Setting 0น องฮาร ทบร มsfollowing 4น องฮาร ทบร มsfollowersfollowpage ของ

ค่มู ือนิสิต คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา

ฉบับ พ.ศ. 2565

สารบัญ 1 1 มหาวทิ ยาลยั บรู พา 2 ประวตั คิ ณะเภสชั ศาสตร์ 2 การดารงตาแหนง่ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ 2 วสิ ัยทศั น์ 2 พนั ธกจิ 3 ค่านิยม/วัฒนธรรมองคก์ ร 3 อัตลักษณ์ 3 เอกลกั ษณ์ 3 คุณลกั ษณะบัณฑติ ที่พึงประสงค์ 3 แผนยทุ ธศาสตร์ 4 ตน้ ไมป้ ระจาคณะ 4 ตราสัญลกั ษณ์คณะเภสัชศาสตร์ 5 โครงสรา้ งการบริหารงาน 6 กรรมการประจาคณะเภสัชศาสตร์ 10 สารผู้บรหิ าร 12 สารประธานสาขา 15 คณาจารย์ 15 สานักงานคณบดี 16 สถานปฏิบัตกิ ารเภสชั กรรมชมุ ชน 16 สารนายกสโมสรนิสิต ประจาปกี ารศึกษา 2565 18 คณะกรรมการสโมสรนสิ ติ ประจาปกี ารศึกษา 2565 44 หลกั สูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563 44 45 - แนวทางการฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน และการสอบใบประกอบวชิ าชีพเภสชั กรรม 60 62 - รายวิชาทนี่ ิสติ ตอ้ งผา่ นก่อนการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านวชิ าชพี เภสชั กรรม 62 หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ครอ่ื งสาอางฯ 63 ทุนการศึกษา/แหลง่ กยู้ ืม 64 หลกั สตู รอืน่ ๆ 64 ขั้นตอนการร้องทกุ ข์/รอ้ งเรียนโดยนสิ ิตเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 65 การแตง่ กายของนิสติ 65 เวบ็ ไซต์ท่ีเก่ยี วข้อง 67 เบอร์ติดต่อคณะเภสัชศาสตร์ 71 อาคาร 10 ปี เภสชั ศาสตรบ์ รู พา 81 คาถามทพ่ี บบอ่ ย ประมวลภาพกจิ กรรม ขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลยั บรู พา วา่ ด้วยวนิ ยั นสิ ิต พ.ศ. 2563 ข้อมูลนิสติ

ค่มู ือนิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

มหาวทิ ยาลยั บรู พา 1

ปรชั ญา : สรา้ งเสรมิ ปญั ญา ใฝห่ าความรู้ คู่คุณธรรม ช้ีนาสงั คม คาขวญั : สุโข ปญญฺ าปฏิลาโภ - ความได้ปัญญา ใหเ้ กิดสขุ วสิ ยั ทศั น์ : มหาวทิ ยาลัยบรู พา ขุมปญั ญาตะวันออก

W.E. (Wisdom of the East) BURAPHA อตั ลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบรู พา : ใฝเ่ รียนรู้ จติ อาสา พฒั นาสังคม เอกลักษณข์ องมหาวทิ ยาลยั บรู พา : เป็นแหลง่ เรียนรศู้ าสตร์ทางทะเลของประชาคมอาเซียน

ประวัติคณะเภสชั ศาสตร์

ด้วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ อุปถัมภ์ (อธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา) มีความคิดริเร่ิม ท่จี ะให้มหาวทิ ยาลยั บูรพามีคณะเภสชั ศาสตรเ์ พื่อเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งใหก้ ับกล่มุ คณะทางด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยบูรพา โดยมีการแต่งต้ังคณะกรรมการโครงการจัดตั้งคณะ เภสัชศาสตร์ และร่างหลักสตู รเภสัชศาสตรบณั ฑิตข้ึน ในวันที่ 24 มิถุนายน 2552 ซ่ึงมีเภสชั กร รองศาสตราจารย์ ดร.มณฑล สงวนเสริมศรี (อดีตคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ และอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร) เป็นประธานกรรมการ และรองศาสตราจารย์ ดร.เรณา พงษ์เรืองพันธุ์ (รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา) เป็นรองประธานกรรมการ พร้อมด้วยคณาจารย์ จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และบุคลากรของมหาวิทยาลัยบูรพาเป็นกรรมการ จากน้ัน สภามหาวิทยาลัยบูรพาได้อนุมัติการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ เม่ือวันท่ี 25 กันยายน 2552 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 26 ตุลาคม 2552 โดยมีเจ้าหน้าท่ีจัด การศึกษาระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา วิจัย และบริการวิชาการด้านเภสัชศาสตร์ มีคณบดี เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในช่วงแรกของการก่อต้ัง มหาวิทยาลัยได้มอบหมายให้ ศาสตราจารย์ ดร.สมศักด์ิ พันธุวัฒนา (รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยมหาวิทยาลัยบูรพา) รักษาการในตาแหน่งคณบดี จนกระท่ัง วันท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2553 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ วัฒนาธร ดารงตาแหน่ง คณบดตี ามมตขิ องสภามหาวทิ ยาลยั

คู่มอื นิสติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

การดารงตาแหน่งคณบดคี ณะเภสชั ศาสตร์ 2

1. เภสัชกร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ วัฒนาธร ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ตั้งแต่วนั ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2553 ถงึ วันที่ 30 กนั ยายน พ.ศ. 2553

2. อาจารย์ เภสัชกรวิศิษฎ์ ตันหยง ดารงตาแหน่ง ผู้รักษาการแทนคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ตง้ั แต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึง 16 มีนาคม พ.ศ. 2554

3. เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร.สินธุ์ชัย แก้วกิติชัย ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ตง้ั แต่วันท่ี 17 มนี าคม พ.ศ. 2554 ถงึ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2559

4. อาจารย์ เภสัชกรวิศิษฎ์ ตันหยง ดารงตาแหน่ง ผู้รักษาการแทนคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ตั้งแตว่ นั ที่ 9 สงิ หาคม พ.ศ. 2559 ถึง 30 กนั ยายน พ.ศ. 2559

5. เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร.เอกรินทร์ สายฟ้า ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ตง้ั แตว่ ันท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2559 ถงึ 2 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2561

6. เภสัชกรหญิง รองศาสตราจารย์ ดร.มยุรี ตันติสิระ ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ตง้ั แต่วันที่ 3 มิถนุ ายน พ.ศ. 2561 ถงึ 8 ตลุ าคม พ.ศ. 2563

7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ทวีลาภ ตั๊นสวัสด์ิ ดารงตาแหน่ง ผู้รักษาการแทนคณบดี คณะเภสัชศาสตร์ ต้งั แต่วนั ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ถงึ 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563

8. เภสัชกรหญิง ดร.ณัฎฐิณี ธีรกุลกิตติพงศ์ ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ตั้งแตว่ ันท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 จนถงึ ปจั จบุ นั

วิสัยทศั น์

เภสัชศาสตรบ์ รู พา ขุมปญั ญาตะวนั ออกท่มี ีมาตรฐานสากล

พันธกิจ

๑. ผลิตบัณฑติ ที่มคี ุณธรรม จรรยาบรรณ และคณุ ภาพระดับสากล ๒. ผลิตและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยและนวตั กรรมท่มี ีคณุ ภาพ ๓. สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื กบั องค์กรทงั้ ในและต่างประเทศ ๔. พัฒนาศักยภาพวิชาชพี เภสัชกรรม ๕. ส่งเสรมิ ศิลปวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และอนุรกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ ม

คา่ นยิ ม/วัฒนธรรมองคก์ ร

ABC Attitude ทศั นคติดี Behavior พฤติกรรมเด่น Competency สมรรถนะเลศิ

ค่มู ือนสิ ติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา

อตั ลักษณ์ 3

ปรับตัว ทางานรว่ มกับผู้อ่ืน เรียนรตู้ ลอดชวี ติ

เอกลกั ษณ์

คลงั ปัญญา เภสัชศาสตร์แห่งอนาคต

คุณลกั ษณะบณั ฑิตทพี่ งึ ประสงค์

ดี เด่น เลิศ

แผนยทุ ธศาสตร์

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ออกแบบนโยบายและยุทธศาสตร์ เพ่ือให้ ผู้มีส่วนเก่ียวข้องสามารถมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนการดาเนินงาน ในลักษณะแพลตฟอร์ม (Platform) ความรว่ มมือตามเปา้ ประสงคข์ องการพฒั นาใน ๓ แพลตฟอรม์ ได้แก่

แพลตฟอร์ม ๑. การยกระดบั คุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล และการสร้างบุคลากรคณุ ภาพ สนองตอ่ ความต้องการของพน้ื ที่ภาคตะวนั ออก

แพลตฟอร์ม ๒. การเป็นกลไกในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมายและเป็นท่ีพ่ึงในการพฒั นา พื้นที่ภาคตะวันออกอยา่ งยั่งยืน

แพลตฟอร์ม ๓. การพฒั นาสอู่ งค์กรประสทิ ธิภาพสงู เพอ่ื การเตบิ โตอยา่ งย่งั ยนื 17

ตน้ ไม้ประจาคณะ

ตน้ พญายา

คู่มอื นสิ ิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

ตราสัญลกั ษณค์ ณะเภสชั ศาสตร์ 4

โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน

คณบดี

คณะกรรมการประจาคณะฯ

คณะกรรมการบริหารคณะฯ

รองคณบดี สาขาวชิ า สานักงานคณบดี หนว่ ยงาน - ฝา่ ยบริหารและวชิ าการ ประธานสาขาวชิ า รกั ษาการแทนหวั หน้าสานกั งานคณบดี รักษาการผ้จู ัดการ/หัวหนา้ - ฝา่ ยวิจัย บรกิ ารวชิ าการ - สาขาวิชาเทคโนโลยเี ภสชั กรรม - กลมุ่ งานบรหิ ารงานท่ัวไป - สถานปฏบิ ัติการเภสัชกรรมชุมชน และบัณฑติ ศึกษา - ฝา่ ยพัฒนานิสติ และฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชีพ - สาขาวิชาเภสชั กรรมปฏบิ ตั ิ - กลุ่มงานวิชาการ - ศนู ย์นวตั กรรมทางเภสัชศาสตร์ - ฝา่ ยวางแผนพฒั นาและกิจการพเิ ศษ และการบริบาล - กลมุ่ งานการเงนิ บญั ชี และพสั ดุ - สาขาวชิ าเภสชั กรรมสงั คม - กลุม่ งานนกั วทิ ยาศาสตร์ ผูช้ ว่ ยคณบดี - ฝา่ ยวิชาการ และบรหิ ารเภสัชกจิ - กลุ่มงานอาคารสถานที่ - ฝ่ายคลงั และทรพั ยส์ นิ - สาขาวชิ าเภสัชวทิ ยา และโสตทัศนูปกรณ์ และเภสชั ศาสตรช์ ีวภาพ

- สาขาวิชาเภสชั เวทและเภสชั เคมี

คมู่ ือนิสิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา

กรรมการประจาคณะเภสชั ศาสตร์ 5

1. เภสชั กรหญิง ดร.ณฎั ฐณิ ี ธีรกุลกติ ตพิ งศ์ ประธานกรรมการ กรรมการ 2. เภสชั กร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั ธัญ เจรญิ ศรีวิไลวัฒน์ (รองคณบดฝี ่ายบริหาร และวิชาการ) กรรมการ

3. เภสชั กร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.บญุ ดิศย์ วงศศ์ ักด์ิ กรรมการ (รองคณบดฝี า่ ยวิจยั บรกิ ารวิชาการ และบณั ฑิตศกึ ษา) กรรมการ 4. เภสัชกร ดร.ยทุ ธภมู ิ มปี ระดิษฐ์ (รองคณบดฝี า่ ยพฒั นานิสิตและฝกึ ปฏิบัติวชิ าชพี ) กรรมการ

5. เภสชั กรหญิง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมาวดี เปลี่ยนวงษ์ กรรมการ (รองคณบดฝี ่ายคลงั และทรัพย์สนิ ) กรรมการ 6. เภสัชกรหญิง ดร.พทุ ธพิ ร คงแก้ว (ผ้ชู ่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ) กรรมการ

7. เภสัชกรหญงิ ดร.ชามิภา ภาณุดุลกิตติ กรรมการ (ประธานสาขาวชิ าเภสชั กรรมสังคมและบริหารเภสชั กจิ ) ผู้ทรงคุณวฒุ ิ 8. เภสชั กรหญงิ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกิ านต์ แสงนมิ่ ผู้ทรงคณุ วุฒิ (ประธานสาขาวชิ าเทคโนโลยีเภสชั กรรม) ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ผทู้ รงคณุ วุฒิ 9. เภสัชกร ดร.อนุสรณ์ ธรรมพิทกั ษ์ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ (ประธานสาขาวิชาเภสชั วิทยาและเภสชั ศาสตร์ชวี ภาพ) ผู้แทนคณาจารย์ ผแู้ ทนคณาจารย์ 10. เภสัชกรหญงิ ดร.สพุ รรณิการ์ พรวฒั นกวี กรรมการและเลขานกุ าร (สาขาวิชาเภสชั กรรมปฏบิ ตั แิ ละการบรบิ าล)

11. เภสชั กร ศาสตราจารย์ ดร.พรศกั ดิ์ ศรีอมรศักด์ิ

12. เภสชั กรหญิง รองศาสตราจารย์ ดร.มยรุ ี ตันติสริ ะ

13. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พิชาญ สวา่ งวงศ์

14. อาจารยว์ ิรัช คารวะพทิ ยากุล

15. ดร.เกรียงศักดิ์ เทพผดุงพร

16. เภสัชกรหญิง ดร.เนตรชนก เจียงสบื ชาตวิ ีระ

17. อาจารย์ทศพล จิระสมประเสริฐ

18. เภสัชกร ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพงษ์ แจม่ สวา่ ง (รองคณบดฝี ่ายวางแผนพฒั นาและกิจการพิเศษ)

