หัวหน้างานสั่งลงโทษลูกน้องคนสนิท ซึ่งเป็นผู้กระทําผิดโดยไม่ได้ช่วยเหลือ

 - ขณะที่นักศึกษาฟังบรรยายด้วยสีหน้าตั้งใจ แต่เขากลับนึกเรื่องอื่นอยู่

  13.การแยกตัว (Withdrawal) เป็ นการหลีกหนีไปจากสิ่งที่ทําให้ไม่สบายใจ โดยการแยกตัวออกไปอยู่ตาม

ลําพัง ไม่ยุ่งเกี่ยวติดต่อหรือข้องแวะกับบุคคลหรือสถานการณ์นั้นๆ การใช้กลไกวิธีนี้บ่อยๆ จะทําให้มีสัมพันธภาพกับคน

อื่นลดลง ความสนใจต่อเหตุการณ์สิ่งแวดล้อมรอบตัวลดลง และเริ่มถอยห่างออกจากสังคมออกไปเรื่อยๆ ดังนั้น ถ้ายิ่ง

ใช้มากและนาน โอกาสจะกลับสู่สังคมยิ่งยากขึ้น เช่น

 - การขังตัวอยู่ในห้องเมื่อไม่สบายใจ

 - ผู้ป่วยจิตเวชที่นั่งซุกตัวอยู่ตามมุมตึก โดยไม่สนใจคนหรือเหตุการณ์ภายนอกเลย

  14. การสร้างวิมานในอากาศ (Fantasy) อาจเรียกอีกชื่อว่า ฝันกลางวัน(Day Dream) เป็นกลไกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลไม่สมหวังในตนเองหรือวิถีชีวิตของตน แล้วพยายามสร้างโลกที่น่าสนใจ โลกแห่งความฝันที่มีแต่ความสุขสมหวังแทนโลกแห่งความจริง การใช้Fantasy ในกิจกรรมที่สร้างความสุขแก่สังคมจะมีประโยชน์ต่อส่วนรวม จะเห็นได้จากศิลปินมากมาย

ที่สร้างสรรค์ผลงานจากความคิดฝันจนเกิดเป็นผลงานทางศิลปกรรม วรรณกรรม สถาปัตยกรรมมากมายที่ให้คุณค่าแก่

 - หนังสือเรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์

 แต่ Fantasy จะดําเนินสู่พฤติกรรมที่ผิดปกติ เมื่อความเพ้อฝันนั้นไม่อยู่ในโลกแห่งความเป็นจริง บุคคล

ปฏิเสธที่จะรับรู้ความเป็นจริง เกิดอาการหลงผิดคิดอย่างที่ตนคิดฝันว่าเป็นจริง หลงเข้าไปในโลกที่ตนสร้างขึ้น

 - ผู้ป่วยที่คิดว่าคนมีอํานาจพิเศษ

 - ผู้ป่วยที่เชื่อว่าตนเองรํ่ารวยเป็นเจ้าของธุรกิจมากมาย

  15.การแสดงปฏิกิริยากลบเกลื่อน หรือปฏิกิริยาตรงกันข้าม (Reaction Formation) เป็นกลไกที่ความ

ต้องการและทัศนคติที่อยู่ในระดับจิตใต้สํานึกถูกกดระงับไว้ แล้วถูกแทนที่ด้วยพฤติกรรมและทัศนคติในระดับจิตสํานึก

ใหม่ เนื่องจากสิ่งที่อยู่ในจิตใต้สํานึกนั้น เป็นความรู้สึกหรือความอยากที่สังคมไม่ยอมรับและนํามาซึ่งความขัดแย้งทาง

อารมณ์จึงทําให้เกิดการกระทําที่ตรงกันข้ามกับความรู้สึกที่แท้จริงในใจ เช่น สุภาษิต ปากอย่างใจอย่าง ปากไม่ตรง

 - หญิงสาวหลงรักชายหนุ่มคนหนึ่งแต่ไม่ได้รับความสนใจตอบ หญิงสาวอาจแสดงพฤติกรรมตรงข้ามกับใจโดยทํา

เป็นไม่สนใจใยดี ทั้งๆที่จริงอยากอยู่ใกล้ อยากพูดคุยด้วย

 - การพูดจาอย่างไพเราะยิ้มแย้มกับคนที่ตนไม่ชอบ

  16. การไถ่บาป (Undoing) เป็นกระบวนการในระดับจิตใต้สํานึก(guilty) โดยกระทําพฤติกรรมที่เป็น

