คณะน ต ศาสตร มหาว ทยาล ยเกษตรศาสตร ม เอกอะไร

แนวทางการประกอบอาชีพ : ผู้ทำบัญชี, ผู้สอบบัญชี, นักวิเคราะห์ทางการเงิน, ฝ่ายการตลาด, นักวิจัยและพัฒนา, นักขาย, เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์, ผู้บริหาร หรือพนักงานในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคาร ร้านอาหาร การจัดเลี้ยง การขนส่ง เป็นต้น

2. คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร

2.1 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต (พทป.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์

2.2 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต (พท.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย

แนวทางการประกอบอาชีพ : แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือแพทย์แผนไทย ตามโรงพยาบาล สถานพยาบาล หรือศูนย์สุขภาพ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น คลินิกส่วนตัว ร้านนวด ร้านสปา เป็นต้น

3. คณะพยาบาลศาสตร์ (พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.)) มีหลักสูตรไทย 1 สาขาวิชา และหลักสูตรภาษาอังกฤษ 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ - สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (หลักสูตรภาษาอังกฤษ)

แนวทางการประกอบอาชีพ : พยาบาลวิชาชีพ ทั้งในโรงพยาบาลของรัฐ และเอกชน รวมถึงในสถานประกอบการสุขภาพอื่นๆ

4. คณะแพทยศาสตร์ (แพทยศาสตรบัณฑิต (พบ.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาแพทยศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : แพทย์ ทั้งในโรงพยาบาล, คลินิกส่วนตัว หรือตามหน่วยงานสาธารณสุข ต่างๆ รวมไปถึงนักวิจัย นักวิชาการ อาจารย์ หรือประกอบธุรกิจส่วนตัว

5. คณะเภสัชศาสตร์ (เภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเภสัชศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : เภสัชกรประจำโรงพยาบาล, เภสัชกรประจำโรงงานอุตสาหกรรมยาและเครื่องสำอาง, เภสัชกรประจำร้านขายยา, อาจารย์, นักวิจัย

6. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ (วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักภูมิศาสตร์, ช่างสำรวจ, นักวิชาการ, นักวิจัย, อาจารย์ หรือเจ้าหน้าที่ตามหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอุตินิยมวิทยา กรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมอุทยานแห่งชาติ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต เป็นต้น

7. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

7.1 หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) มี 1 สาขาวิชาคือ

- สาขาวิชานิเทศศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักสื่อสารการตลาด, นักสื่อสารมวลชน, นักโฆษณา, นักประชาสัมพันธ์, นักสื่อสารองค์กร

7.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาจิตวิทยา (กลุ่มจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักจิตวิทยา, งานด้านทรัพยากรบุคคล, การฝึกอบรม, ที่ปรึกษาและพัฒนาองค์การ

7.3 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 11 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาประวัติศาสตร์ - สาขาวิชาการจัดการบริการสังคม - สาขาวิชาภาษาเกาหลี - สาขาวิชาภาษาจีน - สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น - สาขาวิชาภาษาไทย - สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศาเพื่อการสื่อสาร - สาขาวิชาภาษาอังกฤษ - สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา - สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา - สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเขียน, นักแปล, ล่าม, ฝ่ายพิสูจน์อักษร, นักประชาสัมพันธ์, มัคคุเทศก์, พนักงานต้อนรับ, แอร์โฮสเตส, เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป, บรรณารักษ์, นักสารสนเทศ, ครู-อาจารย์ หรืองานที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาต่างๆ

7.4 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเศรษฐศาสตร์, ที่ปรึกษาด้านการเงิน, ที่ปรึกษาทางธุรกิจ, นักวิเคระห์นโยบาย, นักวิเคราะห์งบประมาณ หรือนักวิชาการ-นักวิจัย

8. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์

8.1 หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชารัฐศาสตร์

8.2 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป - สาขาวิชาการบริหารท้องถิ่น