คมู่ ือนสิ ติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา

สารผู้บริหาร 6

เภสชั กรหญงิ ดร.ณฎั ฐณิ ี ธีรกลุ กิตติพงศ์ คณบดคี ณะเภสชั ศาสตร์

ขอแสดงความยินดีและต้อนรับนิสิตใหม่ทุกคนสู่คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ปัจจุบันคณะเภสัชศาสตร์ได้ผ่านการรับรองสถาบันเป็นระยะเวลา 5 ปี หลักสูตรเภสัชศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง 2563 ได้รับการรับรอง 7 ปี จากสภาเภสัชกรรมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในปี 2564 และหลักสตู รวทิ ยาศาสตร์ สาขาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครอื่ งสาอาง ได้เปดิ เป็น ทางการในปี ๒๕๖๕ เป็นก้าวยา่ งสู่ปที ่ี 1๓ กบั วิสยั ทศั น์ “เภสชั ศาสตร์บูรพา ขมุ ปญั ญาตะวนั ออก ท่ีมีมาตรฐานสากล” ท่ีสามารถแสดงถึงศักยภาพและขีดความสามารถที่คณะเภสัชศาสตร์ได้ทา หน้าที่ในการผลิตบัณฑิตสามารถนาความรู้ทางเภสัชกรรมการผลิตยาทีม่ ีเทคโนโลยที ี่ทันสมยั และ ทักษะเภสัชกรรมด้านการบริบาล รวมถึงด้านชุมชนมาใช้ในการทางานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพใน ดูแลและส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและรักษาโรค การใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพ และสมเหตุสมผล เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชน สังคมและประเทศชาติ ด้วยความรู้ ความสามารถ ของ คณาจารย์และความทุ่มเทเอาใจใส่ในการดูแลนิสิตและส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เพียงพอ และทันสมัย ตลอดจนบรรยากาศของมหาวิทยาลัย นาไปสู่ความสาเร็จในการผลิตบัณฑิตเภสัช ศาสตร์ที่มีผลการสอบใบประกอบวิชาชพี เภสชั กรรมเพ่มิ จานวนสูงขน้ึ ทุกปีและบัณฑิตทุกคนมีงาน ทาหลังสาเร็จการศึกษา โดยเป็นที่ยอมรับของผู้ประกอบการทัง้ ในระดับภูมิภาคและในระดับชาติ รวมไปถึงหลักสูตรท่ีเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรด้านศา สตร์ของความงามและเวชสาอาง ท่ีเป็นนวัตกรรมและอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตอย่างมากทั้งในด้านธุรกิจและเทคโนโลยี นอกจากนท้ี างคณะได้รบั เลือกให้เปน็ ทต่ี ้ังของศูนย์ทดสอบทางการแพทย์จีโนมิกส์ ประเทศไทยซ่ึง เป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมทางการแพทย์ครบวงจรของประเทศในพื้นที่ขอ งเขตอุตสาหกรรม ภาคตะวันออก (EEC) และศูนย์พัฒนายาจากสารสกดั พืชสมุนไพรและส่งเสริมการปลูกครบวงจร ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีนามาซ่ึงความภาคภูมิใจต่อคณะฯ และ มหาวิทยาลยั เป็นอย่างย่งิ

ในนามของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ดิฉันขออวยพรใหน้ สิ ิตใหม่ของคณะ ทุกคนประสบผลสาเร็จในการเรียนและการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย การจะเป็นเภสัชกรและ บคุ ลากรทด่ี ีในอนาคตนั้นทุกคนต้องเริ่มกา้ วแรกจากการเป็นนิสิตใหม่ท่ีตอ้ งแสวงหาความรู้ทั้งจาก หอ้ งเรยี น และห้องปฏิบัติการ ค้นคว้าหาความรู้ดว้ ยตนเองจากห้องสมุด และฝึกทางานรว่ มกนั กับ

คมู่ อื นิสติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา

เพอ่ื น ๆ รวมทั้งฝึกฝนพฒั นาตนเองในทุก ๆ ดา้ นทีค่ ณะวิชาได้เตรียมพร้อมให้นิสติ ขอให้นิสติ สนกุ 7 กบั การเรยี นรู้ เปิดใจรบั สงิ่ ใหม่ ๆ และปรับตัวไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ในการใช้ชีวติ ในอีก 6 ปี ข้างหน้า ของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต และ ๔ ปี ของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเครื่องสาอาง มหาวิทยาลัยบูรพา และสามารถจบการศึกษาในระยะเวลาท่ีกาหนด พร้อมความรู้ความสามารถอย่างเต็มเปี่ยมท่ีจะออกไปทางานเป็นบุคลากรที่มีบทบาทสาคัญและ เป็นที่พึ่งของสังคม ด่ังอัตลักษณ์ของบัณฑิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ว่า “เป็นบัณฑิตท่ีมีความสามารถในการปรับตัวกับสถานการณ์ ทางานร่วมกับผู้อื่น ๆ และสามารถ เรียนรไู้ ด้ตลอดชวี ิต”

เภสชั กร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐธญั เจริญศรวี ไิ ลวัฒน์ รองคณบดีฝา่ ยบริหารและวชิ าการ

“ยินดีต้อนรับ นิสิตชั้นปีที่ 1 ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ทั้งหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต และ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเครื่องสาอาง ในปีการศึกษานี้ อาจารย์ เชื่อใน ศกั ยภาพของนิสติ ใหม่ การเรยี นการสอนของคณะเภสชั ศาสตร์ จะหลอ่ หลอมใหน้ ิสิตกลายเปน็ คนดี เกง่ และสมรรถนะท่ีเป็นเลิศ เปน็ ผู้นาทางดา้ นเทคโนโลยใี หม่ ๆ ในโลกอนาคต มที ักษะในโลกศตวรรษท่ี 21 และสามารถเรียนรูต้ ลอดชีวติ ในระหว่างการศกึ ษา ในหลักสูตรขอใหน้ ิสิตคิดว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของคณะเภสัชศาสตร์แห่งน้ี มีความเชื่อมั่น ความ รกั ความผกู พนั กับคณะฯ และเราจะเตบิ โตไปด้วยกัน”

เภสชั กร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บญุ ดิศย์ วงศ์ศักดิ์ รองคณบดฝี ่ายวิจัย บรกิ ารวิชาการ และบณั ฑิตศึกษา

ขอแสดงความยินดีแด่นิสิตทุกท่านท่ีได้เข้ามาศึกษา ณ คณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา แห่งน้ี ถือเป็นการประสบ ความสาเร็จก้าวหน่ึงในชีวิต และยังมีอีกหลายก้าวที่จะได้ เดินทางร่วมกันไปในคณะแห่งน้ี จึงขออวยพรใหท้ ุกคนประสบ ความสาเร็จเฉกเช่นเดียวกับการสอบเข้ามาได้เป็นนิสิตในวันนี้ สร้างความภาคภูมิใจให้กับตนเองและครอบครัว ท่ีแห่งนี้ถือเป็นขุมปัญญาปัญญาแห่งภาค ตะวันออก ที่นิสิตจะไดใ้ ชช้ ีวิตเรียนรู้ ฝึกฝนและขดั เกลา ทัศนคติ พฤติกรรม และสมรรถนะต่าง ๆ ใหส้ มบรู ณพ์ รอ้ มก่อนทีจ่ ะสาเร็จการศึกษาออกไปสู่สังคมภายนอก การเรยี นในมหาวทิ ยาลัยถึงแม้ จะมีอุปสรรค ความยากลาบากอยู่บ้าง แต่ก็ขอให้จดจาไว้ว่าทุกอย่างเป็นการเรียนรู้ การเรียนรู้ ย่อมทาให้คนฉลาดและเกิดปญั ญา เม่อื มีปญั ญาแลว้ ย่อมมคี วามสามารถ สร้างสรรคป์ ระโยชน์เป็น ที่พึ่งให้แกต่ นเอง ผู้อ่ืนและสังคมได้ สุดท้ายนี้ขอให้ความสาเร็จก้าวแรกนี้ นามาสู่ความสาเร็จท่จี ะ เพม่ิ ข้ึนเรือ่ ย ๆ ในก้าวตอ่ ไปในอนาคตของนิสิตทกุ คน คณาจารย์ทุกทา่ นพรอ้ มที่จะช่วยเหลือและ ดูแลนสิ ติ ทุกคนเสมอ เพราะต่อไปนเ้ี ราคอื ครอบครัวเดยี วกัน คณะเภสัชบรู พา

คมู่ ือนสิ ติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

เภสชั กร ดร.ยุทธภูมิ มปี ระดษิ ฐ์ 8 รองคณบดฝี ่ายพฒั นานิสิตและฝึกปฏบิ ตั ิวิชาชีพ

ขอแสดงความยินดี และขอต้อนรับนิสิตใหม่ท่ีเข้ามาสู่ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ด้วยความชื่นชม การท่ี นิสิตสนใจเลือกเรียนคณะเภสัชศาสตร์ ท้ังหลักสูตร เภสัชศาสตรบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเคร่ืองสาอาง ก็เป็น นิมิตหมายอันดีของประเทศ ในช่วงระหว่างการศึกษา ขอเตือนให้นิสิตดูแล ป้องกันตนเอง อย่าลุ่มหลงไปในอบายมุขซึ่งอาจแฝงมาในรูปแบบของเกมส์คอมพิวเตอร์ การพนัน สิ่งมอมเมา ทั้งหลาย อันจะทาให้นิสิตหลงทางและเสียการเรียนได้ สุดท้ายนี้ขออานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และส่ิงศักด์ิสิทธ์ิอวยพรให้นิสิตทุกคนให้ต้ังใจเรียน และเรียนสาเร็จ มีความปลอดภัยในชีวิต และทรพั ย์สนิ ตลอดจนมคี วามเจริญรงุ่ เรอื งในวชิ าชีพสบื ไป

เภสชั กร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วัชรพงษ์ แจ่มสวา่ ง รองคณบดีฝ่ายวางแผนพฒั นาและกิจการพิเศษ

ขอแสดงความยินดีกับนิสิตใหม่ ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ท้ังหลักสูตรเภสัชศาสตร์บัณฑิต และ วิทยาศาสตร์บัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคร่ืองสาอาง ท่ีจะเข้ามาร่วมเป็นครอบครัวในรั้วเขียวมะกอก ที่อบอุ่นแห่งน้ี ซึ่งตลอดระยะเวลาการศึกษาที่นี้จะเป็นเสมือน บ้านอกี หลังใหก้ ับทุกคน ในบ้านหลังนี้ นิสติ จะไดร้ ับท้ังความรู้และประสบการณ์การใหม่ ๆ ซ่งึ ทาง คณะเภสัชศาสตร์ได้พยายามพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและเทคโนโลยีต่าง ๆ รวมถึง กิจกรรมให้มีความทันสมัยมีองค์ความรู้ที่ครบถ้วน เพ่ือให้นิสิตทุกคนมีความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์ท่ีสามารถนาไปใช้ได้จริง จากน้ีไปจะเป็นช่วงเวลาที่มีความสุขสนุกสนานไปกับ กิจกรรมต่าง ๆ ภายในคณะกับรุ่นพี่ และคณะจัดเตรียมไว้ให้ ร่วมถึงการเรียนการสอนทั้งในภาค บรรยายและภาคปฏิบัติการ เพื่อที่จะปูพ้ืนฐานให้กับนิสิตทุกคนออกไปฝึกประสบการณ์ใน การออกฝึกปฏิบัติงานในสายอาชีพของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้บางครั้งอาจจะรู้สึก เหนื่อยล้าและท้อแท้กับการเรียน ขอให้นิสิตทุกคนคิดถึงความฝันที่ตั้งใจเอาไว้ก่อนท่ีจะเข้ามา เรยี นในคณะน้ี เพ่ือเปน็ แรงฝา่ ฟนั ท่ที รงพลังและก้าวผา่ นความเหน็ดเหนอื่ ยนน้ั ไปได้ สดุ ทา้ ยขอให้ นิสติ ทกุ คนมคี วามสขุ ในบา้ นหลังน้ีและประสบความสาเรจ็ ตามท่ีต้งั ใจหวงั เอาไว้

ยิน เสียงสาดคล่ืนนา้ สดใส

ดี เดน่ เร่งเรียนไกล แจ่มจ้า

ต้อน รบั ยิง่ นอ้ งใหม่ เภสัช บูรพา

รบั คู่สขู่ วญั ขา้ เร่งรู้ เรียนเอย

คูม่ อื นิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา

เภสชั กรหญงิ ดร.พทุ ธพิ ร คงแก้ว 9 ผชู้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยวชิ าการ

ขอแสดงความยินดีและขอต้อนรับนิสิตใหม่รหัส 65 ทุกท่าน เข้าสู่ร้ัวเขียวมะกอก ปีน้ีเป็นปีท่ีน่ายินดีอย่างย่ิงท่ีนอกจากจะ ได้ต้อนรับนิสิตหลักสูตรเภสัชศาสตร์แล้วยังได้มีนิสิตหลักสูตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครื่องสาอางรุ่นแรกเข้าสู่คณะ จากน้ีไปขอให้นิสิตทุกคนได้เก็บเก่ียวประสบการณ์ทั้งด้าน soft skills และ hard skills ไปจากท่ีน่ีให้ได้มากที่สุด และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าทุกความสุข และ ความทุกข์ทจี่ ะเกดิ ข้ึนในรั้วเขียวมะกอกน้ีจะเปน็ ประสบการณ์และความทรงจาท่ีจะหล่อหลอมให้ ทุกคนได้เป็นบคุ คลากรท่ีดีทง้ั ด้านเภสัชศาสตร์และเคร่อื งสาอางไดใ้ นอนาคต ขอให้คณะ อาจารย์ บุคลากร และร่นุ พีท่ กุ คนไดร้ ่วมแบ่งปันความรกั ความอบอุ่น และเป็นสว่ นหนง่ึ ในความทรงจาท่ีดี ของน้องใหมร่ หสั 65 ทุกคนค่ะ

เภสชั บูรพา น้ันแจม่ จ้าและเจิดขวญั

น้องใหม่ร่วมสมั พันธ์ ทกุ คนนน้ั พลนั ยนิ ดี

อาจารยพ์ ร้อมต้อนรบั รนุ่ พีซ่ ัพพอรต์ เต็มที่

อบอ่นุ ในรวั้ นี้ เขยี วมะกอกบ้านของเรา

เภสชั กรหญงิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมาวดี เปล่ยี นวงษ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายคลังและทรพั ย์สิน

ขอต้อนรับนิสิตใหม่ทุกคนเข้าสู่รั้วของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ด้วยความยินดีเป็นอย่างยิ่ง คณะเภสัช ศาสตร์ของเรามคี วามต้ังใจ พรอ้ มที่จะเปน็ ทง้ั สถานทีใ่ ห้ความรู้ ก า ร ฝึ ก ทั ก ษ ะ ท า ง วิ ช า ชี พ เ ภ สั ช ก ร ร ม แ ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เคร่ืองสาอาง คณะเภสัชศาสตร์ พร้อมท่ีจะเป็นบ้านอีก หลังหนึ่งของนิสิตทุกคน การเดินทางในการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยต่อจากนี้ อาจจะทาให้นิสิตเหน่ือย และเครียดบ้าง แต่อาจารย์เชื่อว่า หากนิสิตทุกคนมีความต้ังใจ จะสามารถประสบความสาเร็จได้อย่างแน่นอน อาจารย์และบุคลากรทุกท่านในคณะยินดี ช่วยเหลือ และให้คาปรึกษาแก่นิสิตเสมอ อาจารย์หวังเป็นอย่างย่ิงว่า นิสิตใหม่ทุกคนจะสาเร็จ การศึกษาจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา แหง่ นี้ เป็นบัณฑิตที่ดี มีความรู้ มที กั ษะ และ ความสามารถ พรอ้ มทงั้ จรรยาบรรณในการประกอบอาชพี ในอนาคต

คู่มือนสิ ิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

สารประธานสาขา 10

เภสชั กรหญงิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกิ านต์ แสงนม่ิ สาขาวชิ าเทคโนโลยเี ภสชั กรรม

อ า จ า ร ย์ ข อ แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี แ ล ะ ข อ ต้ อ น รั บ นิ สิ ต ใ ห ม่ ข อ ง คณะเภสัชศาสตร์ ม.บูรพาทุกคน ขอให้พวกเรามุ่งมั่นตั้งใจ ในการเรียน และแบ่งเวลาในการทากิจกรรมอย่างเหมาะสม อาจารย์และรุ่นพ่ีทุกคนยินดีอย่างย่ิงท่ีจะคอยช่วยเหลือ และ สนับสนุนให้พวกเราผ่านช่วงเวลาการศึกษาเล่าเรียนที่ยากลาบากไปได้ ท่ีสาคัญขอใหใ้ ช้ชวี ิตในรว้ั มหาวิทยาลยั อย่างมีความสุข เก็บเก่ียวประสบการณ์การทางานร่วมผู้อนื่ ทั้งเพื่อน อาจารย์ รุ่นพี่ รุ่นน้อง จากทั้งสถาบนั เดยี วกันและตา่ งสถาบนั เพ่อื จะไดน้ าไปใชใ้ นการประกอบอาชีพตอ่ ไป