เครื่องหมายแสดงถึงการขอขมา หรือลบล้างความผิดที่ได้เคยกระทําลงไปแล้ว นั่นคือการพยายามหาทางไถ่บาปไถ่โทษ

ด้วยวิธีการต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้สบายใจขึ้นทําให้รู้สึกว่าตนพ้นผิดในวิธีที่เหมาะสม คนเราจะใช้กลไกนี้เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีก่อให้เกิดความปรองดองกับบุคคลที่เคยมีเรื่องราว

บาดหมางกันมาก่อน แต่ถ้าใช้อย่างผิดวิธีจะมีพยาธิสภาพซึ่งพบได้ในผู้ป่วยจิตเวช

 - ผิดนัดกับเพื่อนแล้วพาไปเลี้ยง

 - เคยคดโกงแล้วนําเงินไปบริจาคการกุศล

 - ให้พ่อแม่ หลังจากทําตัวดื้อรั้นทําให้พ่อแม่เสียใจ

 - ผู้ป่วยจิตเวชที่คิดว่าตนมีบาปร้ายแรงมาก ต้องไถ่บาปด้วยชีวิต

  5. พัฒนาการของบุคลกิภาพ (Psychosexual development)

ฟรอยด์เชื่อว่า พัฒนาการและประสบการณ์ในวัยทารกและวัยเด็กเป็นรากฐานของบุคลิกภาพของบุคคลวัย

ผู้ใหญ่และมีพลังผลักดันจากทางจิตใจซึ่งสัมพันธ์กับความพึงพอใจทางเพศ ซึ่งพัฒนามาเป็น 5 ระยะ ดังนี้

  5.1 ระยะของความพอใจทางปาก (Oral Stage) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดถึงประมาณ 1 ปี หมายถึง

ความสุขและความพอใจของเด็กจะอยู่ที่ได้รับการตอบสนองทางปาก เช่น การดูดนม การสัมผัสด้วยปาก หากเด็กได้รับ

การตอบสนองเต็มที่ เด็กก็จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีบุคลิกภาพเหมาะสม หากตรงกันข้ามเด็กจะเกิดการชะงัก

ถดถอย (Fixation) และมาแสดงพฤติกรรมในช่วงนี้อีกในวัยผู้ใหญ่ เช่น ชอบนินทาว่าร้าย สูบบุหรี่ กินจุบ-กินจิบ เป็นต้น

  5.2 ระยะของความพอใจทางทวารหนัก (Anal Stage) ตั้งแต่อายุ 1-3 ปี หมายถึง ความพอใจ

อยู่ที่การขับถ่ายเมื่อมีวุฒิภาวะ ฉะนั้น การฝึกฝน ฝึกหัด การขับถ่ายอย่างค่อยเป็นค่อยไปด้วยวิธีผ่อนปรนและ

ประนีประนอม และให้เรียนรู้การขับถ่ายเป็นเวลาจะทําให้เด็กไม่เกิดความเครียดและสามารถพัฒนาบุคลิกภาพที่

เหมาะสมได้ ตรงกันข้ามหากเด็กได้รับการลงโทษและฝึกหัดด้วยวิธีรุนแรงจะทําให้เด็กเกิดความรู้สึกไม่พอใจและเก็บ

ความรู้สึกที่ไม่ดีไว้ที่จิตไร้สํานึก และจะมีผลต่อบุคลิกภาพในเวลาต่อมา กล่าวคือ เป็นคนขี้เหนียว เจ้าระเบียบ ชอบทํา

ร้ายให้ผู้อื่นเจ็บปวด อาจเป็นสาเหตุของโรคประสาทชนิด ยํ้าคิดยํ้าทํา (obsessive - compulsive) ได้

  5.3 ระยะพึงพอใจในอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3-6 ขวบ หมายถึง ความสนใจของเด็กจะ

เปลี่ยนมาสนใจเกี่ยวกับอวัยวะเพศ มักถามว่าตนเกิดมาจากไหน ฯลฯ ในขั ้นนี ้เด็กจะรักพ่อแม่ที่เป็ นเพศตรงข้ามกับตน

และลักษณะเช่นนี ้ทําให้เด็กเลียนแบบบทบาททางเพศจากพ่อหรือแม่ที่เป็ นต้นแบบ หากพ่อแม่ปฏิบัติตามบทบาทที่ดี

เหมาะสมเป็ นตัวแบบที่ดี เด็กก็จะเลียนแบบและพัฒนาบทบาททางเพศของตนได้อย่างดี ในระยะนี ้มีปรากฏการณ์ที่

สําคัญ คือ ปมออดิปุส (Oedipus complex) เป็ นปรากฏการณ์ที่เด็กชายมีความรู้สึกทางเพศ รักและผูกพันแต่แม่