8.3 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชานิติศาสตร์

แนวทางการประกอบอาชีพ : นิติกร, ทนาย, ข้าราชการ, พนักงานของรัฐ หรือเอกชน ด้านการบริหารจัดการ การบริหารบุคคล การตลาด การวิเคราะห์และพัฒนา กฎหมาย, นักวิชาการ, สื่อสารมวลชน

9. คณะโลจิสติกส์

9.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) - สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี - สาขาวิชาการจัดการโลติสติกส์ - สาขาวิชาวิศวกรรมโซ่อุปทาน

9.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.)

- สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลติสติกส์ - สาขาวิชาธุรกิจพาณิชนาวี

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเดินเรือ, ฝ่ายจัดซื้อ, ฝ่ายผลิต, แผนกนำเข้า-ส่งออก, ทำงานในบริษัทที่เกี่วข้องกับการขนส่ง การขนส่งทางทะเล หรือการค้าระหว่างประเทศ

10. คณะวิิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 11 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาคณิตศาสตร์ - สาขาวิชาจุลชีววิทยา - สาขาวิชาชีววิทยา - สาขาวิชาฟิสิกส์ - สาขาวิชาวาริชศาสตร์ - สาขาวิชาสถิติ - สาขาวิชาเคมี - สาขาวิชาชีวเคมี - สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ - สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์, นักวิชาการ, นักวิจัย, ครู-อาจารย์ หรือ อาชีพตามสาขาวิชาที่เรียนมา เช่น โปรแกรมเมอร์, นักจุลชีววิทยา, นักชีววิทยา, ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม, เจ้าหน้าที่ควบคุมพลังงาน, นักฟิสิกส์ประยุกต์, นักวิชาการประมง, นักวิเคราะห์ข้อมูล

11. คณะวิิทยาศาสตร์การกีฬา

11.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา

11.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาสื่อสารมวลชนทางกีฬา - สาขาวิชาการจัดการและการสอนกีฬา

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์การกีฬา, ผู้ฝึกสอนกีฬา, เจ้าหน้าที่จัดการแข่งขัน, ผู้สื่อข่าวกีฬา, นักประชาสัมพันธ์, ครู-อาจารย์ หรือประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการกีฬา

12. คณะวิทยาการสารสนเทศ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 4 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟตแวร์ - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาปัญญาประดิษฐ์ประยุกต์และเทคโนโลยีอัจฉริยะ

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ, ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล, โปรแกรมเมอร์, นักประกันคุณภาพซอฟต์แวร์, นักพัฒนาเว็บไซต์

13. คณะวิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)) มี 8 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ - สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล - สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ - สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม - สาขาวิชาวิศวกรรมระบบสมองกลฝังตัว

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิศวกรในด้านต่างๆ ตามสาขาที่เรียนมา เช่น ด้านกระบวนการผลิต, ด้านการออกแบบอาคาร, ด้านการทำงานของเครื่องจักร-เครื่องยนต์, ด้านระบบไฟฟ้า เป็นต้น รวมไปถึงครู-อาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัยในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

14. คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.)) มี 5 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาจิตรกรรม - สาขาวิชากราฟิกอาร์ต และกราฟิกมีเดีย - สาขาวิชานิเทศศิลป์ - สาขาวิชาออกแบบเซรามิกส์ - สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์

แนวทางการประกอบอาชีพ : ศิลปิน, นักออกแบบในสายต่างๆ ที่เรียนมา, กราฟิกดีไซน์เนอร์, งานในอุตสาหกรรมบันเทิง, บุคลากรทางการศึกษา

15. คณะศึกษาศาสตร์ (การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.)) มี 11 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาภาษาจีน (5 ปี) - สาขาวิชาศิลปศึกษา - สาขาวิชาเคมี - สาขาวิชาคณิตศาสตร์ - สาขาวิชาพลศึกษา - สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา - สาขาวิชาชีววิทยา - สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย - สาขาวิชาดนตรีศึกษา - สาขาวิชาฟิสิกส์ - สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมศึกษา

แนวทางการประกอบอาชีพ : ครู-อาจารย์ หรือบุคลากรทางการศึกษาในด้านต่างๆ ที่เรียนมา รวมไปถึงนักวิชาการ และนักวิจัย

16. คณะสาธารณสุขศาสตร์

16.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 3 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม - สาขาวิชาสุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย - สาขาวิชาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ

16.2 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิชาการสาธารณสุข, นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ, นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม, นักอนามัยสิ่งแวดล้อม, นักพัฒนาชุมชน นักพัฒนาองค์กรเอกชน, นักวิจัย

17. คณะดนตรีและการแสดง

17.1 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาดนตรี (ดนตรีไทย/ดนตรีสากล) - สาขาวิชาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์และการกำกับลีลา/ศิลปะการละคร)

17.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการจัดการผลิตสื่อและวัฒนธรรมสร้างสรรค์

แนวทางการประกอบอาชีพ : ศิลปิน, นักดนตรี, นักแสดง, ผู้จัดการศิลปิน, ผู้อำนวยการผลิต, ผู้จัดการกองถ่าย, ผู้กำกับ, นักออกแบบท่าเต้น, ครู-อาจารย์ ในด้านการแสดง และดนตรี-นาฏศิลป์

18. คณะสหเวชศาสตร์ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 5 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ - สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ - สาขาวิชาพยาธิวิทยากายวิภาค - สาขาวิชากายภาพบำบัด - สาขาวิชาโภชนบำบัดและการกำหนดอาหาร

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิชาชีพตามสายที่เรียนมา เช่น นักกายภาพบำบัด, นักเทคนิคการแพทย์, นักวิทยาศาสตร์การแพทย์, นักพยาธิวิทยากายวิภาค, นักโภชนาการ เป็นต้น หรือทำงานที่เกี่ยวกับด้านสุขภาพ, งานที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์, นักวิจัย, อาจารย์

19. วิทยาลัยนานาชาติ

19.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) มี 5 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยวนานาชาติ - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการเงิน - สาขาวิชาธรุกิจระหว่างประเทศ

แนวทางการประกอบอาชีพ : งานบริหารในอุตสาหกรรมการโรงเแรม การท่องเที่ยว ทั้งในและต่างประเทศ, งานที่ใช้ความสามารถทางด้านภาษา, งานด้านการเงินและการธนาคาร, ระบบโลจิสติกส์-การขนส่งต่างๆ และงานด้าน IT

19.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการติดต่อสื่อสาร

แนวทางการประกอบอาชีพ : งานด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์, ผู้ประสานงาน, งานประชาสัมพันธ์, ล่าม

19.3 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ) 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชานิเทศศิลป์และการออกแบบ

แนวทางการประกอบอาชีพ : งานด้านสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ และสื่อสิ่งพิมพ์, ออกแบบงานศิลป์, กราฟิกดีไซเนอร์

20. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ (วิทยาเขตจันทบุรี)

20.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 3 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร - สาขาวิชาปัญญาประดิษฐ์ประยุกต์และเทคโนโลยีอัจฉริยะ

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักเทคโนโลยีสารสนเทศ, นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ, นักพัฒนาเว็บไซต์, ผู้ดูแลเครือข่าย, นักวิจัยด้านการเกษตร

20.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการตลาด

- สาขาวิชาการเงิน (การจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน)

แนวทางการประกอบอาชีพ : เจ้าหน้าที่ด้านการลงทุน, เจ้าหน้าที่วิเคราะห์หลักทรัพย์, นักวางแผนและจัดการการเงิน, ทำหน้าที่เกี่ยวกับการผลิต, การจัดซื้อ, การขนส่งสินค้า, การนำเข้า-ส่งออก