เภสชั กรหญิง ดร.สพุ รรณิการ์ พรวฒั นกวี สาขาวชิ าเภสัชกรรมปฏิบัตแิ ละการบรบิ าล

ถึงนสิ ิตที่กาลงั เขา้ เรียนในคณะเภสชั ฯ ม.บรู พา น้ี จะเป็นกาลัง สาคัญของวิชาชีพในอนาคต ขอให้มีความสุขกับการเรียนรู้ใน บ้านหลังนี้ องค์ความรู้เป็นส่วนสาคัญซ่ึงนิสิตสามารถมารับ จากคณะ ฯ น้ีท่ีอาจารย์ตั้งใจมอบให้อย่างเต็มท่ีอยู่แล้ว แต่สิ่ง สาคัญของงานในวิชาชีพท่ีนิสิตทุกคนควรจดจาและปฏิบัติตลอดไปคือ ความรับผิดชอบในหน้าที่ แบ่งเวลา เสียสละ ช่วยเหลือผู้อ่ืน มีน้าใจ อดทน กล้าแสดงออกในทางที่เหมาะสม ไม่แบ่งพรรค พวก เคารพผู้อ่ืนและสถานที่ เสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองต่อเนื่อง ทั้งหมดท่ีกล่าวมาสาคัญ และไม่อยากให้ลืมหรือล่ะทิ้งไปค่ะ จะทาให้นิสิตเติบโตอยู่ในวิชาชีพและสังคมอย่างมีความสุข ตลอดไปค่ะ

เภสชั กรหญิง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชามภิ า ภาณุดุลกติ ติ สาขาวชิ าเภสัชกรรมสังคมและบริหารเภสชั กจิ

ถงึ นิสติ ทีร่ กั ทุกทา่ น อาจารยข์ อแสดงความยินดแี ละขอตอ้ นรับ นิสิตทุกท่าน เข้าสู่คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ค่ะ ขอให้นิสิตใช้เวลาเรียนตลอดหลักสูตรดว้ ยความสุข ความสนุก และเก็บเกยี่ วความรู้ ประสบการณ์ รวมทั้งทกั ษะวิชาชพี อย่าง เตม็ ทนี่ ะคะ Enjoy your life :)

คู่มอื นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

เภสชั กร ดร.อนสุ รณ์ ธรรมพทิ ักษ์ 11 สาขาวชิ าเภสัชวิทยาและเภสชั ศาสตรช์ วี ภาพ

ข อ แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี แ ล ะ ยิ น ดี ต้ อ น รั บ นิ สิ ต เ ภ สั ช ศ า ส ต ร์ รุ่นท่ี 13 และนิสิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเคร่ืองสาอาง รุ่นท่ี 1 ทุก ๆ คน ต่อก้าวสาคัญของชีวิตสู่ระดับอุดมศึกษา ในคณะเภสัชศาสตร์ สีเขียวมะกอก แห่งร้ัวเทาทอง มหาวิทยาลัยบูรพา นับจากน้ีขอให้นิสิตทุกคนจงเก็บเกี่ยวประสบการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้าน การเรียน การทากิจกรรม และการใชช้ ีวิตในร้ัวมหาวิทยาลัยให้ได้มากที่สุด สุดท้ายน้ีขออาราธนา คุณพระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคตเจ้าจงปกป้องคุ้มครองให้นิสิตสาเร็จสัมฤทธ์ิผลใน การศึกษาตามที่มุ่งหวัง มีสุขภาพพลานามัยห่างไกลจากโรคาพยาธิ และภยันตรายทั้งปวง และขอฝากประโยคสุดท้ายน้ีให้แก่นิสิตทุกคน ดังว่า "ปริญญาทาให้คนมีงานทา กิจกรรมทาให้ คนทางานเป็น"

เภสชั กรหญงิ ดร.เนตรชนก เจยี งสบื ชาติวีระ สาขาวชิ าเภสัชเวทและเภสัชเคมี

ขอแสดงความยินดี และยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ทุกคนเข้าสู่ ครอบครัวเภสชั ศาสตร์บูรพา จากความมุ่งมนั่ และตัง้ ใจของทุก คนนั้นจะเป็นจดุ เริ่มต้นทดี่ ีสาหรบั การศึกษาในร้ัวมหาวิทยาลัย ต่อไป ตลอดระยะเวลา 6 ปี ต่อจากน้ี พวกเราจะได้มีโอกาส ศึกษาความรู้ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาชีพเภสัชกรรมท่ีจะนาพาไปสู่การเป็นเภสัชกรที่ดีในสาขา ต่าง ๆ ตามทีท่ กุ คนไดใ้ ฝฝ่ นั ไว้ ดว้ ยสถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา (โควดิ -19) ทาให้เราต้องปรับตัวในการเรียนรู้ การใช้ชีวิตในสังคมอยา่ งมาก แม้ว่าสถานการณ์จะดีข้นึ แต่เรา ทุกคนต้องต้ังอยู่บนความไม่ประมาท และเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็วในอนาคต การจะประสบความสาเร็จในการศึกษานั้นนิสิตจะต้องมีความขยันหม่ันเพียร ใฝ่เรียนรู้ อดทน รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ รู้หน้าที่ มีจิตสาธารณะ และอ่อนน้อมถ่อมตน หากนิสิตพบ ปัญหา รู้สึกท้อแท้ หมดหวังไม่รู้จะหาทางออกอย่างไร ให้นิสิตระลึกไว้เสมอว่ายังมีรุ่นพ่ี พ่ีเจ้าหน้าที่ และอาจารย์ทพี่ ร้อมจะยืนเคียงข้าง ยื่นมือให้ความช่วยเหลอื อยตู่ ลอดเวลา จะจับมือ พาใหน้ ิสติ กา้ วข้ามผ่านปญั หาเหลา่ นัน้ ไปได้ ท้ายนขี้ อใหน้ ิสติ ทกุ คนมีสขุ ภาพแขง็ แรงทง้ั กายและใจ มแี รงพลังในการศกึ ษา และมีความสุขกับการเรียนในร้วั เขียวมะกอกแหง่ น้ี

คูม่ อื นสิ ิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา

คณาจารย์ 12

ผู้บริหารและประธานสาขาวชิ า เบอร์ติดต่อ 038 - 390401 ตอ่ ด้วยหมายเลขภายใน 4 หลัก

สานักงานจัดการศึกษา

ภญ.ดร.ณัฎฐิณี ธรี กุลกิตติพงศ์ คณบดี 5001

ภก.ผศ.ดร.ณฐั ธัญ เจรญิ ศรีวไิ ลวฒั น์ รองคณบดีฝา่ ยบริหาร 5008 และวิชาการ

ภก.ผศ.ดร.บุญดศิ ย์ วงศ์ศกั ด์ิ รองคณบดฝี า่ ยวิจัย 5002

และบรกิ ารวชิ าการ และบณั ฑิตศึกษา

ภก.ดร.ยุทธภมู ิ มปี ระดิษฐ์ รองคณบดฝี า่ ยพฒั นานิสติ 5005 และฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี

ภก.ผศ.ดร.วัชรพงษ์ แจ่มสวา่ ง รองคณบดีฝา่ ยวางแผนพฒั นา 5004 และกจิ การพเิ ศษ

ภญ.ผศ.ดร.สมาวดี เปลย่ี นวงษ์ ผ้ชู ่วยคณบดฝี ่ายคลัง 5007 และทรัพยส์ ิน

ภญ.ดร.พุทธพิ ร คงแกว้ ผู้ชว่ ยคณบดฝี ่ายวชิ าการ 5003

สาขาวชิ าเทคโนโลยีเภสชั กรรม 5134 5008 ประธานสาขาฯ : ภญ.ผศ.ดร.ธนิกานต์ แสงนิ่ม 5031 ภก.ผศ.ดร.ณัฐธัญ เจรญิ ศรีวไิ ลวัฒน์ 5103 ภก.ผศ.ดร.วัชรพงษ์ แจ่มสวา่ ง 5059 ภญ.ผศ.ดร.อาภา เพชรสัมฤทธิ์ 5126 ภญ.ดร.นปภัช รัตนะชิตธวัช 5139 ภก.ผศ.ดร.ยศนนั ท์ วีระพล 5138 ภญ.ดร.สุกรรณิการ์ ทบั ทิมศรี 5052 ภก.รศ.ดร.ถิรพิทย์ สบุ งกช 5143 ภก.อ.พรรษพล เกดิ ทรพั ย์ ดร.กุลธิดา เหลอื งประดิษฐ์กุล

คู่มอื นิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

สาขาวชิ าเภสชั กรรมปฏบิ ตั ิและการบรบิ าล 13

ประธานสาขาฯ : ภญ.ดร.สุพรรณิการ์ พรวัฒนกวี 5069 ภก.ผศ.ดร.ณัฐวฒุ ิ ลลี ากนก 5144 ภญ.อ.สุธาบดี ม่วงมี 5071 ภญ.ผศ.ดร.จาฏพัจน์ เหมพรรณไพเราะ 5138 ภก.อ.ศริ พิ งศ์ ธนาพฒั นภ์ าคิน 5128 ภญ.ดร.พรทพิ ย์ พามนตรี 5177 ภญ.อ.ฐยิ าภา วรี ยาชาญกุล 5071 ภญ.อ.มารสิ า เสนงาม 5138 ภญ.อ.สพุ ิชา อินทรชุมนุม 5108 ภญ.อ.วรรณวรชั ญ์ อารยี ์ 5096 ภก.อ.ศุภกิต ป่นิ ทอง 5131 ภก.อ.บรรณวิชญ์ สภาพทรพั ย์ 5131 ภก.อ.กนั ตศ์ กั ด์ิ บุญภทั รฐติ ิ 5051 ภญ.อ.สมณัฐทัย แยม้ เม่น 5066

สาขาวชิ าเภสัชกรรมสังคมและบรหิ ารเภสัชกจิ 5113 5048 ประธานสาขาฯ : ภญ.ผศ.ดร.ชามิภา ภาณุดลุ กิตติ 5080 ภก.รศ.ดร.ฐิตินันท์ เออ้ื อานวย 5177 ภก.ดร.ยทุ ธภูมิ มีประดิษฐ์ 5053 ภก.ผศ.ดร.กฤตภาส กังวานรตั นกุล 5108 ภก.อ.ภาสกร ออ่ นนิม่ 5080 ภญ.ดร.ณฏั ฐณชิ ชา กลุ ธนชยั โรจน์ 5128 อ.ภกั ดี สขุ พรสวรรค์ ภก.อ.พงศพ์ ันธุ์ สรุ ยิ งค์

คู่มือนสิ ิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

สาขาวชิ าเภสชั วทิ ยาและเภสชั ศาสตรช์ ีวภาพ 14

ประธานสาขาฯ : ภก.ดร.อนุสรณ์ ธรรมพทิ ักษ์ 5065 ภญ.ดร.ณัฎฐณิ ี ธรี กลุ กติ ติพงศ์ 5132 อ.วนดิ า โอฬารกิจอนนั ต์ 5101 อ.ทอแสง วรี ะกลุ 5113 อ.ทศพล จริ ะสมประเสรฐิ 5089 ภญ.ดร.ภัทรวดี ศรีคณุ 5120 ภญ.ดร.ณฐั ธยาน์ เชาวนธ์ นาพัฒน์ 5136 ภก.ดร.ฤทธิณรงค์ มีพงษ์ 5090 อ.สุวศิ ิษฏ์ิ แมน้ เหมอื น 5145 ภญ.ผศ.ดร.วภิ าวรรณ ศิริกลุ พาณิชย์ 5110 ดร.ยศวรี ์ ดวงจติ ต์เจริญ 5132 ดร.ฐติ มิ า เกษมสขุ 5110 ดร.ณฐั สลิล พงษ์ธนรัชต์ 5096 ภญ.อ.อัมพิกา เกษรสทิ ธิ์ 5104 ภญ.อ.เบญจวรรณ ครุ ะสขุ 5066 ดร.อนุพงษ์ จมู แพง 5138 ภก.อ.ธาราธีร์ ศรจี ันทร์ 5058 ดร.กาญจนา สขุ ศรี 5143

สาขาวชิ าเภสัชเวทและเภสชั เคมี 5052 5002 ประธานสาขาฯ : ภญ.ดร.เนตรชนก เจยี งสืบชาติวีระ 5034 ภก.ผศ.ดร.บญุ ดศิ ย์ วงศศ์ ักดิ์ 5103 ภญ.ผศ.ดร.สมาวดี เปลย่ี นวงษ์ 5078 ภญ.ดร.ชฎาพร พรมปญั ญา 5031 ดร.นิพฒั ธา อิสโร 5090 ภญ.ดร.พทุ ธิพร คงแกว้ 5114 ดร.สนุ นั ต์ ใจสมุทร 5034 ผศ.ดร.ณิชกานต์ ภรี ะคา 5052 ภญ.ดร.นภัสสร ฉนั ทธารงศิริ 5057 ภญ.ผศ.ดร.ธันยช์ นก ศิริรักษ์ ภก.อ.กันตวฒั น์ ฤทธเิ์ ตม็

คู่มือนิสติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สานักงานคณบดี 15

ฝ่ายบคุ คล นางสาวพลอยนิศา สกลุ คุณสนอง เจ้าหน้าทบี่ ริหารงานท่ัวไป นายณรงค์ ขาวเหลอื ง นางพชรวรรณ คัชมาตย์ นกั วิชาการศึกษา นางสาวสรลิ รชั ญ์ สาราญทรัพย์ นกั วชิ าการพสั ดุ นางจตพุ ร ก่งิ แกว้ นางสาวปรยิ าภา เกตกุ ูล นักวิชาการเงินและบญั ชี นายกชกร ผดุงรชั ดากจิ นายสุบณั ฑิต พุ่มเจรญิ นางสาวจุฑามาศ อินตรา นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ นางวราภรณ์ ชวนะ นางสาวจริ าภรณ์ ศรผี อ่ ง นักวทิ ยาศาสตร์ นางสาววิษณยี ์ เวรตุ ัง

นักวชิ าการโสตทัศนศกึ ษา นางสาวกัญณัฐฎ์ คงเกษม นางสาวเบ็ญจพร สสี ัน และอาคารสถานที่ นางสาวจิรภรณ์ คูหะมณี ผ้ปู ฏิบตั ิงานบรหิ าร ผปู้ ฏิบตั ิงานชา่ ง นางสาวกนกอร ชานาญกุล นักการภารโรง พนกั งานขับรถยนต์ นายวศิ รุจ พวงแก้ว

นายสมเกยี รติ ทองอว่ มใหญ่ นางสาวณัฐสุดา อนิ สอน นางสาวอลษิ า กลุ จนั ทะ นางสาวจติ รา ชามาดา นางสาวพทุ ธชา สอนจันทร์ นางสาวอรอนงค์ สงิ หแ์ อด นายอนุรกั ษ์ จนั ทร์แกว้