ขณะเดียวกันก็มีความรู้สึกเกียจพ่อซึ่งเป็ นผู้มาแย่งความรักจากแม่ไป ส่วนเด็กหญิงก็ทํานองเดียวกัน เด็กหญิงจะมี

ความรู้สึกทางเพศ รักและผูกพันกับพ่อ ขณะเดียวกันก็มีความรู้สึกเกียจแม่ซึ่งเป็ นผู้มาแย่งความรักจากพ่อไป ความรู้สึก

เช่นนี้จะหมดไปเมื่อเด็กชายหันมาเลียนแบบพ่อได้ และสะสมบุคลิกภาพและความเป็ นชายของพ่อเข้าไว้ในตนเองเพื่อให้

แม่รัก เพราะรู้ว่าตนไม่สามารถเอาชนะพ่อได้และกลัวว่าพ่อจะมาตัดอวัยวะเพศของตนออกไป ส่วนเด็กหญิงก็

เช่นเดียวกันหันมาเลียนแบบแม่และถ่ายทอดความเป็นหญิงจากแม่เพื่อให้พ่อรัก การสิ้นสุดของ Oedipus complex

คือ จุดเริ่มต้นของการเกิด Super Ego บางคนมีบุคลิกภาพที่สืบเนื่องมาจากพัฒนาการระยะนี้ เด็กชายบางคนอาจเกิด

ความภาคภูมิใจ เด็กหญิงอาจรู้สึกเกลียดตัวเอง เด็กที่ติดนิสัยชอบการแข่งขันมักจะมีความกล้าหาญแบบมุทะลุ หรือ

เด็กที่หวาดกลัวจะถูกตัดอวัยวะเพศติดมามักจะขี้ขลาด บุคลิกภาพบางประการ เช่น ความเรียนง่าย ความรักนวลสงวน

ตัว และความสําส่อน เหล่านี้เป็นสิ่งที่เด็กเลียนแบบมาจากพ่อแม่ และถ้าเกิดการติดตรึง (Fixation) ในขั้นนี้ อาจ

ก่อให้เกิดปัญหาผิดปกติทางเพศได้ เช่น รักร่วมเพศ (Homosexuality) กามตายด้าน (Impotence) ชาเย็นทางเพศ

  5.4 ระยะความต้องการแฝง (Latency Stage) อายุ 7-14 ปี เป็ นวัยเข้าโรงเรียน วัยนี้ดูภายนอก

ค่อนข้างเงียบสงบ หลังจากผ่านระยะ Oedipus complex มาแล้ว ความรู้สึกพอใจทางเพศจะถูกเก็บกดเอาไว้ เด็กจะ

เริ่มออกจากบ้านไปสังคมภายนอก เช่น สังคมในโรงเรียน เด็กจะมีกิจกรรมใหม่ๆที่เพิ่มขึ ้น

  5.5ระยะข้ันวยัรุ่น (Genital Stage)อายุ 13-18 ขวบ หมายถึง เด็กหญิงจะเริ่มมีความสนใจ

เด็กชายและเด็กชายก็เริ่มมีความสนใจเด็กหญิงเป็ นระยะที่จะมีความสัมพันธ์ระหว่างเพศอย่างแท้จริง

การอธิบายสาเหตุของพฤติกรรมผดิปกติ

   1.การเสียสมดุลของ Id, Ego and Super Ego

 - Ego ไม่สามารถปรับสภาพให้เกิดความพอดีระหว่างความต้องการตามสัญชาตญาณ (Id) และการถูกตําหนิโดย

มโนธรรม (Super Ego) ได้ จึงเกิดความขัดแย้งในจิตใจ บุคคลจึงใช้กลไกป้ องกันทางจิตเป็ นทางออกเพื่อแก้ปัญหา

หากกลไกป้ องกันทางจิตถูกนํามาใช้อย่างไม่เหมาะสมก็อาจก็อาจทําให้เกิดพยาธิภาพในจิตใจได้

   2.การไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการในแต่ละขั้นตอนอย่างเหมาะสม

 - ทําให้เด็กเกิดความขัดแย้ง เด็กจะใช้พลังงานส่วนหนึ่งในการขจัดความขัดแย้งทําให้พลังในการปฏิบัติกิจกรรม

หลักในขั ้นต่อไปเหลือน้อยลง พัฒนาการทางจิตใจหยุดชะงัก (Fixation) ที่จุดนั ้น

 - เมื่อบุคคลเกิดปัญหาเมื่อเวลาต่อมา ก็มีแนวโน้มที่จะใช้กลไกป้ องกันทางจิตที่เคยหยุดชะงักอีก ทําให้การ

แสดงออกของพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับวัยและสภาพสังคม

 พยายามดึงข้อขัดแย้งที่อยู่ในระดับจิตไร้สํานึกขึ้นสู่ระดับจิตสํานึก

1. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดและระบายออกโดยเสรี(Free association) สิ่งใดผ่านเข้ามาในระดับจิตสํานึกก็พูดออกมา

2.การวิเคราะห์และแปลความฝัน (Dream analysis) ในเวลาหลับ Ego จะไม่ทํางานหรือทําในระดับที่ตํ่ามาก ดังนั้น

สิ่งที่อยู่ในระดับจิตไร้สํานึกจะปรากฏออกมาในระดับจิตสํานึกเป็ นความฝัน การให้บุคคลได้บอกเล่าความฝันเป็ นการได้

ระบายออก โดยผู้รักษาจะวิเคราะห์และแปลความฝันเพื่อให้การรักษาต่อไป

3.การสะกดจิต (Hypnosis)การสะกดจิต ภาวการณ์ผ่อนคลายอย่างลึก การทําให้บุคคลหนึ่งตกอยู่ในสภาวะยอมรับ

  1.พยาบาลควรต้องทําความเข้าใจกับการใช้กลไกทางจิตที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วย (maladaptive defense

mechanism) ได้อย่างถูกต้อง ช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจและยอมรับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของตน และลดการใช้

กลไกทางจิตให้น้อยลง ยอมรับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขได้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมผู้ป่วยให้มีการปรับตัวที่

  2.ในผู้ป่วยที่ต้องมีสัมพันธภาพที่ยาวนาน (Long - team relationship) พยาบาลต้องช่วยเหลือผู้ป่วยได้เรียนรู้ทําความเข้าใจกับความคิด (Thinking) ความรู้สึก (Feeling) และพฤติกรรมการแสดงออกตามค่านิยม (Values) ความเชื่อ

(Believes) ของผู้ป่วย และให้การยอมรับความต้องการของผู้ป่วยว่าเป็นคนที่มีความต้องการที่จะมีความสัมพันธ์

เช่นเดียวกับคนปกติ ทั่วไป ไม่ใช่เป็นการกระทําที่ผิดบาปหรือน่าอาย (Shame)

  3.ส่งเสริมและป้องกันปัญหาทางสุขภาพจิตแก่ผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน โดยการใช้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ

อบรมเลี้ยงดูบุตรด้วยความรัก ความอบอุ่นแก่พ่อแม่ ตามแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการทางบุคลิกภาพของฟรอยด์

ทฤษฏีจิตสังคมของอิริสัน (Psychosocial theory)

    อิริสันเป็นลูกศิษย์ของฟรอยด์ได้สร้างทฤษฏีขึ้นในแนวคิดของฟรอยด์ แต่ได้เน้นความสําคัญของทางด้าน

สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมด้านจิตใจ (Psycsological Environment) ว่ามีบทบาทในการพัฒนาการบุคลิกภาพ

มาก ความคิดของอิริสันต่างกับฟรอยด์หลายประการ เป็ นต้นว่าเห็นความสําคัญของEgo มากว่า Id และถือว่า

พัฒนาการของคนไม่ได้จบแค่วัยรุ่น แต่ต่อไปจนกระทั ้งวาระสุดท้ายของชีวิต ด้วยเหตุที่อิริสันเน้นกระบวนการทางสังคม

ว่าเป็ นจุดกระตุ้นหล่อหลอมบุคลิกภาพ เขาจึงได้เรียกทฤษฎีของเขาว่า เป็นทฤษฏีจิตสังคมของ (Psychosocial

theory)อิริสันเน้นว่า ลักษณะสัมพันธภาพที่บุคคลมีกับบุคลต่างๆ เช่น พ่อแม่ เพื่อน สามีภรรยา และความขัดแย้ง

ทางสังคมจิตใจ (Psychosocial Crises) ซึ่งความขัดแย้งนี้เกิดจากความสัมพันธ์ที่คนมีกับบุคคลที่เป็นศูนย์กลาง ความ

ผูกพัน ถ้าบุคคลสามารถแก้ไขภาวะวิกฤติและความขัดแย้งได้ด้วยดีพอสมควรก็ทําให้เกิดลักษณะบุคลิกภาพที่พึง

