มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545

Authorวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย Titleมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ.2545 / คณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สนับสนุนโดย การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคImprint กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย, 2545Descript 1 เล่ม (หน้าไม่เรียงลำดับ)

สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์  ได้นำกฎการเดินสายและการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า พ.ศ.  2538 ของการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และแนวปฏิบัติในการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ พ.ศ. 2537 ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟน.) มาพิจารณารวมเป็นมาตรฐานเดียวกันโดยความเห็นชอบจากการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 และปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2551 ได้ใช้งานมาระยะหนึ่งนั้น ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านวัสดุ อุปกรณ์ และการติดตั้งเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะไฟฟ้ามาตรฐานการผลิตสายไฟฟ้าที่จัดทำโดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 11-2553 ทำให้มีความจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงมาตรฐานฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2556 จึงอาจทำให้หลายหน่วยงานที่อ้างอิงมาตรฐานฯ นี้เกิดความสับสนว่าการอ้างอิงที่ระบุไว้แต่เดิมนั้นยังคงสามารถใช้กับมาตรฐานฯ ฉบับใหม่นี้ได้หรือไม่ ในการอ้างอิงนั้นให้ยึดถือชื่อ “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย” เป็นหลักโดยให้ถือว่า พ.ศ. ที่ต่อท้ายมาตรฐานฯ นั้นเป็นเพียงส่วนเสริมที่ใช้แสดงปีที่จัดทำเท่านั้น ในการอ้างอิงให้ถือตามฉบับล่าสุด

มาตรฐานฉบับนี้บังคับใช้เฉพาะผู้ใช้ไฟเท่านั้น มิได้บังคับครอบคลุมการออกแบบหรือติดตั้งของการไฟฟ้า มาตรฐานฉบับนี้เหมาะสำหรับผู้ที่ได้รับการอบรม หรือผู้ที่มีความรู้ทางด้านการออกแบบหรือติดตั้งระบบไฟฟ้าเป็นอย่างดีเท่านั้น ผู้ใช้มาตรฐานควรใช้อย่างระมัดระวัง

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พิมพ์ขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2545 ได้มีการปรับปรุงครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2551 ได้ใช้งานมาแล้วระยะหนึ่งนั้นปัจจุบันเทคโนโลยีด้านวัสดุ อุปกรณ์ และการติดตั้งเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะมาตรฐานการผลิตสายไฟฟ้าที่จัดทำโดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณพ์อุตสาหกรรม มอก.11-2553 ประกอบกับมีข้อบกพร่องบางประการที่ตรวจพบ ทำให้มีความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฯ ฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2556

ในการอ้างอิงมาตรฐานฯ นี้เกิดความสับสนว่าการอ้างอิงที่ระบุไว้แต่เดิมนั้นยังคงสามารถใช้กับมาตรฐานฯ ฉบับใหม่นี้ได้หรือไม่ คณะอนุกรรมการฯ จึงมีความเห็นว่า ในการอ้างอิงนั้นให้ยึดถือชื่อ “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย” เป็นหลักโดยให้ถือว่า พ.ศ. ที่ต่อท้ายมาตรฐานฯ นั้นเป็นเพียงส่วนเสริมที่ใช้แสดงปีที่จัดทำเท่านั้น ในการอ้างอิงให้ถือตามฉบับล่าสุด นอกจากจะระบุไว้เพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่งโดยเฉพาะเท่านั้น

ISBN : 978-616-396-059-7 ม.ติดตั้งทางไฟฟ้าฯ 2564 / วสท ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2565 จำนวนหน้า 378 หน้า ราคา 500 บาท

รายละเอียดสินค้า มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ.2564/วสท

ชื่อหนังสือ  มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ.2564

ชื่อผู้แต่ง     วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

ISBN          978-616-396-059-7

ปีที่พิมพ์      ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2565  

จำนวน        5000  เล่ม

จำนวน        378  หน้า

ราคา           500  บาท

บทนำในการพิมพ์ปรับปรุง พ.ศ.2564

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า สำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 ได้ใช้งานมาแล้วระยะหนึ่งนั้น ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านวัสดุ อุปกรณ์ การติดตั้ง และมาตรฐานที่ใช้อ้างอิงเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะมาตรฐานการผลิตสายไฟฟ้าที่จัดทำโดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 11-2553 และ มอก. 11 เล่ม 101-2559 ประกอบกับมีข้อบกพร่องบางประการที่ตรวจพบ ทำให้มีความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฯ นี้ขึ้น มาตรฐานฉบับนี้มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ บทที่ 7 บริเวณอันตราย ซึ่งมีเนื้อหามากจึงจำเป็นต้องแยกออกเป็นอีกเล่มต่างหาก โดยในฉบับนี้จะยังคงไว้เฉพาะฉบับย่อเท่านั้น และบทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า ย้ายไปไว้ในบทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า ดังนั้นบทที่ 11 จึงว่างไว้

เนื่องจากมาตรฐานฯ นี้พิมพ์ขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2545 มีการปรับปรุง เมื่อ พ.ศ.2551 และ 2556 ปัจจุบันเป็นฉบับพ.ศ. 2564 จึงอาจทำให้หลายหน่วยงานที่อ้างอิงมาตรฐานฯ นี้เกิดความสับสนว่าการอ้างอิงที่ระบุไว้แต่เดิมนั้นให้ยึดถือชื่อ "มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย" เป็นหลักโดยให้ถือว่าพ.ศ.ที่ต่อท้ายมาตรฐาน ฯ นั้นเป็นเพียงส่วนเสริมที่ใช้แสดงปีที่จัดทำเท่านั้น ในการอ้างอิงให้ถือตามฉบับล่าสุด นอกจากจะระบุไว้เพื่อจุดประสงค์ใดจุดดประสงค์หนึ่งโดยเฉพาะเท่านั้น

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย คืออะไร

รหัสมาตรฐาน EE 2001-56 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556. เกี่ยวกับมาตรฐาน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย ณ ปัจจุบันคือปี พ.ศ. ใด

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.. 2545 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 ..2551 ได้ใช้งานมาแล้วระยะหนึ่งนั้น ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านวัสดุ อุปกรณ์ และการติดตั้ง เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะมาตรฐานการผลิตสายไฟฟ้าที่จัดทำโดยสำนักงานมาตรฐาน

มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าในประเทศไทยอ้างอิงมาตรฐานใด

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556. มาตรฐาน NFPA 70 National Electrical Code (NEC)

มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งทางไฟฟ้าแบ่งออกเป็นกี่มาตรฐาน

มาตรฐานทางไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งทางไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ไฟฟ้า เป็นมาตรฐานที่ใช้สำหรับทดสอบวัสดุอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า ซึ่งหน่วยงานที่รับผิดชอบในประเทศไทยคือ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) และมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า สำหรับประเทศไทยมีมาตรฐานที่สำคัญคือ มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า ...