นายจาตรุ นต์ ยงั ให้ผล นางสาวศศธิ ร จวิ๋ ประเสริฐ

นายบญั ชา พทุ ธมิลนิ ประทีป นายสุทธพิ งษ์ ประเสริฐดี

นายสดใส แกน่ จันทร์

นายอนริ ุทธ์ เนินฉาย

นางสาวจิตมิ า วรวตั ร

นายทรงวุฒิ สมุ าลี

สถานปฏิบตั กิ ารเภสชั กรรมชุมชน

ผูจ้ ดั การ ภก.อ.ธาราธรี ์ ศรจี ันทร์ นางสาวรดาสา จนุ กลาง เจ้าหนา้ ท่บี ริหารงานทวั่ ไป นางสาวรชั นก สขุ พรรณ์

คู่มือนิสติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

สารนายกสโมสรนสิ ิต ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 16

พ่ีขอเป็นตวั แทนของพ่ี ๆ ในคณะเภสชั ศาสตร์ทกุ ชัน้ ปี มาตอ้ นรบั และแสดงความยินดี กับน้อง ๆ นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 ทุกคน หลังจากที่น้อง ๆ ทุกคนได้มุ่งมั่น และตั้งใจ จนสามารถผ่านการคัดเลือกเข้ามาเป็นนิสิตคณะเภสัชศาสตร์ได้ ขอให้น้อง ๆ ทุกคนมี ความภาคภูมิใจในคณะและมหาวิทยาลัยของเรา ซ่ึงเป็นคณะเภสัชศาสตร์ที่มีความพร้อมทั้ง สถานท่ี เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และคณาจารย์ทม่ี ีความรู้ ความสามารถที่จะมาถา่ ยทอดความรู้ให้กับ น้อง ๆ ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอย่ใู นคณะแห่งน้ี ชีวิตในร้ัวมหาวิทยาลยั น้ันจะเปน็ ส่ิงท่ีแปลกใหม่ ที่มีความแตกต่างจากสมัยมัธยม ซ่ึงน้อง ๆจะต้องปรับตัวทั้งด้านการเรียน การทากิจกรรมและ สังคมมากข้ึน แต่น้อง ๆ ไม่ต้องกังวลเพราะพี่ ๆ ทุกคนในคณะของเราก็พร้อมท่ีจะแนะนา ให้ คาปรึกษาและดูแลน้อง ๆ ทุกคนเสมอ เพราะเราคือครอบครัวเดียวกัน สุดท้ายนี้พ่ีก็ขอให้น้อง ๆ นิสิตใหม่ทุกคนใช้ชีวิตในร้ัวมหาวทิ ยาลัยและในคณะเภสัชศาสตร์ของเราอย่างเต็มที่ จัดสรรเวลา ให้ดีและมีความสุข ประสบความสาเร็จในการศึกษา มีความรู้ความสามารถ และพร้อมทจี่ ะจบไป เปน็ บัณฑติ ที่มีคุณภาพต่อไปครับ

คณะกรรมการสโมสรนิสติ ประจาปีการศกึ ษา 2565

1. นายวรชาติ สนพะเนาว์ ตาแหน่ง นายกสโมสรนิสิต 2. นายศุภณัฐ บุญรักษ์ ตาแหน่ง อุปนายกฝ่ายกิจกรรมภายใน 3. นางสาวอภิชญา คูณพิทักษ์สกุล ตาแหน่ง อุปนายกฝ่ายกิจกรรมภายนอก 4. นางสาวภัทร์ธีรา โพธ์ิทอง ตาแหน่ง อุปนายกฝ่ายกิจกรรม สนภท. 5. นายศุภวุฒิ ชลสุภวรรณ ตาแหน่ง เลขานุการฯ 6. นางสาวอธิชา วิกฤษรางกูล ตาแหน่ง เลขานุการฯ 7. นางสาวศุภิสรา ธนกาญจน์ ตาแหน่ง เหรัญญิก 8. นายโยติพัฒน์ พาโคกทม ตาแหน่ง ฝ่ายนันทนาการ 9. นายณัชพัฒน เบญจพิทักษ์กุล ตาแหน่ง ฝ่ายพัสดุ 10. นางสาววราภา ตุ้มภู่ ตาแหน่ง ฝ่ายจัดหารายได้ 11. นางสาวสิริญากร ดวงมาลย์ ตาแหน่ง ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 12. นายศุภณัฐ กรรณสูต ตาแหน่ง ฝ่ายอาคารและสถานที่ 13. นายธนเดช สุขสุวรรณ ตาแหน่ง ฝ่ายกีฬา

ค่มู ือนสิ ติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา

14. นายปาริน มะมา ตาแหน่ง ฝ่ายวิชาการ 17 15. นายนครินทร์ อัศวเดชาชาญยุทธ์ ตาแหน่ง ฝ่ายสวัสดิการ 16. นางสาวปาเจรา อิ่มประเสริฐ ตาแหน่ง ฝ่ายศิลปะและวัฒนธรรม 17. นางสาวพิชามญชุ์ พ้นภัย ตาแหน่ง ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ 18. นายพศวีร์ พลละคร ตาแหน่ง ฝ่ายสรุปและประเมินผล 19. นายอาทิตย์ชยางกูร กันภัย ตาแหน่ง ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ 20. นายเศรษฐวิชญ์ เอ้ือวงษ์ประเสริฐ ตาแหน่ง ฝ่ายโสตทัศนศึกษา 21. นายณัฐกรณ์ สุนทรวิภาต ตาแหน่ง ฝ่ายถ่ายภาพ

คู่มอื นสิ ติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา

หลักสตู รเภสชั ศาสตรบัณฑติ (6 ปี) 18 หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2563

ชื่อปริญญาและสาขาวชิ า

ชอ่ื ปรญิ ญาภาษาไทย : เภสัชศาสตรบัณฑิต Doctor of Pharmacy ชื่อปริญญาภาษาองั กฤษ : ภ.บ. Pharm.D อักษรย่อ (อภไิ ธย) ภาษาไทย :

อกั ษรยอ่ (อภิไธย) ภาษาองั กฤษ :

จานวนหน่วยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลักสตู ร ไม่นอ้ ยกวา่ 220 หนว่ ยกติ

รปู แบบของหลกั สูตร - เปน็ หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาบณั ฑติ หลกั สูตรศกึ ษา 6 ปี - สาหรับกรณีท่ีอาจมีการเทียบโอนรายวิชา จะต้องใช้เวลาการศึกษาอีกไม่น้อยกว่า

8 - 10 ภาคการศึกษา อย่างมากไม่เกิน 10 ปีการศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาจากสาขาอื่นกอ็ ย่ใู น อนุโลมขอ้ นโี้ ดยหลกั การ

- รูปแบบของการจัดการศึกษานิสิตต้องมีการฝึกประสบการณ์และปฏิบัติการวิชาชพี ทางเภสัชศาสตร์ ท้ังภาคบังคับและภาคเลือกสาขาเน้น รวมแล้วไม่น้อยกว่า 2,000 ชั่วโมง ทาการ/ปฏิบตั กิ าร

- กรณีนอกเหนือจากกาหนดนี้ ให้เสนอคณะกรรมการประจาคณะเภสัชศาสตร์ เพ่อื พจิ ารณา

ปรัชญาของหลักสตู ร หลักสูตรนี้มงุ่ สร้างบณั ฑิตท่มี ีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบวิชาชพี

ด้านเภสัช กรรมตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความรับผิดชอบ มีทักษะในการเรียนรู้ตลอดชีพ มคี ุณธรรมจริยธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชพี มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ทด่ี ี ตระหนักในหนา้ ที่ตอ่ สงั คมและ ประเทศชาติ

วตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร

  1. เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและเจตคติท่ีดี เหมาะสมต่อการ

ประกอบ วิชาชพี เภสชั กรรม ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และขอ้ บงั คับตา่ ง ๆ อทุ ิศตน เสยี สละ เคารพ สทิ ธิความเป็น มนษุ ย์ และมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคม

  1. เพื่อให้บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีสู่การประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรม โดยผู้ท่ีเรียนสาขาเน้นการบริบาลทางเภสัชกรรมต้องมีองค์ความรู้เฉพาะด้าน การบริบาลทางเภสัช กรรมที่สามารถนาไปใช้ได้จริงอย่างชานาญ ส่วนผู้ท่ีเรียนสาขาเน้นเภสัช กรรมอุตสาหการต้องมีองค์ความรู้ เฉพาะดา้ นเภสัชกรรมอุตสาหการทีส่ ามารถนาไปใชไ้ ด้จรงิ อยา่ ง ชานาญ

คู่มอื นสิ ติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

  1. เพื่อให้บัณฑิตสามารถคิดวิเคราะห์ บูรณาการความรู้ต่าง ๆ และแก้ไขปญั หาอย่าง 19 เป็นระบบ มีวิจารณญาณบนหลักฐานทางวชิ าการ รวมท้ังมีความสามารถด้านการวจิ ยั และสร้าง นวตั กรรมเพ่อื ตอบสนองตอ่ สังคมและวชิ าชีพ
  1. เพ่ือให้บัณฑิตมีจิตสาธารณะ เป็นพลเมืองที่ดี เป็นที่พ่ึงของสังคมทางด้านยา และสขุ ภาพ
  1. เพ่ือให้บัณฑิตมีภาวะผู้นา สามารถทางานเป็นทีม ให้ร่วมมือเพื่อสร้างสรรค์ และพัฒนาสงั คม
  1. เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข ประยุกต์ใช้เทคนิค ทางสถติ ิ สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างรู้เทา่ ทัน มคี วามใฝร่ ้แู ละสามารถเรียนร้ตู ลอดชวี ติ
  1. เพื่อให้บัณฑิตสามารถปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริง โดยผู้ท่ีเรียน สาขาเน้นการ บริบาลทางเภสัชกรรมต้องสามารถปฏิบัติงานด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม และแก้ไขปัญหาใน สถานการณ์จริง ส่วนผู้ที่เรียนสาขาเน้นเภสัชกรรมอุตสาหการต้องสามารถ ปฏบิ ัติงานดา้ นเภสชั กรรม อุตสาหการและแก้ไขปัญหาในสถานการณ์จรงิ

คุณลกั ษณะของบณั ฑิตที่พึงประสงค์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา คุณภาพของเภสัชศาสตรบัณฑิต เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิระดับ

ปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2558 (หลักสูตร 6 ปี) โดยมีผลลัพธ์การเรียนรู้ท้ัง 6 ด้าน ดงั น้ี

1. คณุ ธรรม จริยธรรม (1) มีคุณธรรมจริยธรรมในการดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี จรรยาบรรณวิชาชีพ เสยี สละ มีจิตอาสา ซ่อื สตั ย์สุจรติ มรี ะเบียบ และตรงตอ่ เวลา (2) มีวินัย เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อ่ืน เคารพสิทธิ คุณค่าและศักด์ิศรีของตนเอง ผู้อ่ืน สังคม ศลิ ปวัฒนธรรม และธรรมชาติ รบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่ืน (3) เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ภายในหลักธรรมาภิบาล ขององคก์ รและสงั คม 2. ความรู้ (1) มีความรอบรู้ เข้าใจหลักการและทฤษฎพี ้นื ฐานทเ่ี กย่ี วข้องกบั วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ (2) สามารถประยุกต์ความร้จู ากทฤษฎีสูก่ ารปฏบิ ัติ (3) มีความรู้ด้านเภสชั กรรมอุตสาหการ (วิทยาศาสตร์เภสชั กรรม) เกยี่ วกบั เคมที างยา การผลิต การควบคมุ และประกนั คุณภาพ การวจิ ัยและพัฒนา ยา ชีววตั ถุ สมุนไพร และผลิตภัณฑ์ สขุ ภาพอื่น ๆ โดยสาขาเภสชั กรรมอุตสาหการจะตอ้ งนาความรไู้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นสถานการณ์จริงได้ อยา่ งชานาญ (4) มคี วามรู้ดา้ นการบรบิ าลทางเภสัชกรรมเกย่ี วกบั การวางแผนการรักษาดว้ ยยา การ ใช้ ยา การประเมินปัญหาด้านยาและสุขภาพ ความปลอดภัยในการใช้ยา และการบริหารจัดการ เรื่องยา โดย สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรมจะต้องนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ จรงิ ได้อย่างชานาญ (5) มีความรู้เกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพในด้านการบริหารจัดการความเส่ียง และการ ปรับปรุงคุณภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

คมู่ อื นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา

(6) มีความรูใ้ นระบบสุขภาพ ระบบยา การคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายหรือขอ้ ตกลงท่ี 20 เก่ยี วขอ้ งกับวชิ าชพี และการบรหิ ารจัดการสาหรบั การประกอบการด้านยาเบ้อื งต้น

3. ทกั ษะทางปัญญา (1) มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ เพื่อพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (2) มีทักษะการคิดแบบองค์รวม สามารถบูรณาการความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และสอดคล้องกับสถานการณ์ (3) สามารถคิด วิเคราะห์ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลและ เป็นระบบ (4) มีทกั ษะการสรุปความคิดรวบยอด (5) มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรคใ์ นการปฏบิ ตั ิงาน (6) มที กั ษะในการรสู้ ารสนเทศ 4. ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคล และความรับผดิ ชอบ (1) มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบ สานึกในความเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าต่อสังคม และมีความเปน็ ไทย (2) มีภาวะผูน้ า สามารถทางานเป็นทีม แสดงและรบั ฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่ืนได้อย่าง เหมาะสม (3) สามารถใช้ความรใู้ นวชิ าชีพมาบริการสงั คมได้อย่างเหมาะสม (4) มีทักษะการบรหิ ารงานบคุ คล มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ สามารถปรบั ตวั เขา้ กับสงั คมได้ 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ (1) สามารถใช้ข้อมูลเชิงตัวเลข เลือกและประยุกต์เทคนิคทางสถิติ และเทคโนโลยี สารสนเทศอยา่ งรเู้ ท่าทันในการแก้ปญั หาทางวชิ าชีพ (2) สามารถใชภ้ าษาในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ และถ่ายทอดความรู้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ (3) มีทักษะในการเขียนรายงานและการนาเสนอ โดยเลือกใช้รูปแบบและวิธีการ อย่างเหมาะสม 6. ทกั ษะเชงิ วิชาชีพ (1) สามารถปฏิบัติงานเก่ียวกับการผลิต การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และพัฒนายา ชีววัตถุ สมุนไพร และผลิตภัณฑส์ ุขภาพอืน่ ๆ โดยสาขาวชิ าเภสัชกรรมอุตสาหการ จะต้องมี ทักษะในการแกไ้ ขปัญหาในสถานการณจ์ รงิ (2) สามารถปฏิบัติงานเก่ียวกับการให้การบริบาลทางเภสัชกรรม และบริหารจัดการ เรอ่ื ง ยา โดยสาขาวิชาการบรบิ าลทางเภสัชกรรมจะตอ้ งมีทกั ษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ จริง (3) สามารถปฏบิ ัติงานเกีย่ วกบั ระบบสขุ ภาพ ระบบยา และการคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค มีการเก็บขอ้ มูลบัณฑิตท่ีจบการศึกษาจากหลักสูตร ในด้านต่าง ๆ เพ่ือนามาวเิ คราะห์ ผลการดาเนินการของหลักสูตร การเทียบเคียงมาตรฐานเพื่อการพัฒนา และใช้ในการปรับปรุง กระบวนการ จดั การหลักสูตรในปีการศึกษาต่อไป ดังน้ี - จานวนบัณฑิตท่ีการสาเร็จการศึกษาจากหลักสูตร และจานวนนสิ ติ ทตี่ กออกในแต่ละ ปีการศึกษา