ประสงค์เรื่อยไปตามลําดับขั ้น ซึ่งส่งผลคือ มีโครงสร้างบุคลิกภาพที่มั่นคง

ตารางสรุปทฤษฏี Psychosocial Crises 8 ขั้นตอน

  -สัมพันธภาพระหว่างกลุ่มบุคคลที่เป็นศูนย์กลาง

  -ความผูกพันอารมณ์และจิตใจความขัดแย้งทางสังคมและจิตใจ(Psychosocial Crises)

  -แก้ไขภาวะขัดแย้งไม่ได้ในแต่ละขั้นตอน (Unresolved Conflicts)

  -แก้ไขภาวะขัดแย้งได้ในแต่ละขั้นตอน(Resolved Conflicts)

  -บุคลิกภาพที่ไม่มั่นคงตามวัยหรือบุคลิกภาพที่มีปัญหา

  -บุคลิกภาพที่มั่นคงตามวัยหรือบุคลิกภาพที่พึงประสงค์

ทฤษฏีจิตสังคม (Psychosocial theory) 

    ได้แบ่งพัฒนาการของบุคลิกภาพออกเป็น 8 ขั้น

ขั้นที่ 1 ขั้นความไว้วางใจ-ความไม่ไว้วางใจ(Trust vs Mistrust) ซึ่งเป็นขั้นในวัยทารก อายุ 0-18 เดือน อิริสันถือ

ว่าเป็นรากฐานที่สําคัญของการพัฒนาในวัยต่อๆไป เด็กวัยทารกจําเป็นจะต้องมีผู้เลี้ยงดูเพราะช่วยตนเองไม่ได้ ผู้เลี้ยงดู

จะต้องเอาใจใส่เด็ก เด็กจะอยู่ด้วยความหวังว่าจะมีผู้ช่วยเหลือทุกครั้งที่ตนมีความต้องการของตนแล้วเด็กยังเชื่อในตนเอง

ว่ามีความสามารถที่จะใช้อวัยวะของตนเองช่วยตนเอง อิริสันได้กล่าวว่าความไว้วางใจเป็นรากฐานที่สําคัญของการ

พัฒนาการทางบุคลิกภาพ เด็กที่ขาดความไว้วางใจจะกลายเป็ นคนที่ก้าวร้าว ตีตัวออกจากสิ่งแวดล้อม

ถ้าเด็กได้รับความรักใคร่ที่เหมาะสม ทําให้เขารู้สึกว่าโลกนี้ปลอดภัย น่าอยู่ และไว้วางใจได้ แต่ถ้าตรงกันข้าม

เด็กก็จะรู้สึกว่าโลกนี้เต็มไปด้วยอันตรายไม่มีความปลอดภัย มีแต่ความหวาดระแวง หรือเป็ นคนไว้ใจคนง่ายเกินไป

ขั้นที่ 2 ขั้นความเป็นตัวของตัวเอง กับความระอายและสงสัย (Automonous vs Shame and Doubt)

อายุ18 เดือน - 3 ปี เด็กในวัยนี้จะเริ่มพัฒนาความเป็นตัวของตัวเอง รู้สึกว่าตนเองมีความสําคัญและอยากเอาชนะ

สิ่งแวดล้อมหรืออํานาจที่มีอยู่ พ่อแม่จึงควรระวังในเรื่องของความสมดุลในการเลี้ยงดู ควรให้โอกาสและกําลังใจต่อเด็ก

เด็กจะพัฒนาความเป็ นตัวเอง มีความมั่นใจ รู้สึกอิสระที่จะควบคุมตนเอง แต่ถ้าพ่อแม่ไม่ให้โอกาสหรือทําแทนเด็กทุก

อย่าง เด็กจะเกิดความคลางแคลงในใจในความสามารถของตนเอง

ขั้นที่ 3 ขั้นความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด (Initiative vs Guilt) วัยเด็กอายุประมาณ 3-6 ปี อิริสันเรียกวัยนี้ว่าเป็น

วัยที่เด็กมีความคิดริเร่มอยากจะทําอะไรด้วยตนเอง จากจินตนาการของตนเอง การเล่นสําคัญมากสําหรับวัยนี้เพราะเด็ก

จะได้ทดลองทําสิ่งต่างๆจะสนุกจากการสมมุติของต่างๆ เป็ นของจริง อย่างไรก็ตามเด็กก็ยังพยายามที่จะเป็ นอิสระ

พึ่งตนเองอยากจะทําอะไรเองไม่พึ่งผู้ใหญ่ เป็นวัยที่เด็กจะเลียนแบบจากผู้ใหญ่ ทั้งด้านการพูดและการกระทํา การมีส่วนร่วมในกิจกรรมตลอดถึงการใช้ภาษาจะช่วยให้เด็กเกิดแง่คิดในการวางแผนและการริเริ่มทํากิจกรรม

ต่างๆก็จะเป็นการส่งเสริมทําให้เขารู้สึกต้องการที่จะศึกษาค้นคว้าต่อไปเด็กก็จะมีความคิดริเริ่ม แต่ในทางตรงกันข้ามถ้า

ผู้ใหญ่คอยเข้มงวด ไม่เปิดโอกาสให้เดก็ ตา หนิอย่ตู ลอดเวลา เขาก็จะรู้สึกผิดเมื่อคิดจะทําสิ่งใดๆ นอกจากนี ้เขาก็

จะเริ่มเรียนรู้บทบาททางเพศมาตรฐานทางศีลธรรมและการควบคุมอารมณ์

ขั้นที่ 4 ขั้นความขยันหมั่นเพียรกับความรู้สึกต้อยต่ำ (Industy vs Inferiority) อายุ6-12 ปี

เด็กในวัยนี้จะเริ่มเข้าเรียนและต้องการเป็นที่ยอมรับของผู้อื่น มีพัฒนาการทางด้านความขยันขันแข็งโดย

พยายามคิดทํา คิดผลิตสิ่งต่างๆ ให้เหมือนผู้ใหญ่ด้วยการทุ่มเททั ้งกําลังกายและกําลังใจถ้าเขาได้รับคําชมเชยก็จะเป็ น

แรงกระตุ้นให้เกิดกําลังใจ มีความมานะพยายามมากขึ้น แต่ถ้าตรงกันข้ามเด็กไม่ได้รับความสนใจ หรือผู้ใหญ่แสดง

ออกมาให้เขาเห็นว่าเป็นการกระทําที่น่ารําคาญเขาก็จะรู้สึกตํ่าต้อย

ขั้นที่5 ขั้นพบอัตลักษณ์ของตนเองกับความสบสนในบทบาท (Identity vs role confusion)

อิริสันกล่าวว่า เด็กในวัยนี ้มีอายุระหว่าง 12-18 ปี จะรู้ สึกตนเองว่ามีการเจริญเติบโต โดยเฉพาะทางด้าน

ร่างกายเหมือนกับผู้ใหญ่ทุกอย่าง ร่างกายเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการเปลี่ยนแปลงทางเพศทั ้งชายและหญิง เด็ก

วัยรุ่นจะมีความรู้สึกในเรื่องเพศและบางคนเป็ นกังวลต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วประกอบการพัฒนาทางด้าน

สติปัญญาเด็กวัยรุ่นก็เริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ ดังนั ้น เด็กวัยรุ่นจะตั ้งคําถามถามตนเองว่า ฉันคือใคร(Who am I ?) และคิด14

ว่าถ้าโตเป็ นผู้ใหญ่แล้วจะประกอบอาชีพอะไร เด็กวัยรุ่นส่วนมากยังมีความสบสนและไม่แน่ใจ และเป็ นผู้ใหญ่หรือ

บางครั ้งก็อยากเป็ นเด็ก อยากจะตัดสินใจทําอะไรเอง เวลาผู้ใหญ่ห้ามมักจะไม่พอใจ เด็กวัยนี ้มักจะเป็ นห่วงว่าคนอื่นคิด

อย่างไรต่อตนเหมือนกับที่ตนคิดว่าตนคือใคร เด็กวัยรุ่นมักจะมีความกังวลในใจกลัวว่าจะไม่เป็ นที่ยอมรับของเพื่อนรุ่นราว

คราวเดียวกันเด็กจะจริงจังในการคบเพื่อนและค่อนข้างมีอุดมการณ์เป็ นของตนเอง ข้อสําคัญที่สุด เด็กวัยนี ้ควรจะมี

อัตภาพหาอัตลักษณ์ของตนเองได้ (Ego Identity)ถ้าเขาค้นหาตัวเองได้ เขาก็จะแสดงบทบาทของตนเองได้อย่าง

เหมาะสม แต่ถ้าตรงกันข้ามเขาค้นหาเอกลักษณ์ของตนไม่พบเขาจะเกิดความสับสนและแสดงบทบาทที่ไม่เหมาะสม

หรือไม่สอดคล้องกับตนเอง คือเป็ นคนไม่มีหลักการของตนเอง ไม่รู้ว่าตนเองต้องการอะไรก็มักจะเลียนแบบผู้อื่น

ขั้นที่6 ขั้น ความผูกพันใกล้ชิดสนิทสนมกับการแยกตัวความรู้สึกเปล่าเปล่ียว(Intimacy vs Isoation)