20.3 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักแปล, ล่าม, พนักงานองค์กรระหว่างประเทศ หรืองานที่ใช้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ

21. คณะอัญมณี (วิทยาเขตจันทบุรี)

21.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาอัญมณีและเครื่องประดับ

21.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ

21.3 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการออกแบบเครื่ีองประดับ

แนวทางการประกอบอาชีพ : วิเคราะห์วิจัยอัญมณีและเครื่องประดับ, ควบคุมการผลิตอัญมณีและเครื่องประดับ, ฝ่ายขาย-ฝ่ายการตลาดในธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ, นักออกแบบ-ดีไซน์เนอร์อัญมณีและเครื่องประดับ

22. คณะเทคโนโลยีทางทะเล วิทยาเขตจันทบุรี (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเทคโนโลยีทางทะเล

แนวทางการประกอบอาชีพ : งานด้านวิจัย หรือธุรกิจ ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางทะเล

23. คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาเขตสระแก้ว

23.1 หลักสูตรบริหารธุรกิตบัณฑิต (บธ.บ.) มี 2 สาขาวิชา คิือ

- สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน

23.2 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป

23.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจ - สาขาวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

แนวทางการประกอบอาชีพ : ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, การนำเข้า-ส่งออก-จัดซื้อสินค้าทั้งในและต่างประเทศ, งานบริหารทั่วๆ ไป, นักวิเคราะห์นโยบายและแผน, นักวิเคราะหฺและออกแบบระบบสารสนเทศ, นักพัฒนาระบบ, ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม

24. คณะเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาเขตสระแก้ว (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 2 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์/สัตวศาสตร์) - สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการเกษตร

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์ หรืองานในธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการเกษตร หรืออุตสาหกรรมเกี่ยวกับสัตว์, อาจารย์-นักวิจัยในสถาบันการศึกษา, สัตวบาล

25. โครงการจัดตั้ง คณะพาริชยศาสตร์และบริหารธุรกิจ วิทยาเขตสระแก้ว (บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.)) มี 1 สาขาวิชา คือ

- สาขาวิชาการจัดการ

แนวทางการประกอบอาชีพ : นักบริหารฝ่ายต่างๆ ขององค์กร, นักจัดระบบปฏิบัติงาน, นักวางแผนเชิงธุรกิจ, นักการตลาด, นักโฆษณา, นักประชาสัมพันธ์

วิศวะ ม.เกษตร มีสาขาอะไรบ้าง

หลักสูตรระดับปริญญาตรี.

วศ.บ.วิศวกรรมเคมี.

วศ.บ.วิศวกรรมโยธา.

วศ.บ.วิศวกรรมคอมพิวเตอร์.

วศ.บ.วิศวกรรมไฟฟ้า.

วศ.บ.วิศวกรรมอุตสาหการ.

วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล.

วศ.บ.วิศวกรรมโยธา-ทรัพยากรน้ำ.

วศ.บ.วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม.

คณะเกษตร ม.เกษตร มีสาขาอะไรบ้าง

สาขาของคณะเกษตรมีสาขาไหนบ้างที่น่าสนใจ ?.

สาขาพืชสวน ... .

สาขาพืชไร่ ... .

สาขาปฐพีศาสตร์ ... .

สาขาพืชผัก ... .

สาขาโรคพืชวิทยา ... .

สาขากีฏวิทยา ... .

สาขาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร.

คณะเกษตรมีกี่สาขา

1. เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้พื้นฐานทางการเกษตรและเลือกเรียน เพื่อสร้างความเชี่ยวชาญได้ถึง 7 สาขาวิชาเอก ได้แก่ สาขาวิชาเอกพืชไร่ พืชสวน ปฐพีศาสตร์ กีฏวิทยา โรคพืช ส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร และเกษตรที่สูงและทรัพยากรธรรมชาติ

ม.เกษตรค่าเทอมเท่าไร

อัตราค่าเล่าเรียน ม.เกษตรศาสตร์.