คมู่ ือนสิ ติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา

- จานวนบัณฑิตท่ีจบการศึกษาภายในระยะเวลา 6 ปี (ตามระยะเวลาท่ีหลักสูตร 21 กาหนด) รวมถึงจานวนนิสิตทจ่ี บการศึกษากอ่ นและหลังจากเวลา 6 ปี

- การได้งานทาของบัณฑิตที่จบการศึกษา โดยแบ่งเป็นการได้งานทาท่ีเกี่ยวข้องกับ วิชาชีพเภสัชกร และการได้งานทาท่ีไม่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพเภสัชกร ภายในระยะเวลา 1 ปี หลังจากการจบ การศกึ ษา

- ประเภทและจานวนงานวจิ ยั ทเ่ี กดิ จากบณั ฑติ ที่จบการศกึ ษาจากหลกั สตู ร - ความพึงพอใจของผู้ใช้บณั ฑิตท่มี ตี อ่ บณั ฑติ ใหม่ หลังการทางานอย่างน้อย 1 ปี

การประกนั คุณภาพหลกั สตู ร หลกั สูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิต (หลักสูตร 6 ป)ี หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2563 ได้มีการ

บริหาร จัดการหลักสูตร โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวน 5 ท่าน ดาเนินการบริหาร จัดการ วางแผน กากับดูแล ติดตามผล และปรับปรุงหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานท่ี กาหนดตลอดระยะเวลาท่ีมี การจัดการเรียนการสอนในหลักสตู รดงั กลา่ วทุกประการ ได้แก่ เกณฑ์ มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2558 (หลักลูตร 6 ปี) และได้มีการ จัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) และตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ด้วยระบบ CUPT QA ตามเกณฑ์ ASEAN University Network-Quality Assurance (AUN-QA) ในทุกปี การศกึ ษา

ค่มู อื นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

แผนการศกึ ษาของนิสิตในหลกั สตู รเภสชั ศาสตรบณั ฑติ ในแตล่ ะภาคเรยี น 22 จานวนรวมท้ังหมด 220 หน่วยกิต

  1. หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป 30 หน่วยกิต 1.1) กลมุ่ วิชาภาษาเพอื่ การสอื่ สาร 12 หนว่ ยกิต 1.2) กลมุ่ วชิ าอตั ลกั ษณแ์ ละคณุ ภาพชวี ติ บณั ฑิตบูรพา 4 หน่วยกิต 1.3) กลุ่มวิชาทกั ษะชีวติ และความรับผดิ ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดลอ้ ม 7 หน่วยกิต 1.4) กล่มุ วชิ านวตั กรรมและความคิดสรา้ งสรรค์ 4 หนว่ ยกิต 1.5) วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 หนว่ ยกติ
  1. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 184 หน่วยกติ 2.1) กลมุ่ วิชาบังคับพน้ื ฐาน 40 หน่วยกติ 2.1.1) กลุ่มวิชาพ้นื ฐานวชิ าชพี 22 หนว่ ยกิต 2.1.2) กล่มุ วชิ าวิทยาการพรีคลินิก 18 หน่วยกติ 2.2) กลุ่มวชิ าบงั คับแกนวิชาชีพ 144 หนว่ ยกติ 2.2.1) กลุ่มวชิ าด้านผ้ปู ่วย 37 หน่วยกิต 2.2.2) กลมุ่ วิชาด้านผลติ ภัณฑ์ 37 หน่วยกิต 2.2.3) กลมุ่ วชิ าเภสชั ศาสตรส์ งั คมและการบรหิ ารเภสชั กิจ 17 หนว่ ยกิต 2.2.4) การฝกึ ปฏิบัติงานวชิ าชีพภาคบงั คบั 6 หน่วยกติ 2.2.5) การฝึกปฏบิ ัติงาน Clerkships ไมน่ อ้ ยกวา่ 28 หน่วยกิต 2.2.6) จลุ นพิ นธ์ 4 หนว่ ยกติ 2.3) กลมุ่ วชิ าเลอื กวิชาชีพสาขาเน้นไม่น้อยกว่า 15 หนว่ ยกิต
  1. หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกติ

คู่มอื นสิ ิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

แผนการศึกษาของนสิ ติ ชัน้ ปที ี่ 1 23

ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester)

หน่วยกติ

หมวด รหสั และชื่อรายวชิ า (ทฤษฎี- วชิ า ปฏบิ ตั ิ- ศึกษาดว้ ย

ตนเอง)

ศกึ ษา 99920159 การเขียนภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สาร 3 (3-0-6)

ทั่วไป English Writing for Communication

30910359 วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 2 (2-0-4)

Marine Science

88510159 กา้ วทนั สงั คมดิจิทลั ดว้ ยไอซีที 3 (2-2-5)

Moving Forward in a Digital Society with ICT

85111059 การออกกาลงั กายเพ่อื คณุ ภาพชวี ิต 2 (1-2-3)

Exercise for Quality of Life

30210159 คณติ คดิ ทันโลก 2 (2-0-4)

Contemporary Mathematics

วิชา 30211463 แคลคลู ัสสาหรับวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 3 (3-0-6)

เฉพาะ Calculus for Health Science

30310563 เคมีทว่ั ไป* 3 (3-0-6)

General Chemistry

30310663 ปฏบิ ัติการเคมีท่วั ไป 1 (0-3-1)

General Chemistry Laboratory

79116163 พ้ืนฐานชวี วิทยาทางเภสัชศาสตร์ 2 (2-0-4)

Basic Biology in Pharmacy

79114163 บทนาส่วู ชิ าชพี เภสชั กรรม 1 (1-0-2)

Introduction to Pharmacy Profession

รวม (Total) 22

คมู่ อื นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา

ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester) 24

หมวด 99910159 รหสั และชอื่ รายวิชา หน่วยกติ วิชา 22810159 (ทฤษฎี- ศกึ ษา 24110159 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ปฏิบัติ- ทัว่ ไป 30610659 English for Communication ศกึ ษาดว้ ย 30312263 ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร ตนเอง) วชิ า 30312363 Thai Language Skills for Communication 3 (3-0-6) เฉพาะ 30810863 จติ วิทยาในการดาเนินชวี ติ และการปรับตัว 30810963 Psychology for Living and Adjustment 3 (3-0-6) วิชาเลอื ก ความหลากหลายทางชวี ภาพและการอนุรกั ษ์ เสรี XXXXXX Biodiversity and Conservation 3 (3-0-6) เคมอี ินทรยี ์ 1* Organic Chemistry I 2 (2-0-4) ปฏิบัตกิ ารเคมีอินทรีย์ 1 Organic Chemistry Laboratory I 3 (3-0-6) ฟสิ กิ ส์ทางการแพทย*์ Medical Physics 1 (0-3-1) ปฏิบตั ิการฟสิ กิ ส์ทางการแพทย์ Medical Physics Laboratory 3 (3-0-6) หมวดวชิ าเลือกเสรี 1 (0-3-1) รวม (Total) 2 หน่วยกิต

21

คูม่ ือนสิ ิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

แผนการศกึ ษาของนิสติ ชัน้ ปีท่ี 2 25

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หน่วยกติ

หมวด รหสั และช่อื รายวชิ า (ทฤษฎี- วิชา ปฏบิ ตั ิ- ศึกษาดว้ ย

ตนเอง)

ศกึ ษา 99910259 ภาษาองั กฤษระดับมหาวิทยาลยั 3 (3-0-6)

ท่ัวไป Collegiate English

วชิ า 30322463 เคมีอนิ ทรีย์ 2* 3 (3-0-6)

เฉพาะ Organic Chemistry II

30322563 ปฏิบตั ิการเคมอี ินทรีย์ 2 1 (0-3-1)

Organic Chemistry Laboratory II

30323063 เคมีฟิสิกลั Physical 3 (3-0-6)

Chemistry

68022363 จลุ ชีววทิ ยาทางการแพทย์* 4 (3-3-6)

Medical Microbiology

79126263 ชีวเคมกี ารแพทยส์ าหรบั เภสชั ศาสตร์* 4 (4-0-8)

Medical Biochemistry for Pharmacy

79126363 ปฏบิ ัตกิ ารชวี เคมกี ารแพทย์สาหรับเภสชั ศาสตร์ 1 (0-3-1)

Medical Biochemistry Laboratory for

Pharmacy

79126563 กายวภิ าคสรรี วทิ ยาทางเภสชั ศาสตร์ 1* 3 (3-0-6)

Anatomy and Physiology in Pharmacy I

รวม (Total) 22

คู่มือนิสติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา

ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester) 26

หนว่ ยกติ

หมวด รหัสและชอ่ื รายวิชา (ทฤษฎี- วชิ า ปฏบิ ตั ิ- ศกึ ษาด้วย

ตนเอง)

ศกึ ษา 25710259 เศรษฐศาสตร์ในชวี ิตประจาวัน 2 (2-0-4)

ทั่วไป Economics of Everyday Life

77037959 ศิลปะและการคดิ สร้างสรรค์ 2 (2-0-4)

Arts and Creativity

วชิ า 79126663 กายวภิ าคสรีรวิทยาทางเภสัชศาสตร์ 2* 2 (2-0-4)

เฉพาะ Anatomy and Physiology in Pharmacy II

79126763 ปฏบิ ตั ิการกายวภิ าคสรีรวิทยาทาง 1 (0-3-1)

เภสชั ศาสตร์

Anatomy and Physiology Laboratory in

Pharmacy

79126863 หลกั การของโรค 4 (3-3-7)

Principle of Diseases

79126463 ภมู ิคมุ้ กนั วทิ ยาสาหรบั เภสัชศาสตร์* 1 (1-0-2)

Immunology for Pharmacy

79120163 การควบคมุ เภสัชภัณฑ์ 1* 2 (2-0-4)

Pharmaceutical Control I

79120263 ปฏบิ ตั ิการการควบคุมเภสชั ภัณฑ์ 1 1 (0-3-1)

Pharmaceutical Control Laboratory I

79121163 เภสชั พฤกษศาสตร์* 2 (1-3-3)

Pharmaceutical Botany

79122163 บทนาสูเ่ ทคนคิ ทางเภสัชกรรม* 2 (2-0-4)

Introduction to Pharmaceutical

Technology

รวม (Total) 19

คู่มอื นิสติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

แผนการศึกษาของนิสิต ชั้นปีท่ี 3 27

ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาตน้ (First Semester)

หน่วยกติ

หมวด รหัสและชอ่ื รายวิชา (ทฤษฎี- วชิ า ปฏบิ ตั ิ- ศกึ ษาดว้ ย

ตนเอง)

วิชา 79130463 การควบคมุ เภสัชภัณฑ์ 2* 3 (3-0-6)

เฉพาะ Pharmaceutical Control II

79130563 ปฏิบัติการการควบคุมเภสัชภณั ฑ์ 2* 1 (0-3-1)

Pharmaceutical Control Laboratory II

79131263 เภสชั เวท 1* 2 (2-0-4)

Pharmacognosy I

79131363 ปฏบิ ัติการเภสัชเวท 1* 1 (0-3-1)

Pharmacognosy Laboratory I

79133163 เภสชั วทิ ยา 1* 4 (4-0-8)

Pharmacology I

79133263 ปฏิบตั กิ ารเภสัชวิทยา 1 1 (0-3-1)

Pharmacology Laboratory I

79132263 เภสชั กรรม 1* 2 (2-0-4)

Pharmaceutics I

79132363 ปฏิบัตกิ ารเภสชั กรรม 1 1 (0-3-1)

Pharmaceutics Laboratory I

79134063 สถติ ิเพ่อื การวจิ ัยทางเภสัชศาสตร์ 2 (2-0-4)

Statistics in Pharmacy research

79134763 เภสชั ระบาดวทิ ยา 1 (1-0-2)

Pharmacoepidemiology

79134663 การส่อื สารเชิงวิชาชพี 1 (0-3-1)

Professional Communication

รวม (Total) 19

คมู่ อื นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester) 28

หนว่ ยกิต

หมวด รหัสและช่ือรายวิชา (ทฤษฎี- วชิ า ปฏิบัติ- ศึกษาด้วย

ตนเอง)

วชิ า 79130363 เคมีของยา 1* 3 (3-0-6)

เฉพาะ Medicinal Chemistry I

79131463 เภสัชเวท 2* 2 (2-0-4)

Pharmacognosy II

79131563 ปฏบิ ัติการเภสัชเวท 2 1 (0-3-1)

Pharmacognosy Laboratory II

79132463 เภสชั กรรม 2 3 (3-0-6)

Pharmaceutics II

79132563 ปฏิบตั กิ ารเภสัชกรรม 2 1 (0-3-1)

Pharmaceutics Laboratory II

79133363 เภสชั วิทยา 2 4 (4-0-8)

Pharmacology II

79133463 ชวี เภสัชกรรมและเภสชั จลนศาสตร์ 3 (3-0-6)

Biopharmaceutics and Pharmacokinetics

79134263 ระบบยาและเภสัชสาธารณสขุ D3ru(g3-0-6)

System and Public Health Pharmacy

รวม (Total) 20

ค่มู ือนิสติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

แผนการศกึ ษาของนิสติ ชน้ั ปีท่ี 4 29

ปที ่ี 4 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หน่วยกิต

หมวด รหสั และช่อื รายวิชา (ทฤษฎี- วชิ า ปฏิบตั ิ- ศึกษาดว้ ย

ตนเอง)

วิชา 79140663 เคมขี องยา 2* 3 (3-0-6)

เฉพาะ Medicinal Chemistry II

79142663 เภสัชกรรม 3* 3 (3-0-6)

Pharmaceutics III

79142763 ปฏบิ ัตกิ ารเภสัชกรรม 3 1 (0-3-1)

Pharmaceutics Laboratory III

79145163 เภสัชบาบดั 1* 3 (3-0-6)

Pharmacotherapeutics I

79145263 ปฏบิ ัติการเภสัชบาบดั 1 1 (0-3-1)

Pharmacotherapeutics Laboratory I

79145763 หลักการจา่ ยยาในโรคทีพ่ บบอ่ ย * 2 (2-0-4)

Dispensing in Common Diseases

79145863 ปฏบิ ัติการหลกั การจา่ ยยาในโรคทพ่ี บบอ่ ย 1 (0-3-1)

Dispensing in Common Diseases

Laboratory

79145963 เภสัชสนเทศ* 1 (1-0-2)

Pharmacoinformatics

79145063 ปฏิบัตกิ ารเภสัชสนเทศ 1 (0-3-1)

Pharmacoinformatics Laboratory

79144963 เภสชั เศรษฐศาสตร์ 2 (2-0-4)

Pharmacoeconomics

79144863 เภสชั ศาสตร์สังคมและพฤตกิ รรม 1 (1-0-2)

Social and Behavioural Aspects

in Pharmacy

รวม (Total) 19

คู่มอื นิสติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา

ปีท่ี 4 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester) 30

หน่วยกิต

หมวด รหัสและชอื่ รายวชิ า (ทฤษฎี- วิชา ปฏิบตั ิ- ศึกษาดว้ ย

ตนเอง)