วัยนี้เป็นวัยผู้ใหญ่ระยะต้น (Young Aduldhood) อายุ 20-40 ปี เป็ นวัยที่ทั ้งชายและหญิงเริ่มที่จะรู้จัก

ตนเองว่ามีจุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร เป็ นวัยที่พร้อมจะมีความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศในฐานะเพื่อนสนิทที่จะเสียสละ

ให้กันและกันได้รวมทั ้งสามารถยินยอมเห็นใจซึ่งกันและกัน และมีความคิดตั ้งต้นเป็ นหลักฐานหรือคิดสนใจที่จะแต่งงานมี

บ้านของตนเอง อย่างไรก็ตามคนในวัยนี ้ ส่วนมากยังไม่อยากที่จะเชื่อมอัตภาพ(Fused Identity) กับใคร ชายหญิงที่

แต่งงานกันซึ่งสามารถเชื่อมอัตภาพจะไม่เพียงแต่มีความรักและสนิทสนมในฐานะสามีและภรรยาเท่านั ้น แต่หมายถึงการ

ยอมรับอัตภาพ(Identity)ของกันและกันโดยไม่คิดว่าจะสูญเสียอัตภาพของตน ฉะนั ้นถ้าแต่งงานก็จะอยู่ด้วยกันอย่างมี

ความสุขตรงข้ามกับผู้ที่มาสามารถเชื่อมอัตภาพมักจะจบชีวิตการแต่งงานด้วยการหย่าร้าง เป็นขั้นของการพัฒนาทางด้านความรัก ความผูกพัน เมื่อบุคคลสามารถค้นพบเอกลักษณ์ของตนเองได้แล้ว ก็

เกิดความรู้สึกต้องการมีเพื่อนสนิทที่รู้ใจสามารถปรับทุกข์ซึ่งกันและกันได้ ตลอดถึงแสดงความยินดีและเสียสละให้แก่กัน

แต่ถ้าพัฒนาการในช่วงนี ้ล้มเหลวไม่สามารถสร้างความรู้สึกเช่นนี ้ได้ เขาก็จะขาดเพื่อนสนิทหรือเกิดความรู้สึกต้องการจะ

ชิงดีชิงเด่น ชอบทะเลาะกับผู้อื่น รู้สึกว้าเหว่เหมือนถูกทอดทิ ้งซึ่งจะนําไปสู่การแยกตัวเองและดําเนินชีวิตอย่างโดดเดี่ยว

ขั้นที่ 7 ขั้นการท าประโยชน์ให้สังคมกับการคิดถึงแต่ตัวเอง (Generativity vs Self-Absorption)

 อายุ60-70 ปีเป็ นช่วงของวัยกลางคน ซึ่งมีความพร้อมที่จะสร้างประโยชน์ให้สังคมเต็มที่ ถ้าพัฒนาการแต่

ละขั ้นตอนดําเนินไปด้วยดี มีการรับผิดชอบเอาใจใส่ต่อบุตรหลานให้มีความสุข มีการอบรมสั่งสอนบุตรหลานให้เป็ นคน

ดีต่อไปในอนาคต แต่ถ้าตรงกันข้ามก็จะไม่ประสบผลสําเร็จ เขาจะเกิดความรู้สึกท้อแท้เบื่อหน่ายชีวิต คิดถึงแต่ตนเอง

ขั้นที่ 8 ขั้นความมั่นคงทางจิตใจกับความสิ้นหวัง (Integrity vs Despair) อายุประมาณ 60 ปี ขึ้นไป

 เป็นช่วงของวัยชราซึ่งเป็นวัยสุดท้าย ถ้าบุคคลผ่านขั้นตอนต่างๆมาด้วยดีก็จะมองอดีตเต็มไปด้วยความสําเร็จ

มีปรัชญาชีวิตตนเอง ภูมิใจในการถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆให้แก่ลูกหลาน แต่ถ้าตรงข้ามกันชีวิตมีแต่ความล้มเหลว

ก็จะเกิดความรู้สึกสิ้นหวังในชีวิต เสียดายเวลาที่ผ่านมาไม่พอกับชีวิตในอดีตไม่ยอมรับสภาพตนเอง เกิดความคับข้องใจ

ต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ขาดความสงบสุขในชีวิต

    ทฤษฏีของอิริสันเป็นทฤษฏีที่อธิบายพัฒนาการของชีวิตตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยชรา อิริสันเชื่อว่าวัยแรกของ