วิชา 79142863 เภสชั กรรม 4* 2 (2-0-4)

เฉพาะ Pharmaceutics IV

79142963 ปฏบิ ตั ิการเภสชั กรรม 4 1 (0-3-1)

Pharmaceutics Laboratory IV

79145363 เภสชั บาบัด 2* 3 (3-0-6)

Pharmacotherapeutics II

79145463 ปฏบิ ตั กิ ารเภสัชบาบัด 2* 1 (0-3-1)

Pharmacotherapeutics Laboratory II

79144363 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางเภสัชกรรม 2 (2-0-4)

Laws and Ethics in Pharmacy

79144463 การบริหารทางเภสชั ศาสตร์ 2 (2-0-4)

Pharmacy Administration

79144563 ระเบยี บวธิ วี จิ ยั สาหรบั นสิ ิตเภสัชศาสตร์* 2 (2-0-4)

Research Methodology for Pharmacy

Student

79143563 พษิ วทิ ยา 2 (2-0-4)

Toxicology

79146963 ชวี วัตถุ 2 (2-0-4)

Biologics

รวม (Total) 17

คมู่ อื นิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา

ปที ี่ 4 ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น (Summer Semester) 31

หนว่ ยกิต

หมวด รหัสและชอื่ รายวชิ า (ทฤษฎี- วชิ า ปฏบิ ัติ- ศึกษาด้วย

ตนเอง)

วิชา 79147163 การฝึกปฏบิ ัติงานวชิ าชีพเภสัชกรรมในรา้ นยา 3 (0-14-7)

เฉพาะ Clerkship: Pharmacy Training in Pharmacy

79147263 การฝึกปฏิบัตงิ านวิชาชพี เภสชั กรรม 3 (0-14-7)

ในโรงพยาบาล

Clerkship: Pharmacy Training in Hospital

รวม (Total) 6

ค่มู ือนิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

แผนการศกึ ษาของนสิ ิต ชน้ั ปีท่ี 5 32

ปที ี่ 5 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester)

หมวด 79155563 รหสั และชอ่ื รายวิชา หน่วยกติ วิชา 79155663 (ทฤษฎี- วิชา 79157163 เภสชั บาบดั 3* ปฏิบตั ิ- เฉพาะ Pharmacotherapeutics III ศึกษาด้วย 794xxx63 ปฏิบตั ิการเภสชั บาบัด 3 ตนเอง) วิชาเลอื ก XXXXXX Pharmacotherapeutics Laboratory III 3 (3-0-6) เสรี โครงงานวิจัยทางเภสชั ศาสตร์ 1* Research Project in Pharmaceutical 1 (0-3-1) Sciences I กลมุ่ วชิ าเลือกวิชาชพี สาขาเนน้ 1 (0-3-1) หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 (x-x-x) รวม (Total) 2

13

ปที ี่ 5 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวด 79157263 รหสั และช่ือรายวิชา หนว่ ยกิต วชิ า (ทฤษฎี- 794xxx63 โครงงานวิจยั ทางเภสชั ศาสตร์ 2 ปฏิบัติ- วชิ า XXXXXX Research Project in Pharmaceutical ศึกษาด้วย เฉพาะ Sciences II ตนเอง) กล่มุ วชิ าเลือกวชิ าชพี สาขาเนน้ 3 (0-9-4) วิชาเลือก หมวดวชิ าเลอื กเสรี เสรี 9 (x-x-x) รวม (Total) 2

14

คมู่ ือนิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

แผนการศึกษาของนิสติ ชน้ั ปีท่ี 6 33

ปีที่ 6 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester)

สาหรบั นสิ ิตสาขาการบรบิ าลทางเภสชั กรรม

หนว่ ยกติ

หมวด รหัสและชอ่ื รายวชิ า (ทฤษฎี- วิชา ปฏิบัติ- ศึกษาดว้ ย

ตนเอง)

วิชา 79165163 การฝกึ ปฏิบตั ิงานเภสัชกรรมชมุ ชน 4 (0-16-8)

เฉพาะ Clerkship: Community Pharmacy

79165263 การฝกึ ปฏบิ ัติงานเภสชั กรรมผปู้ ว่ ยนอก 4 (0-16-8)

Clerkship: Ambulatory Care

79165363 การฝกึ ปฏิบัตงิ านเภสัชกรรมอายรุ ศาสตร์ 4 (0-16-8)

Clerkship: Medicine

79165463 การบริหารจัดการดา้ นยาเพ่อื ความปลอดภยั 4 (0-16-8)

ในการใช้ยา **

Clerkship: Medication Safety Management

System; MSMS

79164163 การฝึกปฏิบตั งิ านการคมุ้ ครองผู้บริโภค 4 (0-16-8)

Clerkship: Consumer Protection **

รวม (Total) 16

** นิสิตสามารถเลือกรายวชิ า 79165463 หรอื 79164163

สาหรับนสิ ิตสาขาเภสชั กรรมอุตสาหการ

หน่วยกติ

หมวด รหัสและชื่อรายวชิ า (ทฤษฎี- วชิ า ปฏบิ ัติ- ศกึ ษาดว้ ย

ตนเอง)

วิชา 79162163 การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านควบคุมคณุ ภาพยา 1 4 (0-16-8)

เฉพาะ Clerkship: Pharmaceutical quality control I

79162263 การฝึกปฏิบัติงานเภสัชภณั ฑ์การผลติ 1 4 (0-16-8)

Clerkship: Pharmaceutical production I

794xxx63 การฝกึ ปฏบิ ตั ิงานทางเลือกวชิ าชพี เนน้ 8 (0-32-16)

Clerkship:

รวม (Total) 16

คูม่ อื นสิ ิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ปีท่ี 6 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester) 34

สาหรบั นิสิตสาขาการบรบิ าลทางเภสชั กรรม

หมวด รหสั และชอ่ื รายวชิ า หนว่ ยกติ วชิ า (ทฤษฎี- ปฏบิ ัติ- วิชา 794xxx63 การฝกึ ปฏิบัตงิ านทางเลือกวิชาชีพเน้น ศึกษาด้วย เฉพาะ Clerkship: ตนเอง)

รวม (Total) 12 (0-48-24)

12

สาหรับนิสิตสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ

หมวด รหสั และช่อื รายวชิ า หน่วยกิต วิชา (ทฤษฎี- ปฏิบตั ิ- วชิ า 794xxx63 การฝกึ ปฏิบตั ิงานทางเลือกวิชาชีพเน้น ศึกษาด้วย เฉพาะ Clerkship: ตนเอง)

รวม (Total) 12 (0-48-24)

12

หมายเหตุ * บุรพวชิ า หมายถงึ รายวชิ าบงั คบั ก่อน นสิ ติ จะทาการลงทะเบยี นรายวชิ าต่อเนอื่ งได้ ต้องผา่ นในรายวชิ าทกี่ าหนด (บุรพวิชา) กอ่ นเทา่ น้ัน (ไมต่ ดิ F)

คูม่ อื นสิ ติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา

ตารางบรุ พวิชา 35

ช้ันปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษา ตน้

บุรพวิชา วชิ าต่อเน่ือง 30310563 เคมีทว่ั ไป 79120163 การควบคุมเภสชั ภณั ฑ์ 1 30310663 ปฏิบตั ิการเคมีทัว่ ไป (หรอื เรยี นพรอ้ ม เคมีท่วั ไป) 30323063 เคมีฟสิ กิ ลั

ชนั้ ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษา ปลาย

บรุ พวชิ า วชิ าตอ่ เนือ่ ง 30312263 เคมอี ินทรยี ์ 1 79126263 ชวี เคมกี ารแพทยส์ าหรับเภสชั ศาสตร์ 30810863 ฟสิ กิ สท์ างการแพทย์ 79120163 การควบคมุ เภสชั ภัณฑ์ 1 30322463 เคมีอินทรยี ์ 2 30322563 ปฏิบัตกิ ารเคมีอินทรีย์ 2

30810963 ปฏบิ ัติการฟสิ ิกสท์ างการแพทย์ (หรอื เรยี นพร้อม ฟสิ กิ ส์ทางการแพทย์)

ชนั้ ปีท่ี 2 ภาคการศึกษา ต้น

บุรพวชิ า วิชาตอ่ เนื่อง 30322463 เคมอี ินทรยี ์ 2 79130363 เคมีของยา 1 68022363 จุลชวี วทิ ยาทางการแพทย์ 79130463 การควบคมุ เภสัชภณั ฑ์ 2 79126263 ชวี เคมกี ารแพทย์สาหรับ เภสชั ศาสตร์ 79133363 เภสชั วิทยา 2

79126563 กายวภิ าคสรรี วทิ ยาทาง 79126363 ปฏบิ ัตกิ ารชีวเคมีการแพทยส์ าหรบั เภสัชศาสตร์ 1 เภสัชศาสตร์ (หรือเรียนพรอ้ ม ชวี เคมกี ารแพทยส์ าหรบั เภสชั ศาสตร์) 79126463 ภมู คิ ุ้มกันวทิ ยาสาหรับเภสัชศาสตร์ 79451563 เทคโนโลยีชวี ภาพของสมุนไพร

79126763 ปฏบิ ัติการกายวภิ าคสรีรวทิ ยาทาง เภสัชศาสตร์ 79133163 เภสชั วิทยา 1

คมู่ อื นสิ ติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ชน้ั ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษา ปลาย 36

บรุ พวิชา วิชาต่อเนื่อง 79126663 กายวิภาคสรีรวิทยาทาง 79126763 ปฏิบัติการกายวภิ าคสรรี วิทยาทาง เภสัชศาสตร์ 2 เภสัชศาสตร์ (หรอื เรียนพร้อม กายวภิ าคสรรี วทิ ยาทาง 79126463 ภูมิค้มุ กันวิทยาสาหรับ เภสชั ศาสตร์ 2) เภสัชศาสตร์ 79133163 เภสัชวิทยา 1 79120163 การควบคมุ เภสชั ภัณฑ์ 1 79133363 เภสัชวิทยา 2

79121163 เภสชั พฤกษศาสตร์ 79120263 ปฏบิ ตั ิการการควบคุมเภสชั ภณั ฑ์ 1 79122163 บทนาสเู่ ทคนคิ ทาง (หรอื เรียนพรอ้ ม การควบคมุ เภสัชภณั ฑ์ 1) เภสชั กรรม 79130463 การควบคมุ เภสัชภัณฑ์ 2 79131263 เภสัชเวท 1 79132263 เภสชั กรรม 1 79132463 เภสัชกรรม 2 79142663 เภสัชกรรม 3

ชั้นปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษา ต้น

บุรพวชิ า วิชาตอ่ เนือ่ ง 79130463 การควบคุมเภสชั ภณั ฑ์ 2 79130563 ปฏิบตั กิ ารการควบคุมเภสชั ภัณฑ์ 2 (หรือเรียนพร้อม การควบคุมเภสชั ภัณฑ์ 2) 79130563 ปฏิบตั ิการการควบคุม 79162163 การฝึกปฏบิ ตั ิงานควบคมุ คุณภาพยา 1 เภสชั ภณั ฑ์ 2 79462163 การฝกึ ปฏบิ ัติงานควบคมุ คณุ ภาพยา 2 79131263 เภสัชเวท 1 79462263 การฝึกปฏบิ ตั งิ านควบคมุ คณุ ภาพยา 3 79450163 การควบคมุ คุณภาพอาหารและ เคร่อื งสาอาง 79450363 การควบคมุ และประกนั คณุ ภาพทาง เภสชั ศาสตร์ 79450463 การวิเคราะหเ์ ภสัชภัณฑข์ ้นั สูง 79451463 การควบคุมคุณภาพสมุนไพร 79450463 การวิเคราะหเ์ ภสัชภณั ฑข์ ้ันสูง

79131363 ปฏิบัติการเภสชั เวท 1 (หรอื เรียนพรอ้ ม เภสัชเวท 1) 79131463 เภสัชเวท 2

คู่มอื นิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

บุรพวิชา วิชาต่อเน่ือง 37 79131363 ปฏิบัตกิ ารเภสัชเวท 1 79133163 เภสชั วิทยา 1 79131463 เภสชั เวท 2

79132263 เภสัชกรรม 1 79133263 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1 (หรือเรียนพร้อม เภสัชวิทยา 1) ชัน้ ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษา ปลาย 79133363 เภสัชวทิ ยา 2 บุรพวชิ า 79133463 ชวี เภสชั กรรมและเภสชั จลนศาสตร์ 79143563 พษิ วิทยา 79130363 เคมขี องยา 1 79145163 เภสชั บาบดั 1 79131463 เภสัชเวท 2 79130363 เคมขี องยา 1

79132463 เภสัชกรรม 2 79132363 ปฏบิ ตั ิการเภสัชกรรม 1 79133363 เภสชั วิทยา 2 (หรือเรียนพร้อม เภสัชกรรม 1) 79142863 เภสชั กรรม 4

วิชาตอ่ เน่ือง

79140663 เคมีของยา 2 79450563 การสงั เคราะหย์ า

79131563 ปฏบิ ตั กิ ารเภสชั เวท 2 (หรือเรียนพร้อม เภสัชเวท 2) 79462563 การฝกึ ปฏบิ ัติงานวจิ ัยทางผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ และเคมียา 79451463 การควบคมุ คณุ ภาพสมนุ ไพร 79451563 เทคโนโลยชี วี ภาพของสมนุ ไพร

79132563 ปฏิบัติการเภสชั กรรม 2 (หรอื เรยี นพรอ้ ม เภสชั กรรม 2) 79142863 เภสชั กรรม 4

79145163 เภสัชบาบัด 1 79140663 เคมขี องยา 2 79465763 การทบทวนข้อมลู ยาใหม่

คมู่ ือนิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

ชน้ั ปีท่ี 4 ภาคการศึกษา ตน้ 38 บุรพวิชา วชิ าต่อเนอื่ ง 79140663 เคมีของยา 2 79462563 การฝึกปฏบิ ัติงานวจิ ัยทางผลิตภณั ฑ์ ธรรมชาติ และเคมยี า 79142663 เภสชั กรรม 3 79450563 การสงั เคราะหย์ า 79142763 ปฏิบตั ิการเภสชั กรรม 3 79145163 เภสัชบาบดั 1 (หรือเรยี นพร้อม เภสัชกรรม 3) 79142863 เภสัชกรรม 4 79145763 หลกั การจา่ ยยาในโรค 79452663 การเคลอื บยาเม็ด ท่พี บบอ่ ย 79145263 ปฏบิ ัตกิ ารเภสัชบาบัด 1 79145963 เภสชั สนเทศ (หรือเรียนพร้อม เภสชั บาบัด 1) 79145363 เภสัชบาบดั 2 ชัน้ ปีท่ี 4 ภาคการศึกษา ปลาย 79145863 ปฏิบัตกิ ารหลกั การจา่ ยยาในโรคทพี่ บ บุรพวชิ า บอ่ ย (หรอื เรียนพรอ้ ม หลกั การจา่ ยยาในโรคทีพ่ บบ่อย) 79142863 เภสชั กรรม 4 79145063 ปฏบิ ตั ิการเภสัชสนเทศ (หรือเรยี นพรอ้ ม เภสชั สนเทศ)

วชิ าต่อเนือ่ ง 79142963 ปฏบิ ัตกิ ารเภสชั กรรม 4 (หรอื เรยี นพรอ้ ม เภสชั กรรม 4) 79162263 การฝกึ ปฏบิ ตั ิงานเภสชั ภณั ฑก์ ารผลติ 1 79462363 การฝกึ ปฏิบตั งิ านเภสชั ภณั ฑก์ ารผลติ 2 79462463 การฝึกปฏบิ ัติงานเภสชั ภณั ฑก์ ารผลติ 3 79452163 การบริหารการผลติ ทางเภสชั กรรม 79452563 ระบบนาสง่ ยาแบบใหม่ 79452763 การวจิ ยั และพฒั นาเภสชั ภัณฑ์ 79452863 การพัฒนาเภสัชภัณฑ์ 79452963 นาโนเทคโนโลยที างเภสชั ศาสตร์ 79452063 การผลติ ยาสาหรับสัตว์ 79450363 การควบคมุ และประกันคณุ ภาพทาง เภสัชศาสตร์

คมู่ อื นิสติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

บุรพวชิ า วิชาต่อเนอื่ ง 39 79145363 เภสัชบาบดั 2 79145463 ปฏบิ ัติการเภสัชบาบดั 2 79145463 ปฏบิ ตั ิการเภสัชบาบดั 2 79144563 ระเบยี บวธิ วี จิ ยั สาหรบั นสิ ติ (หรือเรยี นพร้อม เภสัชบาบดั 2) เภสชั ศาสตร์ 79155563 เภสัชบาบัด 3

79147163 การฝึกปฏิบตั งิ านวชิ าชีพเภสัชกรรม

ในรา้ นยา

79147263 การฝกึ ปฏิบัตงิ านวิชาชีพเภสชั กรรม

ในโรงพยาบาล

79165163 การฝึกปฏิบตั ิงานเภสัชกรรมชมุ ชน

79165263 การฝึกปฏิบัตงิ านเภสชั กรรมผู้ปว่ ยนอก

79165363 การฝึกปฏบิ ัตงิ านเภสชั กรรมอายุรศาสตร์

79455163 เภสัชบาบัด 4

79455363 เภสัชบาบดั 5

79455563 การประเมินการใช้ยาและการใช้ยาอยา่ ง

สมเหตุสมผล

79147163 การฝกึ ปฏบิ ตั ิงานวชิ าชพี เภสัชกรรม

ในรา้ นยา

79147263 การฝกึ ปฏบิ ตั ิงานวิชาชพี เภสัชกรรม

ในโรงพยาบาล

79462563 การฝกึ ปฏิบตั งิ านวจิ ัยทางผลติ ภณั ฑ์

ธรรมชาติ และเคมยี า

79157163 โครงงานวิจยั ทางเภสัชศาสตร์ 1

ช้ันปีท่ี 5 ภาคการศกึ ษา ต้น

บรุ พวิชา วิชาตอ่ เน่ือง 79155563 เภสัชบาบดั 3 79155663 ปฏบิ ัติการเภสัชบาบัด 3 79157163 โครงงานวิจยั ทาง (หรือเรยี นพรอ้ ม เภสชั บาบดั 3) เภสชั ศาสตร์ 1 79157263 โครงงานวิจยั ทางเภสชั ศาสตร์ 2

คู่มอื นิสติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

ชน้ั ปีท่ี 5 กลมุ่ วชิ าเลอื กวิชาชพี สาขาเนน้ (ภาคการศกึ ษาตน้ และ ภาคการศึกษาปลาย) 40

บุรพวชิ า วิชาต่อเนือ่ ง 79455163 เภสชั บาบัด 4 79165463 การฝึกปฏิบัติงานการบริหารจัดการ 79452763 การวจิ ัยและพัฒนา ดา้ นยา เพือ่ ความปลอดภยั ในการใชย้ า เภสัชภัณฑ์ 79465163 การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านการบรบิ าลทาง 79455363 เภสชั บาบัด 5 เภสชั กรรมขน้ั สูง 1 79455563 การประเมนิ การใชย้ า 79465263 การฝกึ ปฏิบัตงิ านการบรบิ าลทาง และการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เภสัชกรรมข้นั สูง 2 79465363 การฝกึ ปฏิบตั งิ านการบริบาลทาง 79455763 การบริบาลทางเภสชั กรรม เภสัชกรรมสาหรับผปู้ ่วยเฉพาะกลุม่ บนพน้ื ฐานของหลักฐานทางวิชาการ 79465463 การฝกึ ปฏบิ ตั งิ านเภสชั จลนศาสตร์คลนิ กิ 79455263 ปฏิบตั ิการเภสชั บาบัด 4 79450163 การควบคุมคุณภาพอาหาร (หรือเรียนพร้อม เภสัชบาบดั 4) และเครือ่ งสาอาง 79462663 การฝึกปฏิบัตงิ านวจิ ยั และพัฒนาทาง เภสชั อุตสาหกรรม 79462763 การฝกึ ปฏิบตั ิงานข้ึนทะเบียนยา

79455463 ปฏบิ ัติการเภสัชบาบัด 5 (หรือเรียนพร้อม เภสัชบาบดั 5)

79455663 ปฏบิ ตั กิ ารการประเมินการใช้ยา และการใชย้ าอย่างสมเหตสุ มผล (หรือเรียนพร้อม การประเมินการใช้ยา และการใช้ยา อย่างสมเหตุสมผล)

79455863 ปฏิบัติการการบรบิ าลทางเภสัชกรรมบน พื้นฐานของหลักฐานทางวชิ าการ (หรอื เรยี นพร้อม การบรบิ าลทางเภสชั กรรมบนพนื้ ฐาน ของหลกั ฐานทางวชิ าการ)

79450263 ปฏบิ ัตกิ ารการควบคมุ คณุ ภาพอาหาร และเคร่ืองสาอาง (หรือเรียนพร้อม การควบคุมคุณภาพอาหาร และเครื่องสาอาง)

คมู่ ือนิสติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

ความหมายของเลขรหสั วชิ า 41 เลขรหัส 79 เลขรหสั ตวั ที่ 3 หมายถงึ คณะเภสชั ศาสตร์ หมายถึง หมวดวชิ า เลข 0 หมายถึง หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป เลข 1 หมายถงึ หมวดวิชาเอกบงั คับสาขาเภสัชศาสตร์ เลข 2 หมายถึง หมวดวิชาสาหรบั วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ เลข 3 หมายถึง หมวดวิชาเลือกเสรี เลขรหสั ตัวท่ี 4 หมายถงึ ชัน้ ปีทเ่ี ปิดสอน เลขรหสั ตวั ท่ี 5 หมายถึง กลุม่ วิชา ดังตอ่ ไปน้ี เลข 0 หมายถึง เภสชั เคมีและเภสัชวิเคราะห์ เลข 1 หมายถงึ เภสัชเวทและผลติ ภัณฑ์ธรรมชาติ เลข 2 หมายถงึ เทคโนโลยีเภสชั กรรมและเภสชั อตุ สาหการ เลข 3 หมายถึง เภสชั วิทยาและเภสัชกรรมบาบัด เลข 4 หมายถึง เภสชั ศาสตรส์ ังคมและการบริหาร เลข 5 หมายถึง เภสัชกรรมคลนิ ิกและการบริบาลทางเภสชั กรรม เลข 6 หมายถึง เภสชั ศาสตรช์ ีวภาพ เลข 7 หมายถงึ พน้ื ฐานทางวิทยาศาสตร์ เลข 8 หมายถงึ เภสชั สารสนเทศศาสตรแ์ ละสมทุ รเภสัชศาสตร์ เลข 9 หมายถงึ โครงงาน ปัญหาพเิ ศษ สมั มนา วชิ าชีพ

เลขรหัสตัวที่ 5 และ 6 สมั พันธศ์ กึ ษา การศกึ ษาอิสระ และการฝึกงาน หมายถงึ ลาดบั รายวิชาโดยหลักการในหมวดวิชาของ

เลขรหสั ตวั ที่ 5 ในแตล่ ะชน้ั ปี

กฎ ระเบยี บหรอื หลกั เกณฑ์ ในการใหร้ ะดับคะแนน

ใชร้ ะบบการใหค้ ะแนนแบบมคี า่ ระดบั ขน้ั และแบบไม่มคี ่าระดับข้ัน ดงั น้ี

1. การให้คะแนนแบบมีค่าระดับข้ัน แบ่งเป็น 8 ระดับ คือ A, B+, B, C+, C, D+, D

และ F ซงึ่ คดิ เป็นคา่ ระดับข้นั 4.0, 3.5, 3.0, 2.5, 2.0, 1.5, 1.0 และ 0 ตามลาดบั

2. การให้คะแนนแบบไมม่ คี ่าระดับข้ัน ในบางรายวชิ า จะใหค้ ะแนนเปน็

S หมายถงึ ผลการศึกษาผา่ นตามเกณฑ์

U หมายถึง ผลการศึกษาไม่ผ่านตามเกณฑ์

I หมายถึง การประเมนิ ผลยังไมส่ มบูรณ์

W หมายถงึ งดเรียนโดยได้รบั อนมุ ตั ิ

Au หมายถึง การศึกษาโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ

เกณฑก์ ารสาเร็จการศึกษาตามหลกั สตู ร เกณฑก์ ารสาเรจ็ การศกึ ษาเป็นไปตามประกาศมหาวทิ ยาลัยบรู พาเรื่องการศึกษาระดับ

ปริญญาตรี พ.ศ. 2559 และทแ่ี กไ้ ข โดยมหี ลกั เกณฑ์ดังน้ี (1) นิสติ สอบผา่ นรายวิชาครบตามจานวนหน่วยกติ ทีก่ าหนดไว้ในหลักสูตร

คมู่ อื นสิ ติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา

(2) นิสิตเรียนครบตามจานวนหน่วยกิตท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรภายในระยะเวลาไม่เกิน 2 เท่า 42 ของเวลาการศกึ ษาตามหลกั สตู ร (3) นสิ ติ มีระดบั ความสามารถทกั ษะทางภาษาอังกฤษตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย (4) นิสิตสอบได้จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร และได้ค่าระดับขั้นเฉล่ียสะสมไม่น้อยกว่า 2.00 จากระบบคา่ ระดับข้ัน 4.00 (5) นิสิตได้ค่าระดับเฉล่ียสะสมเฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 2.00 จากระบบ คา่ ระดบั ขัน้ 4.00 (6) นิสิตผ่านการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้วยระดับการประเมินเป็นท่ีพอใจ (มีค่าระดับเป็น S) ไมน่ ้อยกวา่ 2,000 ชั่วโมงปฏิบตั งิ าน (7) นิสิตต้องทาจุลนิพนธ์ตามแผนการเรียนการสอนแบบโครงการ (รายวิชาโครงงานวิจัย ทางเภสัชศาสตร์) อีกไม่น้อยกว่า 135 - 270 ช่ัวโมงปฏิบัติการและได้ผลสรุปภายใน 3 เดือน ทาการ เพอื่ นาเสนอและสมั มนา (8) เกณฑ์อนื่ ๆ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศมหาวทิ ยาลัยบูรพา เรือ่ ง การศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 และ “เฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร์” หมายถึง “รายวิชาใดท่ีใช้รหัสของคณะ เภสัชศาสตร์ รวมถึงรายวิชาใด ๆ ซึ่งจัดสอนโดยคณะเภสัชศาสตร์สาหรับนิสิตคณะวิชาอ่ืน หาก นิสิตเภสัชศาสตร์ลงทะเบียนเรียน รายวิชาเลือกเสรีหรือที่เปิดให้บริการนิสิตต่างสาขาวิชา ให้ นาเอาผลการศึกษารายวชิ านั้นมานบั ดว้ ย”

การพน้ จากสภาพนสิ ิต (1) นิสติ ระดับปรญิ ญาตรีตอ้ งพ้นจากสภาพนิสิตในกรณีตอ่ ไปนี้

(ก) สาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรและไดร้ ับปริญญาตามท่มี หาวิทยาลยั ประกาศกาหนด (ข) ได้รบั อนมุ ัตจิ ากคณบดใี หล้ าออก (ค) ถูกคัดช่อื ออกจากมหาวิทยาลัยในกรณดี งั ต่อไปนี้

  1. ไม่ลงทะเบยี นในภาคการศกึ ษาแรกทีข่ ้นึ ทะเบยี นเป็นนิสติ
  2. ไม่ลงทะเบยี นเรยี นในภาคการศึกษาใดภาคการศึกษาหนง่ึ หรือการ

ลงทะเบยี นเรียนไมส่ มบรู ณ์โดยมไิ ดล้ าพกั การเรยี นตามท่ีมหาวิทยาลัย ประกาศกาหนด

  1. ขาดคณุ วุฒิหรอื คุณสมบัตอิ ยา่ งใดอย่างหนง่ึ ตามท่มี หาวิทยาลยั ประกาศกาหนด
  2. เมอ่ื คา่ ระดบั ขน้ั เฉล่ียต่ากวา่ 1.25 ในภาคการศึกษาแรกทล่ี งทะเบียนเรยี น
  3. เมือ่ คา่ ระดับข้นั เฉล่ียสะสมตา่ กว่า 1.75
  4. มีระยะเวลาเรียนครบกาหนดตามท่ีมหาวิทยาลัยประกาศกาหนดแล้วยังไม่ สาเร็จการศกึ ษา
  5. เป็นนิสติ สภาพรอพินจิ ทม่ี ีค่าระดับขัน้ เฉลย่ี สะสมต่ากว่า 1.80 เป็น ระยะเวลา 2 ภาคการศึกษาตอ่ เนื่อง
  6. เปน็ นสิ ติ สภาพรอพนิ ิจที่มีคา่ ระดบั ขนั้ เฉลี่ยสะสมต่ากว่า 2.00 เปน็ ระยะเวลา 4 ภาคการศึกษาตอ่ เน่ือง
  7. กระทาการทจุ ริตหรอื กระทาการส่อเจตนาทจุ รติ ในการวัดผลและไดร้ ับการ พิจารณาให้ถูกลงโทษไลอ่ อก

คมู่ ือนสิ ติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

  1. มคี วามประพฤตเิ ส่อื มเสียอย่างรา้ ยแรงในขณะทีเ่ ปน็ นสิ ิตและ ไดร้ ับการ 43 พิจารณาใหพ้ น้ สภาพนสิ ิต
  1. ทาผิดระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่างร้ายแรงและได้รับการพิจารณา ให้พ้นสภาพนสิ ติ

(ง) ตาย (ตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยบูรพา ว่าดว้ ยการศึกษา พ.ศ. 2559)

การเรียนซา้ หรือการเรียนแทน (1) รายวิชาใดท่ีนิสิตสอบได้ระดับข้ัน D+ หรือ D นิสิตจะลงทะเบียนเรียนซ้าได้เมื่อ

ได้รบั อนุมัตจิ ากคณบดขี องคณะทีร่ ายวิชานน้ั สังกัด (2) นิสิตท่ีได้รับระดับข้ัน F หรือสัญลักษณ์ U ในรายวิชาบังคับ จะต้องลงทะเบียน

เรียนรายวิชานน้ั ซ้าอกี จนกว่าจะไดร้ ะดับขน้ั A, B+, B, C+, C, D+, D หรอื สญั ลักษณ์ S (3) นิสิตท่ีได้รับระดับข้ัน F หรือสัญลักษณ์ U ในรายเลือกในหมวดศึกษาทั่วไปและ