ชีวิตเป็นวัยที่เป็ นรากฐานเบื้องต้นและวัยต่อๆมาก็สร้างจากรากฐานนี้เหมือนกับการสร้างบ้านจะต้องมีรากฐานที่ดี ถ้า

รากฐานไม่ดีจะต้องหาทางแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้บ้านอยู่อย่างสบาย แข็งแรง ไม่ล้ม สําหรับชีวิตของคนก็เช่นเดียวกัน ถ้า

หากในวัยทารกเด็กทารกได้รับการดูแลอย่างดีและอบอุ่นก็จะทําให้เด็กมีความเชื่อถือในผู้อื่นที่อยู่รอบๆ ตั ้งแต่บิดา 15

มารดา พี่เลี้ยง และเมื่อใดโตขึ ้นก็จะเป็ นคนที่รู้สึกว่าตนเองมีสมรรถภาพที่จะทําอะไรได้(Competence) และนอกจากจะ

มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่นสามารถที่จะยอมรับสิ่งที่ดีและสิ่งไม่ดีของตนเองและผู้อื่น สามารถที่จะสนิทสนมกับ

ผู้อื่นทั้งเพศเดียวกันและเพศตรงข้ามโดยสนิทใจ เมื่อเป็นผู้ใหญ่ก็จะเป็ นผู้เสียวละไม่เห็นแก่ตัว ดูแลผู้ที่เยาว์กว่า เช่น

ลูกหลานหรือนักเรียนเต็มใจที่จะช่วย ให้ความรู้ ถ่ายทอดศิลปวิทยาให้คนรุ่นหลัง และเมื่ออยู่ในวัยชราก็จะมีความสุข

เพราะได้ทําประโยชน์และหน้าที่มาอย่างเต็มที่แล้ว อิริสันถือว่าชีวิตคนเราแต่ละวัยมีปัญหาหรือประสบปัญหาบ้างเป็ น

ธรรมดา แต่บางคนก็จะสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองและดําเนินชีวิตไปตามขั้น แต่บางคนก็อาจจะมีปัญหาที่อาจจะแก้

เองไม่ได้อาจจะต้องไปหาจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาเพื่อแก้ปัญหา แต่บุคลิกภาพของแต่ละบุคคลเป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลง

อยู่เสมอ และทุกคนมีโอกาสที่จะแก้ไขบุคลิกภาพของตนและผู้ใหญ่ที่อยู่แวดล้อมก็มีส่วนที่จะช่วยส่งเสริมหรือแก้ไข

บุคลิกภาพของผู้เยาว์ที่อยู่ในความดูแลให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสุข

การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลจิตเวช โดยการนําความรู้จากทฤษฏีมาทําความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลในแต่ละช่วงวัย และให้ความรู้แก่ผู้เลี้ยงดู/ผู้เกี่ยวข้องในการตอบสนองความต้องการทางสังคมให้แก่ผู้รับบริการได้อย่างเหมาะสม

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมี 2 แบบคืออะไร

1. การทาเปลมือ 2. การอุ้มหน้า - หลัง เหมาะสาหรับ... ผู้ป่วยที่รู้สึกตัวดี แต่ขาข้างใดข้างหนึ่งเจ็บ

หลักของการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีกี่ข้อ

๑. อย่าเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บโดยไม่จาเป็น ยกเว้นอาการไม่ปลอดภัยหรือ สถานการณ์ที่ เกิดเหตุไม่ปลอดภัย ๒. ห้ามเคลื่อนย้ายผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง โดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันกระดูกเคลื่อน ๓. ห้ามเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บโดยที่ยังไม่ได้แก้ไขส่วนที่บาดเจ็บ ๔. ห้ามทิ้งผู้ป่วยเจ็บที่หมดสติอยู่เพียงลาพัง เพราะอาจไม่สามารถ ...

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีความสําคัญอย่างไร

ความสาคัญของการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน 1. อยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งอาจเกิดอันตรายเพิ่มหากไม่ทาการเคลื่อนย้าย 2. มีภาวะคุกคามต่อชีวิตที่ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน 3. เพื่อนาส่งหรือรับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมกับโรค หรือภาวะที่ผู้ป่วยเป็นอยู่

ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์หลักของการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

วัตถุประสงค์ของการเคลื่อนย้าย 1. เพื่อช่วยเคลื่อนย้ายออกจากสถานที่ที่ท าให้เกิดอันตราย เพิ่มขึ้น 2. เพื่อย้ายไปในสถานที่ที่ให้การช่วยเหลือได้สะดวก ปลอดภัย 3. เพื่อส่งต่อให้ได้รับการรักษาโดยเร็วที่สุด