หมวดวิชาเฉพาะ สามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชาอน่ื ๆ ในกลุ่มวิชาเดียวกันแทนได้ เพ่ือให้ครบ ตามเงื่อนไขที่กาหนดไวใ้ นหลกั สูตร

(4) นิสิตทไี่ ดร้ ับระดบั ขนั้ F หรือสญั ลักษณ์ U ในรายวิชาเลือกเสรี สามารถลงทะเบียน เรียนรายวิชาอ่นื ๆ แทนได้ ทั้งน้ี หากเรยี นครบตามเง่ือนไขทกี่ าหนดไวใ้ นหลักสูตรแลว้ จะไม่เลือก รายวิชาเรยี นแทนก็ได้ (ตามประกาศมหาวทิ ยาลัยบูรพา ท่ี 0539/2559 เร่ือง การศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2559)

ระบบการคิดการนับจานวนหนว่ ยกติ ค่าระดบั ข้ันเฉลย่ี สะสม (1) การนับจานวนหน่วยกิตเพ่ือใช้ในการคานวณหาค่าระดับขั้นเฉล่ีย ให้นับจาก

รายวชิ าทีเ่ รียนทงั้ หมดท่มี รี ะบบคะแนนรายวิชาแบบมีค่าระดบั ขน้ั ทั้งสอบได้และสอบตก (2) การนับจานวนหน่วยกติ สะสมรายวชิ า ใหน้ บั เฉพาะหนว่ ยกิต ของรายวิชาท่ีสอบได้

เทา่ นน้ั (3) คา่ ระดบั ข้ันเฉลย่ี เฉพาะภาคการศกึ ษา ให้คานวนจากผลการเรียนของนิสิตในภาค

การศึกษาน้ันโดยนาผลรวมของผลคูณของจานวนหน่วยกิตกับค่าระดับขั้นของแต่ละรายวิชา เปน็ ตวั ตัง้ หารด้วยจานวนหน่วยกติ รวมของภาคการศกึ ษานัน้

(4) ค่าระดับข้ันเฉล่ียสะสม ให้คานวนจากผลการเรียนของนิสิตต้ังแต่เริ่มเข้าเรียน จนถึงภาคการศึกษาสุดท้าย โดยนาผลรวมของผลคูณของจานวนหน่วยกิตกับค่าระดับขั้นของ แต่ละรายวชิ าทเ่ี รยี นท้ังหมดตามข้อ 3 (3) เปน็ ตัวต้งั หารด้วยจานวนหนว่ ยกิตรวมทั้งหมด

(ตามประกาศมหาวทิ ยาลยั บรู พา ท่ี 0539/2559 เร่อื ง การศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2559)

คา่ ใชจ้ า่ ยหลักสูตรเภสัชศาสตรบณั ฑติ (หลักสูตร 6 ปี) หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2563 ภาคการศึกษาปกติ เหมาจา่ ย ภาคละ 75,000 บาท ภาคฤดูร้อน (ถา้ ม)ี เหมาจ่าย ภาคละ 40,000 บาท

คูม่ ือนิสิตคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา

แนวทางการฝกึ ปฏิบัตงิ านและการสอบใบประกอบวชิ าชพี เภสชั กรรม 44

รายวิชาทน่ี สิ ิตตอ้ งผ่านกอ่ นการฝึกปฏบิ ัติงานวชิ าชีพเภสัชกรรม

1. นิสิตต้องสอบผ่านรายวิชาเภสัชบาบัด 2 และ รายวิชาปฏิบัติการเภสัชบาบัด 2 ตามทหี่ ลักสตู รกาหนด ก่อนการฝกึ ปฏิบัติงานวิชาชพี เภสัชกรรมภาคบังคับ

2. นิสิตต้องสอบผ่านระดับคะแนน D ข้ึนไป ในรายวิชาท้ังหมดท่ีลงทะเบียนตาม หลักสูตรกาหนด และต้องมีเกรดเฉลี่ยในรายวิชาบังคับแกนวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 2.00 ก่อนการฝกึ ปฏิบัติงานวิชาชพี เภสัชกรรมสาขาเนน้

3. นิสิตต้องสอบผ่านการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมภาคบังคับก่อน จงึ จะสามารถฝึกปฏิบัตงิ านวชิ าชพี เภสัชกรรมสาขาเนน้

ท้ังน้ี นิสิตไม่สามารถเข้าฝึกปฏิบัติงานในช่วงเวลาท่ีมีการลงทะเบียนเรียน รายวิชาอื่นได้ ยกเว้นกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถ ฝึกปฏิบัติงานในช่วงระยะเวลาปกติได้ เช่น สถานการณ์ของโรคระบาด เป็นต้น โดยต้องผ่ าน ความเห็นชอบจากมติทีป่ ระชุมคณะกรรมการฝกึ ปฏิบัตงิ านวชิ าชีพเภสัชกรรม

คมู่ ือนิสติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ครือ่ งสาอาง 45 หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2565

ชอื่ ปริญญาและสาขาวชิ า : วิทยาศาสตรบณั ฑิต ช่ือปริญญาภาษาไทย (วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเครือ่ งสาอาง) Bachelor of Science ชอ่ื ปริญญาภาษาองั กฤษ : (Cosmetic Science and Technology) วท.บ. อักษรยอ่ (อภิไธย) ภาษาไทย : B.Sc. อกั ษรยอ่ (อภิไธย) ภาษาองั กฤษ :

จานวนหน่วยกิตทเี่ รยี นตลอดหลักสตู ร ไม่น้อยกวา่ 124 หนว่ ยกิต

รปู แบบของหลกั สตู ร

 หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี  หลกั สตู รปรญิ ญาตรี 5 ปี  หลกั สูตรปรญิ ญาตรี 6 ปี

ปรัชญาของหลกั สูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครื่องสาอาง

มุ่งพัฒนาผู้เรียนด้วยกระบวนการเรียนรู้คู่การปฏิบัติให้มีความรู้ความเช่ียวชาญด้านวิทยาการ เครื่องสาอางแบบครบวงจร เกิดประสบการณ์ท่ีเน้นสภาพแวดล้อมการทางานจริง ในสถาน ประกอบการให้เป็นผู้มีสมรรถนะท่ีสนองตอบการเปลี่ยนแปลงของโลก เน้นองค์ความรู้ทางด้าน เทคโนโลยกี ารวจิ ัยและพัฒนาเคร่ืองสาอางในรูปแบบตา่ ง ๆ อยา่ งยง่ั ยืนในการพฒั นาอตุ สาหกรรม เคร่ืองสาอาง รวมท้ังการพัฒนาสังคม โดยมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสามารถเป็นผู้ท่ีเรียนรู้ ตลอดชีวติ

ความสาคัญของหลักสตู ร ปัจจุบันความรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเี กีย่ วกับความสวยความงาม ได้รับ

ความสนใจอย่างแพร่หลาย โดยมีกระแสการเปลี่ยนแปลงเพ่ือคิดค้นผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมทาง เคร่ืองสาอางต่าง ๆ เพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคทั่วไปและกลุ่มผู้บริโภคที่กาลังเขา้ สู่ สังคมผู้สูงอายุท้ัง ระดับประเทศและระดับโลกที่มีเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เห็นการรวมกลุ่มกันเพื่อ เปิดศูนย์กลางทางเศรษฐกิจการค้าที่หลากหลาย เช่น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การจัดตั้ง หลักสูตรการเรียนรู้ท่ีเป็นวิทยาศาสตร์สาหรับสร้างบัณฑิตศักยภาพสูงทั้งทางด้านองค์ความรู้ทาง วิชาการและทักษะการปฏิบัติงานจริง ท่ีสามารถบูรณาการกับการประกอบอาชีพในอนาคตและ

ค่มู ือนสิ ติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

การใช้ชีวิตประจาวันจึงจาเป็นอย่างยิง่ ดังน้ัน คณะเภสัชศาสตร์ไดเ้ ล็งเห็นความสาคัญดังกลา่ วใน 46 การผลิตบัณฑิตเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการที่สอดรับกับตลาดแรงงานในศาสตร์เคร่ืองสาอาง ซ่ึง มุ่งหวังให้บัณฑิตท่ีจบไปสามารถปฏิบัติงานในส่วนงานต่าง ๆ อาทิ เช่น กรม กอง กระทรวง สาธารณสุข รวมท้ังสถาบันวิจัยต่าง ๆ ตลอดจนสามารถประกอบธุรกิจเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ ทางด้านความงามได้

วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร เม่ือส้นิ สดุ การเรยี นการสอนตามหลกั สูตรแลว้ บัณฑติ จะมสี มรรถนะ ดังน้ี 1. สามารถดาเนินงานทางด้านเครอ่ื งสาอาง ดว้ ยความซ่ือสัตย์ มีระเบยี บวินยั มีความ

กลา้ หาญทางจริยธรรม ภายใต้กฎ ระเบียบ มาตรฐาน และข้อบงั คบั โดยคานึงถงึ การเปน็ พลเมือง ที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก และตระหนักถึงศิลปะวัฒนธรรมที่ดีงามในเอกลักษณ์ของความ เป็นไทย

2. สามารถนาเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามาใช้ในกระบวนการผลิตเคร่ืองสาอางภายใต้ หลักการและทฤษฎีพืน้ ฐานท่ีเกีย่ วข้องกบั เครือ่ งสาอาง

3. เป็นผู้แสวงหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของเคร่ืองสาอาง และ สามารถประยุกต์เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ตลอดจนมีทักษะการคิดแบบองค์รวมเพื่อ แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งบูรณาการองค์ ความรู้ทางดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของเครื่องสาอาง เพื่อพัฒนาผลติ ภัณฑท์ ม่ี ีคุณภาพและ ปลอดภัย

คณุ ลกั ษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา คุณภาพของวิทยาศาสตรบัณฑิต เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 โดยมผี ลลพั ธ์การเรยี นรู้ทั้ง 6 ด้าน ดงั น้ี 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (1) แสดงออกถึงความซ่ือสัตย์ มีระเบียบวินัย มีศิลปวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยเฉพาะ

เอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย (2) แสดงพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก มีจิตสาธารณะ

ร่วมแกป้ ญั หาสงั คม ต่อตา้ นการทจุ ริต (3) แสดงพฤตกิ รรมทส่ี ะทอ้ นถงึ คุณธรรมจรยิ ธรรมในเรอ่ื งความซอื่ สัตย์ มวี นิ ัย ภายใต้

กฎ ระเบียบ และข้อบงั คบั ในการปฏิบตั งิ านด้านเครื่องสาอาง (4) แสดงพฤตกิ รรมที่สะท้อนถึงความกล้าหาญทางจริยธรรม โดยการร่วมตอ่ ตา้ นการ

ทุจริต ปฏิเสธการปฏิบัติที่ไมถ่ กู ตอ้ ง ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การปฏิบัติงาน ดา้ นเคร่อื งสาอาง

คู่มือนิสิตคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา

2. ความรู้ 47 (1) มีความรอบรู้ เท่าทันต่อการพัฒนาและการเปล่ียนแปลงของภูมิภาคในเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก และของโลก (2) อธิบายและเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าในกระบวนการผลิตเครื่องสาอางด้วย หลักการและทฤษฎพี นื้ ฐานทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับเครื่องสาอางได้อย่างถูกตอ้ ง 3. ทกั ษะทางปญั ญา (1) ทักษะการแสวงหาความรู้ตลอดชีวิต วิเคราะหต์ นเอง สร้างแผนการใชช้ ีวิตอยา่ งมี คณุ ภาพ (2) มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการข้ามศาสตร์ใช้ในการแกป้ ัญหา ร่วม สร้างสรรคน์ วตั กรรม (3) สามารถใชค้ วามรู้และทกั ษะต่าง ๆ ในการเปน็ ผปู้ ระกอบการ (4) ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเครื่อง สาอาง อยา่ งตอ่ เนื่องนาไปสู่การปฏิบตั ิและเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต (5) วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และวางแผนเพ่ือแก้ปัญหาจากสถานการณ์จาลองที่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงความเปน็ ผรู้ อบรู้ (6) วางแผน ออกแบบ และดาเนินการผลิตเคร่ืองสาอาง ภายใต้การวิจัยและพัฒนา นวัตกรรม โดยคานึงถึงคุณภาพและความปลอดภัยเปน็ หลัก 4. ทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่างบุคคล และความรบั ผิดชอบ (1) รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นในพหุวัฒนธรรม และ แสดงความคดิ เห็นไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ (2) สามารถทางานเป็นทีม ท้ังในฐานะผู้นาและสมาชิกท่ดี ขี องกลุ่ม (3) แสดงออกถึงพฤติกรรมด้านอารมณ์ในการปฏิบัติงานเป็นทีมด้วยการมีภาวะผู้นา มีความรับผดิ ชอบ มีจติ สาธารณะ มนุษยสมั พนั ธท์ ่ดี ี และรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ นื่ 5. ทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สามารถใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั ในการแสวงหาขอ้ มลู อย่างรเู้ ทา่ ทันและหลากหลาย (2) สามารถสื่อสารภาษาองั กฤษและภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม (3) ใช้ขอ้ มูลเชงิ ตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรเู้ ทา่ ทนั (๔) เลอื กใชค้ ณิตศาสตร์ สถิติ ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลและแปลผลอยา่ งเหมาะสม (๕) นาเสนอและส่อื สารขอ้ มูลกับกลุ่มคนหลากหลาย ทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษได้ 6. ทกั ษะการทางานวจิ ยั เชงิ บูรณาการ (1) ปฏบิ ตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพทงั้ ภายในห้องปฏบิ ัติการของสถานประกอบการ อุตสาหกรรมหรือหน่วยงานภาครัฐท่ีมีการวิจัยและพัฒนาเคร่ืองสาอางด้วยการบูรณาการองค์ ความรู้ท่เี ป็นปัจจุบนั

ค่มู ือนิสติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

การประกนั คุณภาพหลักสูตร 48 ในการจัดกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตรนี้ ได้ยึดถือและปฏิบัติตามกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม โดยมีอาจารย์ประจา หลักสูตร 5 คน เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารหลักสูตร มีระบบและกลไกจัดการวางแผนการ จัดการเรียนการสอนร่วมกับคณะติดตามและรวบรวมข้อมูลเพ่ือใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมีคณบดีและฝ่ายวิชาการเป็นผู้กากับดูแลกาหนดนโยบายปฏิบัติ โดยอยู่ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และมีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบ ระยะเวลาทกี่ าหนด (ภายใน 5 ปี) ตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร

แผนการศึกษาของนิสติ ในหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเี ครอื่ งสาอาง หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2565 ในแต่ละภาคเรียน จานวนรวมทั้งหมด 124 หน่วยกิต

  1. หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป 30 หนว่ ยกิต 1.1) กลมุ่ วชิ าทักษะการใชช้ วี ติ คุณภาพ 9 หนว่ ยกติ 1.2) กล่มุ วิชาพลเมืองไทยและพลเมืองโลก 12 หน่วยกิต 1.3) กลุ่มวิชาทเ่ี สริมสมรรถนะการทางานในโลกอนาคต 9 หนว่ ยกิต
  1. หมวดวชิ าเฉพาะ 88 หน่วยกติ 2.1) วชิ าแกน 25 หน่วยกิต 2.2) วชิ าเอก 63 หนว่ ยกิต
  1. หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต

คมู่ อื นสิ ติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา