แผนการ สอน สังคม ม.1 หน้าที่พลเมือง

โดยแผนการสอนนั้นมีเนื้อหาอย่างละเอียดตั้งแต่เรื่อง ประวัติศาสตร์ พุทธศาสนาและหน้าที่พลเมือง ร่วมทั้งวิเคราะห์หลักสูตรด้วย คุณครูสามารถนำไปใช้ได้เลยครับ

แผนการสอนวิชาสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1

แผนการสอนวิชาสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2

แผนการสอนวิชาสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3

ที่มา hongpakkroo.com

สังคมศึกษา แจกแผนการสอน แผนการสอน

Share on Facebook Share on Twitter

แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1 from เซียงน้อยขี่ไก่ขาง เด้อ

  • แผนการสอน
แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ป.1 – ม.6 ดาวน์โหลดที่นี่..

โดย

kroonot

-

มิถุนายน 28, 2019

11669

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ป.1 – ม.6 ดาวน์โหลดที่นี่..

สวัสดีครับวันนี้เว็บไซครูอัพเดตดอทคอมขอนำสิ่งดีดีมาฝากคุณครูเช่นเคย โดยในวันนี้ครูอัพเดตดอทคอม ขอนำ
แผนการสอนหน้าที่พลเมือง หรือแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาหน้าที่พลเมือง ระดับชั้น ป.1 – ม.6  ที่ทางอจท. แจกฟรี  สำหรับแผนการสอนหน้าที่พลเมือง หรือแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาหน้าที่พลเมือง ระดับชั้น ป.1 – ม.6  ที่นำมาเผยแพร่นี้ เว็บไซต์ ครูอัพเดตดอทคอม ต้องขอขอบคุณทางสำนักพิมพ์ อจท. ที่เปิดโอกาสให้ทุกท่านได้ดาวน์โหลด แผนการสอนหน้าที่พลเมือง หรือแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาหน้าที่พลเมือง ระดับชั้น ป.1 – ม.6  ในครั้งนี้

ค้นหาแผนการสอนรายวิชาอื่น คลิกที่นี่

แผนการ สอน สังคม ม.1 หน้าที่พลเมือง
แผนการ สอน สังคม ม.1 หน้าที่พลเมือง
แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ป.1 – ม.6

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ป.1 – ม.6 ประกอบด้วย

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

แผนการสอน หน้าที่พลเมือง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6

วิธีการดาวน์โหลด คลิกที่นี่ 

ดาวน์โหลดที่ลิ้งก์นี้  http://www.aksorn.com/download/

ขอขอบคุณที่มา สำนักพิมพ์ อจท.

แผนการ สอน สังคม ม.1 หน้าที่พลเมือง
แผนการ สอน สังคม ม.1 หน้าที่พลเมือง

  • แท็ก
  • ดาวน์โหลดแผน
  • แผนการจัดการเรียนรู้
  • แผนการสอน
  • แผนการสอน หน้าที่พลเมือง
  • แผนการสอน อจท.

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

บทความก่อนหน้านี้เทศบาลนครราชสีมา รับสมัคร พนักงานจ้าง สังกัดสำนักการศึกษา หลายอัตรา

บทความถัดไปมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

kroonot

คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา สาระการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง รหัสวิชา ส21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายสอดคล้อง กับสาระการเรียนรู้และตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่งประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้จำนวน 4 หน่วย ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง รัฐธรรมนูญของเรา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง กฎหมายคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย อนึ่งหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ คงจะมีประโยชน์ต่อครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม บ้างไม่มากก็น้อย ในการใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน และการจัดทำแผนการเรียนรู้ นอกจากนี้อาจจะทำให้การศึกษาของชาติมีการพัฒนามากขึ้น ขอขอบพระคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนทำให้แผนการจัดการเรียนรู้นี้สำเร็จลงด้วยดี ไพศาล พนมใหญ่ แบบกำหนดการจัดการเรียนรู้รายภาคเรียน โรงเรียนวัดหนองรี สพป.นครนายก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส 21101 รายวิชา สังคมศึกษา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 *********************************************************************************************** สัปดาห์ ที่ แผน การสอนที่ วัน/เดือน/ ปี ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวน ชั่วโมง หมาย เหตุ 1 1 18 พ.ค. 65 ส 1.1 ม.1/1 - การทำสังคายนา 1 2 20 พ.ค. 65 ส 1.1 ม.1/1 - การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เข้าสู่ประเทศไทย (1) 1 2 3 23 พ.ค. 65 ส 1.1 ม.1/2 - ความสำคัญของ พระพุทธศาสนา ต่อสังคมไทย (2) 1 4 25 พ.ค. 65 ส 1.1 ม.1/2 - ความสำคัญของ พระพุทธศาสนา ต่อสังคมไทย (3) 1 5 27 พ.ค. 65 ส 1.1 ม.1/3 - พุทธประวัติ (1) 1 3 6 30 พ.ค. 65 ส 1.1 ม.1/3 - พุทธประวัติ (2) 1 7 1 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/4 - พุทธสาวก พุทธสาวิกา (1) 1 4 8 6 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/4 - พุทธสาวก พุทธสาวิกา (2) 1 9 8 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/4 - ชาดก (1) 1 สัปดาห์ ที่ แผน การสอนที่ วัน/เดือน/ ปี ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวน ชั่วโมง หมาย เหตุ 4 10 10 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/4 - ชาดก (2) 1 5 11 13 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/5 - พระรัตนตรัย 1 12 15 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/5 - อริยสัจ 4 (1) 1 13 17 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/5 - อริยสัจ 4 (2) 1 6 14 20 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/5 - อริยสัจ 4 (3) 1 15 22 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/5 - อริยสัจ 4 (4) 1 16 24 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/5 - อริยสัจ 4 (5) 1 7 17 27 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/5 - อริยสัจ 4 (6) 1 18 29 มิ.ย. 65 ส 1.1 ม.1/5 - พุทธศาสนสุภาษิต (1) 1 19 1 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/5 - พุทธศาสนสุภาษิต (2) 1 8 20 4 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/5 - พุทธศาสนสุภาษิต (3) 1 21 6 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/5 - พุทธศาสนสุภาษิต (4) 1 22 8 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/6 - การเจริญปัญญาด้วยการคิด แบบโยนิโสมนสิการ (1) 1 9 23 11 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/6 - การเจริญปัญญาด้วยการคิด แบบโยนิโสมนสิการ (2) 1 10 24 18 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/7 - การบริหารจิต และเจริญ ปัญญา (1) 1 สัปดาห์ ที่ แผน การสอนที่ วัน/เดือน/ ปี ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวน ชั่วโมง หมาย เหตุ 10 25 20 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/7 - การบริหารจิต และเจริญ ปัญญา (2) 1 26 22 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/7 - การบริหารจิต และเจริญ ปัญญา (3) 1 11 27 25 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/7 - การบริหารจิต และเจริญ ปัญญา (4) 1 28 27 ก.ค. 65 ส 1.1 ม.1/9 - ศาสนสัมพันธ์ (1) 1 12 29 1 ส.ค. 65 ส 1.1 ม.1/9 - ศาสนสัมพันธ์(2) 1 30 3 ส.ค. 65 ส 1.1 ม.1/9 - ศาสนสัมพันธ์(3) 1 31 5 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/1 - หน้าที่ชาวพุทธ (1) 1 13 32 8 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/1 - หน้าที่ชาวพุทธ (2) 1 33 10 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/3 - มารยาทชาวพุทธ (1) 1 14 34 15 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/3 - มารยาทชาวพุทธ (2) 1 35 17 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/3 - มารยาทชาวพุทธ (3) 1 36 19 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/5 - วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (1) 1 15 37 22 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/5 - วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (2) 1 38 24 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/5 - วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (3) 1 สัปดาห์ ที่ แผน การสอนที่ วัน/เดือน/ ปี ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวน ชั่วโมง หมาย เหตุ 15 39 26 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/5 - วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (4) 1 16 40 29 ส.ค. 65 ส 1.2 ม.1/5 - วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (5) 1 41 31 ส.ค. 65 ส 2.1 ม.1/2 - บทบาทหน้าที่ของเยาวชน ที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ 1 42 2 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/4 - การเคารพสิทธิ และเสรีภาพ ของตนเอง และผู้อื่น (1) 1 17 43 5 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/4 - การเคารพสิทธิ และเสรีภาพ ของตนเอง และผู้อื่น (2) 1 44 7 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/4 - การปฏิบัติตนในการเคารพ สิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น 1 45 9 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ 1 18 46 12 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย 1 47 14 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 1 48 16 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - หลักการของรัฐธรรมนูญ 1 19 49 19 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/2 - อำนาจอธิปไตย 1 สัปดาห์ ที่ แผน การสอนที่ วัน/เดือน/ ปี ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวน ชั่วโมง หมาย เหตุ 19 50 21 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ของบุคคลที่สำคัญ (1) 1 51 23 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ของบุคคลที่สำคัญ (2) 1 20 52 26 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ของบุคคลที่สำคัญ (3) 1 53 26 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ของบุคคลที่สำคัญ (4) 1 54 28 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/1 - ประโยชน์ของการปฏิบัติตน ตามกฎหมายคุ้มครองสิทธิของ บุคคล 1 55 28 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/3 - วัฒนธรรมไทย (1) 1 56 30 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/3 - วัฒนธรรมไทย (2) 1 57 30 ก.ย. 65 ส 2.1 ม.1/3 - วัฒนธรรมไทย (3) 1 21 58 3 ต.ค. 65 ส 2.1 ม.1/3 - วัฒนธรรมไทย (4) 1 59 3 ต.ค. 65 ส 2.1 ม.1/3 - วัฒนธรรมกับปัจจัย ในการสร้างความสัมพันธ์อันดี 1 สัปดาห์ ที่ แผน การสอนที่ วัน/เดือน/ ปี ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวน ชั่วโมง หมาย เหตุ 21 60 3 ต.ค. 65 ส 2.1 ม.1/3 - วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัย ที่อาจนำไปสู่ความเข้าใจผิด ต่อกัน 1 รวม 60 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 41/60 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัส ส21101 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ชื่อวิชา หน้าที่พลเมือง ฯ เรื่อง บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายไพศาล พนมใหญ่ โรงเรียนวัดหนองรี สพป.นครนายก ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข 2. ตัวชี้วัด ม.1/2 ระบุความสามารถของตนเองในการทำประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ 3. สาระสำคัญ ประชาชนทุกคนจะต้องเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของเยาวชนได้ (K) 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสำคัญของเยาวชนได้ (P) 3. นักเรียนเห็นความสำคัญของความสำคัญของเยาวชน (A) 5. สาระการเรียนรู้ บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ - ความสำคัญของเยาวชน 6. สมรรถนะที่สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ซื่อสัตย์สุจริต 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ 7. ภาระ/ชิ้นงาน - 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. หลังจากที่นักเรียนเข้าห้องเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วครูผู้สอนก็ได้เริ่มแนะนำในสิ่งที่จะเรียน ในคาบนี้โดยต้องการให้นักเรียนได้รับความรู้ครูจะมีการตั้งคำถามกับนักเรียนดังนี้ 1.1 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าความสำคัญของเยาวชนเป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร (K) 1.2 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องความสำคัญของเยาวชนมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ อย่างไรบ้าง (P) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายในเรื่อง ความสำคัญของเยาวชน โดยในการบรรยายใช้สื่อประกอบ การบรรยายดังนี้1) สื่อวีดีโอเรื่องพฤติกรรมของเยาวชน 2) สื่อ powerpoint ขั้นสรุป 3. หลังจากที่ครูอธิบายเสร็จครบทุกประเด็นแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญ ของเนื้อหาอีกครั้ง 4. ขณะนักเรียนสรุปสาระสำคัญ ผู้สอนจะทำการสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนจำนวน 2 คน 5. ขณะนักเรียนนำเสนอ ผู้สอนสังเกตการณ์นำเสนอหากมีข้อใดนักเรียนนำเสนอไม่ชัดเจนให้อธิบายซ้ำ อีกครั้ง 6. หลังจากที่นักเรียนนำเสนอเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้สอนสรุปบทเรียนดังนี้ เยาวชนเป็นประชากรสำคัญกลุ่มหนึ่งของสังคมไทย เป็นกลุ่มที่มีประเทศชาติจำเป็นต้องพึ่งพาซึ่งถ้า เยาวชนมีคุณภาพการจะพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าก็สามารถทำได้โดยง่ายซึ่งในปัจจุบันเยาวชน มีการประพฤติตนที่มีคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อจะได้เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ ส่วนตนและประเทศชาติและร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมธำรงรักษาบ้านเมืองให้พัฒนาต่อไป 9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2. สื่อประกอบการสอนประกอบด้วย 2.1 สื่อวีดีโอเรื่องการทำร้ายร่างกายเด็ก 2.2 สื่อ powerpoint 3. ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากห้องสมุดของโรงเรียนวัดหนองรี 10. การวัดและประเมินผล การวัดผล เครื่องมือ วิธีการ การประเมินผล 1. นักเรียนสามารถ อธิบายความสำคัญ ของเยาวชน (K) ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความสำคัญของเยาวชน สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป 2. นักเรียนวิเคราะห์ ความสำคัญของเยาวชน (P) แบบบันทึกผล การปฏิบัติงาน การซักถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ การนำเสนอระดับ 2 ขึ้นไป 3. นักเรียน เห็นความสำคัญ ของเยาวชน (A) การตอบคำถาม สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑ์การประเมิน (K เก็บ 1 คะแนน) เรื่อง บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ปานกลาง) 1 (ปรับปรุง) 1. นักเรียน สามารถอธิบาย ความสำคัญของเยาวชน นักเรียนอธิบาย ความสำคัญของ เยาวชนได้ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหา ครบถ้วนทุก ประเด็นมีการ วิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบการ อธิบายได้ถูกต้อง ชัดเจน นักเรียนอธิบาย ความสำคัญของ เยาวชนได้ถูกต้อง มีวิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบ การอธิบาย นักเรียนอธิบาย ความสำคัญของ เยาวชนได้ถูกต้อง และไม่เชื่อมโยง เหตุผล นักเรียนไม่ สามารถอธิบาย ความสำคัญของ เยาวชนไม่สามารถ วิเคราะห์เชื่อมโยง เหตุผล ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การประเมิน (P เก็บ 1 คะแนน) การนำเสนอเรื่อง บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 - ความถูกต้อง ของเนื้อหา เนื้อหามีความถูก ต้อง เขียน วิเคราะห์ได้ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหามีความถูก ต้องเขียน วิเคราะห์ แต่ไม่ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหาบางส่วน ยังไม่ถูกต้อง เนื้อหาไม่มี ความถูกต้อง - การใช้ภาษา มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาอย่าง ถูกต้อง มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาถูก มีจังหวะในการพูด บางครั้ง ใช้ภาษา ไม่ถูก ไม่มีจังหวะใน การพูด ใช้ภาษา ไม่ถูก - นำเสนอข้อมูล ในเวลาที่กำหนด นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกท่าทางดีมี น้ำเสียงเหมาะสม นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกค่อนข้างดี นำเสนอตรง ระยะเวลา บุคลิกท่าทาง พอใช้ นำเสนอไม่ตรง กำหนดระยะเวลา เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน เกณฑ์การประเมิน (A : 1 คะแนน) เรื่อง บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 4 นักเรียนบรรยายถึงความสำคัญของเยาวชนได้อย่างถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงถึงความสำคัญของเยาวชนได้อย่างสมเหตุสมผล 3 นักเรียนบรรยายถึงความสำคัญของเยาวชนได้ถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงถึงความสำคัญของเยาวชนของเรื่องที่กำหนดให้ 2 นักเรียนบรรยายถึงความสำคัญของเยาวชนไม่ชัดเจน และไม่ครอบคลุม เนื้อหา 1 นักเรียนไม่สามารถบรรยายความสำคัญของเยาวชน ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เรื่อง เลขที่ ชื่อ – นามสกุล ความถูกต้องของเนื้อหา การใช้ภาษา นำเสนอในเวลาที่กำหนด สรุป ระดับ คุณภาพ 4 4 4 12 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 1 2 3 4 5 ระดับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน 11. กิจกรรมเสนอแนะ 12. บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ปัญหาและอุปสรรค 13. ข้อเสนอ/แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ (นายไพศาล พนมใหญ่) / / ครูผู้สอน 14. ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี ลงชื่อ (นายธนวัฒน์ เครือละม้าย) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 42/60 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัส ส21101 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ชื่อวิชา หน้าที่พลเมือง ฯ เรื่อง การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายไพศาล พนมใหญ่ โรงเรียนวัดหนองรี สพป.นครนายก ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข 2. ตัวชี้วัด ม.1/4 แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น 3. สาระสำคัญ ประชาชนทุกคนจะต้องเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของสิทธิ และเสรีภาพได้ (K) 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความหมายของสิทธิ และเสรีภาพได้ (P) 3. นักเรียนเห็นความสำคัญของความหมายของสิทธิ และเสรีภาพ (A) 5. สาระการเรียนรู้ การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น - ความหมายของสิทธิ และเสรีภาพ 6. สมรรถนะที่สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ซื่อสัตย์สุจริต 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ 7. ภาระ/ชิ้นงาน - 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. หลังจากที่นักเรียนเข้าห้องเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วครูผู้สอนก็ได้เริ่มแนะนำในสิ่งที่จะเรียน ในคาบนี้โดยต้องการให้นักเรียนได้รับความรู้ครูจะมีการตั้งคำถามกับนักเรียนดังนี้ 1.1 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าสิทธิ เสรีภาพเป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร (K) 1.2 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องความหมายของสิทธิ และเสรีภาพมาปรับใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง (P) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายในเรื่อง ความหมายของสิทธิ และเสรีภาพ โดยในการบรรยายใช้สื่อประกอบการบรรยาย ดังนี้1) สื่อวีดีโอเรื่องสิทธิของปวงชนชาวไทย 2) สื่อ powerpoint ขั้นสรุป 3. หลังจากที่ครูอธิบายเสร็จครบทุกประเด็นแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญ ของเนื้อหาอีกครั้ง 4. ขณะนักเรียนสรุปสาระสำคัญ ผู้สอนจะทำการสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนจำนวน 2 คน 5. ขณะนักเรียนนำเสนอ ผู้สอนสังเกตการณ์นำเสนอหากมีข้อใดนักเรียนนำเสนอไม่ชัดเจนให้อธิบายซ้ำ อีกครั้ง 6. หลังจากที่นักเรียนนำเสนอเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้สอนสรุปบทเรียนดังนี้ ความหมายของสิทธิ และเสรีภาพ ในปัจจุบันตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ดังนี้ คือ 1) สิทธิ หมายถึงประโยชน์ที่กฎหมายรับรอง และคุ้มครองให้แก่บุคคลในการกระทำการใด ๆ โดยชอบด้วยกฎหมาย 2) เสรีภาพ หมายถึง ความมีอิสระที่จะกระทำการใด ๆ โดยไม่ไปล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตลอดจนความสงบเรียบร้อย และมีศีลธรรมอันดีงาม 9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2. สื่อประกอบการสอนประกอบด้วย 2.1 สื่อวีดีโอเรื่องสิทธิของปวงชนชาวไทย 2.2 สื่อ powerpoint 3. ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากห้องสมุดของโรงเรียนวัดหนองรี 10. การวัดและประเมินผล การวัดผล เครื่องมือ วิธีการ การประเมินผล 1. นักเรียนสามารถ อธิบายความหมายของ สิทธิ และเสรีภาพ (K) ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความหมายของสิทธิ และเสรีภาพ สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป 2. นักเรียนวิเคราะห์ ความหมายของสิทธิ และเสรีภาพ (P) แบบบันทึกผล การปฏิบัติงาน การซักถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ การนำเสนอระดับ 2 ขึ้นไป 3. นักเรียน เห็นความสำคัญ ของสิทธิ และเสรีภาพ (A) การตอบคำถาม สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑ์การประเมิน (K เก็บ 1 คะแนน) เรื่อง การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ปานกลาง) 1 (ปรับปรุง) 1. นักเรียน สามารถอธิบาย ความหมายของ สิทธิ และเสรีภาพ นักเรียนอธิบาย ความหมายของ สิทธิ และเสรีภาพ ได้ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหา ครบถ้วนทุก ประเด็นมีการ วิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบการ อธิบายได้ถูกต้อง ชัดเจน นักเรียนอธิบาย ความหมายของ สิทธิ และเสรีภาพ ได้ถูกต้อง มีวิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบ การอธิบาย นักเรียนอธิบาย ความหมายของ สิทธิ และเสรีภาพ ได้ถูกต้อง และไม่เชื่อมโยง เหตุผล นักเรียนไม่ สามารถอธิบาย ความหมายของ สิทธิ และเสรีภาพ ไม่สามารถ วิเคราะห์เชื่อมโยง เหตุผล ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การประเมิน (P เก็บ 1 คะแนน) การนำเสนอเรื่อง การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 - ความถูกต้อง ของเนื้อหา เนื้อหามีความถูก ต้อง เขียน วิเคราะห์ได้ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหามีความถูก ต้องเขียน วิเคราะห์ แต่ไม่ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหาบางส่วน ยังไม่ถูกต้อง เนื้อหาไม่มี ความถูกต้อง - การใช้ภาษา มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาอย่าง ถูกต้อง มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาถูก มีจังหวะในการพูด บางครั้ง ใช้ภาษา ไม่ถูก ไม่มีจังหวะใน การพูด ใช้ภาษา ไม่ถูก - นำเสนอข้อมูล ในเวลาที่กำหนด นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกท่าทางดีมี น้ำเสียงเหมาะสม นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกค่อนข้างดี นำเสนอตรง ระยะเวลา บุคลิกท่าทาง พอใช้ นำเสนอไม่ตรง กำหนดระยะเวลา เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน เกณฑ์การประเมิน (A : 1 คะแนน) เรื่อง การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 4 นักเรียนบรรยายถึงความหมายของสิทธิ และเสรีภาพได้อย่างถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงความหมายของสิทธิ และเสรีภาพได้อย่างสมเหตุสมผล 3 นักเรียนบรรยายถึงความหมายของสิทธิ และเสรีภาพได้ถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงถึงความหมายของสิทธิ และเสรีภาพของเรื่องที่กำหนดให้ 2 นักเรียนบรรยายถึงความหมายของสิทธิ และเสรีภาพไม่ชัดเจน และไม่ครอบคลุมเนื้อหา 1 นักเรียนไม่สามารถบรรยายความหมายของสิทธิ และเสรีภาพ ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เรื่อง เลขที่ ชื่อ – นามสกุล ความถูกต้องของเนื้อหา การใช้ภาษา นำเสนอในเวลาที่กำหนด สรุป ระดับ คุณภาพ 4 4 4 12 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 1 2 3 4 5 ระดับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน 11. กิจกรรมเสนอแนะ 12. บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ปัญหาและอุปสรรค 13. ข้อเสนอ/แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ (นายไพศาล พนมใหญ่) / / ครูผู้สอน 14. ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี ลงชื่อ (นายธนวัฒน์ เครือละม้าย) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 43/60 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัส ส21101 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ชื่อวิชา หน้าที่พลเมือง ฯ เรื่อง การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายไพศาล พนมใหญ่ โรงเรียนวัดหนองรี สพป.นครนายก ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข 2. ตัวชี้วัด ม.1/4 แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น 3. สาระสำคัญ ประชาชนทุกคนจะต้องเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของสิทธิ และเสรีภาพได้ (K) 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความหมายของสิทธิ และเสรีภาพได้ (P) 3. นักเรียนเห็นความสำคัญของความหมายของสิทธิ และเสรีภาพ (A) 5. สาระการเรียนรู้ การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น - สิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทย 6. สมรรถนะที่สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ซื่อสัตย์สุจริต 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ 7. ภาระ/ชิ้นงาน - 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. หลังจากที่นักเรียนเข้าห้องเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วครูผู้สอนก็ได้เริ่มแนะนำในสิ่งที่จะเรียน ในคาบนี้โดยต้องการให้นักเรียนได้รับความรู้ครูจะมีการตั้งคำถามกับนักเรียนดังนี้ 1.1 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าสิทธิ เสรีภาพเป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร (K) 1.2 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องสิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทยมาปรับใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง (P) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายในเรื่อง สิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทย และเสรีภาพ โดยในการบรรยายใช้สื่อ ประกอบการบรรยายดังนี้1) สื่อวีดีโอเรื่องสิทธิของปวงชนชาวไทย 2) สื่อ powerpoint ขั้นสรุป 3. หลังจากที่ครูอธิบายเสร็จครบทุกประเด็นแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญ ของเนื้อหาอีกครั้ง 4. ขณะนักเรียนสรุปสาระสำคัญ ผู้สอนจะทำการสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนจำนวน 2 คน 5. ขณะนักเรียนนำเสนอ ผู้สอนสังเกตการณ์นำเสนอหากมีข้อใดนักเรียนนำเสนอไม่ชัดเจนให้อธิบายซ้ำ อีกครั้ง 6. หลังจากที่นักเรียนนำเสนอเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้สอนสรุปบทเรียนดังนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้า ในการคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของปวงชนชาวไทย โดยแบ่งออกเป็น 12 ส่วนดังนี้ 1) การใช้อำนาจโดยองค์กรของรัฐ 2) ความเสมอภาค 3) สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล 4) สิทธิในกระบวนการยุติธรรม 5) สิทธิในทรัพย์สิน 6) สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ 7) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน 8) สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา 9) สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ 10) สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน 11) เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม 12) สิทธิชุมชน 9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2. สื่อประกอบการสอนประกอบด้วย 2.1 สื่อวีดีโอเรื่องสิทธิของปวงชนชาวไทย 2.2 สื่อ powerpoint 3. ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากห้องสมุดของโรงเรียนวัดหนองรี 10. การวัดและประเมินผล การวัดผล เครื่องมือ วิธีการ การประเมินผล 1. นักเรียนสามารถ อธิบายสิทธิ เสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย (K) ซักถามความรู้เกี่ยวกับ สิทธิ เสรีภาพของ ปวงชนชาวไทย สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป 2. นักเรียนวิเคราะห์ สิทธิ เสรีภาพของ ปวงชนชาวไทย (P) แบบบันทึกผล การปฏิบัติงาน การซักถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ การนำเสนอระดับ 2 ขึ้นไป 3. นักเรียน เห็นความสำคัญ ของสิทธิ เสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย (A) การตอบคำถาม สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑ์การประเมิน (K เก็บ 1 คะแนน) เรื่อง การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ปานกลาง) 1 (ปรับปรุง) 1. นักเรียน สามารถอธิบาย สิทธิ เสรีภาพ ของปวงชน ชาวไทย นักเรียนอธิบาย สิทธิ เสรีภาพ ของปวงชน ชาวไทยได้ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหา ครบถ้วนทุก ประเด็นมีการ วิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบการ อธิบายได้ถูกต้อง ชัดเจน นักเรียนอธิบาย สิทธิ เสรีภาพ ของปวงชน ชาวไทยได้ ถูกต้องมีวิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบ การอธิบาย นักเรียนอธิบาย สิทธิ เสรีภาพ ของปวงชน ชาวไทยได้ ถูกต้องและ ไม่เชื่อมโยง เหตุผล นักเรียนไม่ สามารถอธิบาย สิทธิ เสรีภาพ ของปวงชน ชาวไทยไม่สามารถ วิเคราะห์เชื่อมโยง เหตุผล ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การประเมิน (P เก็บ 1 คะแนน) การนำเสนอเรื่อง การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 - ความถูกต้อง ของเนื้อหา เนื้อหามีความถูก ต้อง เขียน วิเคราะห์ได้ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหามีความถูก ต้องเขียน วิเคราะห์ แต่ไม่ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหาบางส่วน ยังไม่ถูกต้อง เนื้อหาไม่มี ความถูกต้อง - การใช้ภาษา มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาอย่าง ถูกต้อง มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาถูก มีจังหวะในการพูด บางครั้ง ใช้ภาษา ไม่ถูก ไม่มีจังหวะใน การพูด ใช้ภาษา ไม่ถูก - นำเสนอข้อมูล ในเวลาที่กำหนด นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกท่าทางดีมี น้ำเสียงเหมาะสม นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกค่อนข้างดี นำเสนอตรง ระยะเวลา บุคลิกท่าทาง พอใช้ นำเสนอไม่ตรง กำหนดระยะเวลา เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน เกณฑ์การประเมิน (A : 1 คะแนน) เรื่อง การเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 4 นักเรียนบรรยายถึงสิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทยได้อย่างถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงสิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทยได้อย่างสมเหตุสมผล 3 นักเรียนบรรยายถึงสิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทยได้ถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงถึงความหมายของสิทธิ และเสรีภาพของเรื่องที่กำหนดให้ 2 นักเรียนบรรยายถึงสิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทยไม่ชัดเจน และไม่ครอบคลุมเนื้อหา 1 นักเรียนไม่สามารถบรรยายสิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทย ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เรื่อง เลขที่ ชื่อ – นามสกุล ความถูกต้องของเนื้อหา การใช้ภาษา นำเสนอในเวลาที่กำหนด สรุป ระดับ คุณภาพ 4 4 4 12 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 1 2 3 4 5 ระดับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน 11. กิจกรรมเสนอแนะ 12. บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ปัญหาและอุปสรรค 13. ข้อเสนอ/แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ (นายไพศาล พนมใหญ่) / / ครูผู้สอน 14. ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี ลงชื่อ (นายธนวัฒน์ เครือละม้าย) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 44/60 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัส ส21101 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ชื่อวิชา หน้าที่พลเมือง ฯ เรื่อง การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายไพศาล พนมใหญ่ โรงเรียนวัดหนองรี สพป.นครนายก ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข 2. ตัวชี้วัด ม.1/4 แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น 3. สาระสำคัญ ประชาชนทุกคนจะต้องเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นได้ (K) 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นได้ (P) 3. นักเรียนเห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น (A) 5. สาระการเรียนรู้ การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น 6. สมรรถนะที่สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ซื่อสัตย์สุจริต 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ 7. ภาระ/ชิ้นงาน ใบงานที่ 16 เรื่อง การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. หลังจากที่นักเรียนเข้าห้องเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วครูผู้สอนก็ได้เริ่มแนะนำในสิ่งที่จะเรียน ในคาบนี้โดยต้องการให้นักเรียนได้รับความรู้ครูจะมีการตั้งคำถามกับนักเรียนดังนี้ 1.1 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร (K) 1.2 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นมา ปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง (P) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายในเรื่อง การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น โดยในการบรรยายใช้สื่อประกอบการบรรยายดังนี้1) สื่อวีดีโอเรื่องการเคารพสิทธิของผู้อื่น 3. หลังจากครูบรรยายเสร็จแล้ว ครูแจกใบงานที่ 16 เรื่องการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นให้กับนักเรียนทุกคน ขั้นสรุป 4. หลังจากนักเรียนทำใบงานเสร็จแล้วครูและนักเรียนร่วมกันกันตรวจใบงานที่ 16 เรื่อง การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น และถ้าข้อไหนผิดให้นักเรียนแก้ไขให้ ถูกต้อง 5. ครูจะทำการสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอเรื่องการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นจำนวน 2 คน 6. ขณะนักเรียนนำเสนอ ผู้สอนสังเกตการณ์นำเสนอหากมีข้อใดนักเรียนนำเสนอไม่ชัดเจนให้อธิบายซ้ำ อีกครั้ง 7. หลังจากที่นักเรียนนำเสนอเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้สอนสรุปบทเรียนดังนี้ การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองและผู้อื่นในสังคม เป็นสิ่งที่ช่วยจัดระเบียบให้กับสังคมสงบสุข โดย มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น สามารถแสดงออกได้หลายประการ เช่น การแสดงความคิดเห็น การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2. รู้จักใช้สิทธิของตนเองและแนะนำให้ผู้อื่นรู้จักใช้สิทธิของตนเอง 3. เรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสิทธิเสรีภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น สิทธิ เสรีภาพของความเป็นมนุษย์ สิทธิเสรีภาพในเคหสถาน 4. ปฏิบัติตามหน้าที่ของชาวไทยตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น การออกไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง การ เสียภาษีให้รัฐเพื่อนำเงินมาพัฒนาประเทศ 9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2. สื่อประกอบการสอนประกอบด้วย 2.1 สื่อวีดีโอเรื่องการเคารพสิทธิของผู้อื่น 3. ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากห้องสมุดของโรงเรียนวัดหนองรี 10. การวัดและประเมินผล การวัดผล เครื่องมือ วิธีการ การประเมินผล 1. นักเรียนสามารถ อธิบายสิทธิ เสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย (K) ซักถามความรู้เกี่ยวกับ สิทธิ เสรีภาพของ ปวงชนชาวไทย สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป 2. นักเรียนวิเคราะห์ สิทธิ เสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย (P) แบบบันทึกผล การปฏิบัติงาน การซักถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ การนำเสนอระดับ 2 ขึ้นไป 3. นักเรียน เห็นความสำคัญ ของสิทธิ เสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย (A) การตอบคำถาม สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑ์การประเมิน (K เก็บ 1 คะแนน) เรื่อง การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ปานกลาง) 1 (ปรับปรุง) 1. นักเรียน สามารถอธิบาย การปฏิบัติตน ในการเคารพ สิทธิ และเสรีภาพ ของตนเอง และผู้อื่น นักเรียนอธิบาย การปฏิบัติตน ในการเคารพ สิทธิ และเสรีภาพ ของตนเอง และผู้อื่น ได้ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหา ครบถ้วนทุก ประเด็นมีการ วิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบการ อธิบายได้ถูกต้อง ชัดเจน นักเรียนอธิบาย การปฏิบัติตน ในการเคารพ สิทธิ และเสรีภาพ ของตนเอง และผู้อื่น ได้ถูกต้องมี วิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบ การอธิบาย นักเรียนอธิบาย การปฏิบัติตน ในการเคารพ สิทธิ และเสรีภาพ ของตนเอง และผู้อื่น ได้ถูกต้องและ ไม่เชื่อมโยง เหตุผล นักเรียนไม่ สามารถอธิบาย การปฏิบัติตน ในการเคารพ สิทธิ และเสรีภาพ ของตนเอง และ ผู้อื่นไม่สามารถ วิเคราะห์เชื่อมโยง เหตุผล ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การประเมิน (P เก็บ 1 คะแนน) การนำเสนอเรื่อง การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 - ความถูกต้อง ของเนื้อหา เนื้อหามีความถูก ต้อง เขียน วิเคราะห์ได้ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหามีความถูก ต้องเขียน วิเคราะห์ แต่ไม่ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหาบางส่วน ยังไม่ถูกต้อง เนื้อหาไม่มี ความถูกต้อง - การใช้ภาษา มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาอย่าง ถูกต้อง มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาถูก มีจังหวะในการพูด บางครั้ง ใช้ภาษา ไม่ถูก ไม่มีจังหวะใน การพูด ใช้ภาษา ไม่ถูก - นำเสนอข้อมูล ในเวลาที่กำหนด นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกท่าทางดีมี น้ำเสียงเหมาะสม นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกค่อนข้างดี นำเสนอตรง ระยะเวลา บุคลิกท่าทาง พอใช้ นำเสนอไม่ตรง กำหนดระยะเวลา เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน เกณฑ์การประเมิน (A : 1 คะแนน) เรื่อง การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 4 นักเรียนบรรยายถึงการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นได้อย่างถูกต้องมีเนื้อหาที่แสดงการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นได้อย่างสมเหตุสมผล 3 นักเรียนบรรยายถึงการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นได้ถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงถึงการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น 2 นักเรียนบรรยายการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นไม่ชัดเจน และไม่ครอบคลุมเนื้อหา 1 นักเรียนไม่สามารถบรรยายการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ และเสรีภาพ ของตนเอง และผู้อื่น ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เรื่อง เลขที่ ชื่อ – นามสกุล ความถูกต้องของเนื้อหา การใช้ภาษา นำเสนอในเวลาที่กำหนด สรุป ระดับ คุณภาพ 4 4 4 12 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 1 2 3 4 5 ระดับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน 11. กิจกรรมเสนอแนะ 12. บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ปัญหาและอุปสรรค 13. ข้อเสนอ/แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ (นายไพศาล พนมใหญ่) / / ครูผู้สอน 14. ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี ลงชื่อ (นายธนวัฒน์ เครือละม้าย) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 45/60 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัส ส21101 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ชื่อวิชา หน้าที่พลเมือง ฯ เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายไพศาล พนมใหญ่ โรงเรียนวัดหนองรี สพป.นครนายก ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข 2. ตัวชี้วัด ม.1/1 อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบันโดยสังเขป 3. สาระสำคัญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ มีโครงสร้าง และสาระสำคัญในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของรัฐธรรมนูญ (K) 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสำคัญของรัฐธรรมนูญได้ (P) 3. นักเรียนเห็นความสำคัญของรัฐธรรมนูญ (A) 5. สาระการเรียนรู้ ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ 6. สมรรถนะที่สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ซื่อสัตย์สุจริต 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ 7. ภาระ/ชิ้นงาน - 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. หลังจากที่นักเรียนเข้าห้องเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วครูผู้สอนก็ได้เริ่มแนะนำในสิ่งที่จะเรียน ในคาบนี้โดยต้องการให้นักเรียนได้รับความรู้ครูจะมีการตั้งคำถามกับนักเรียนดังนี้ 1.1 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าความสำคัญของรัฐธรรมนูญเป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร (K) 1.2 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องความสำคัญของรัฐธรรมนูญมาปรับใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง (P) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายในเรื่อง ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ โดยในการบรรยายใช้สื่อ ประกอบการบรรยายดังนี้1) สื่อวีดีโอเรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ขั้นสรุป 3. หลังจากที่ครูอธิบายเสร็จครบทุกประเด็นแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญ ของเนื้อหาอีกครั้ง 4. ขณะนักเรียนสรุปสาระสำคัญ ผู้สอนจะทำการสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนจำนวน 2 คน 5. ขณะนักเรียนนำเสนอ ผู้สอนสังเกตการณ์นำเสนอหากมีข้อใดนักเรียนนำเสนอไม่ชัดเจนให้อธิบายซ้ำ อีกครั้ง 6. หลังจากที่นักเรียนนำเสนอเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้สอนสรุปบทเรียนดังนี้ โดยความสำคัญของรัฐธรรมนูญสามารถอธิบายได้ดังนี้ 1. ยืนยันความเป็นเอกราชของประเทศ 2. รับรองความเป็นเอกรัฐของไทย 3. ยืนยันว่าประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขซึ่งทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล 4. คุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพของประชาชนชาวไทย 5. ให้ความคุ้มครองประชาชนชาวไทย ไม่ว่าจะมีเหล่ากำเนิดศาสนาใด เพศใด หรือนับถือศาสนาใดอย่างเสมอกัน 9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2. สื่อประกอบการสอนประกอบด้วย 2.1 สื่อวีดีโอเรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 3. ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากห้องสมุดของโรงเรียนวัดหนองรี 10. การวัดและประเมินผล การวัดผล เครื่องมือ วิธีการ การประเมินผล 1. นักเรียนสามารถ อธิบายความสำคัญ ของรัฐธรรมนูญ (K) ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความสำคัญของ รัฐธรรมนูญ สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป 2. นักเรียนวิเคราะห์ ความสำคัญ ของรัฐธรรมนูญ (P) แบบบันทึกผล การปฏิบัติงาน การซักถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ การนำเสนอระดับ 2 ขึ้นไป 3. นักเรียนเห็นความ สำคัญของรัฐธรรมนูญ (A) การตอบคำถาม สังเกตจากการตอบ คำถาม นักเรียนผ่านเกณฑ์ คุณภาพระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑ์การประเมิน (K เก็บ 1 คะแนน) เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (ปานกลาง) 1 (ปรับปรุง) 1. นักเรียน สามารถอธิบาย ความสำคัญของ รัฐธรรมนูญ นักเรียนอธิบาย ความสำคัญของ รัฐธรรมนูญ ได้ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหา ครบถ้วนทุก ประเด็นมีการ วิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบการ อธิบายได้ถูกต้อง ชัดเจน นักเรียนอธิบาย ความสำคัญของ รัฐธรรมนูญ ได้ถูกต้องมี วิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ประกอบ การอธิบาย นักเรียนอธิบาย ความสำคัญของ รัฐธรรมนูญ ได้ถูกต้องและ ไม่เชื่อมโยง เหตุผล นักเรียนไม่ สามารถอธิบาย ความสำคัญของ รัฐธรรมนูญไม่ สามารถวิเคราะห์ เชื่อมโยงเหตุผล ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การประเมิน (P เก็บ 1 คะแนน) การนำเสนอเรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 - ความถูกต้อง ของเนื้อหา เนื้อหามีความถูก ต้อง เขียน วิเคราะห์ได้ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหามีความถูก ต้องเขียน วิเคราะห์ แต่ไม่ ครอบคลุม ทุกประเด็น เนื้อหาบางส่วน ยังไม่ถูกต้อง เนื้อหาไม่มี ความถูกต้อง - การใช้ภาษา มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาอย่าง ถูกต้อง มีจังหวะในการพูด ใช้ภาษาถูก มีจังหวะในการพูด บางครั้ง ใช้ภาษา ไม่ถูก ไม่มีจังหวะใน การพูด ใช้ภาษา ไม่ถูก - นำเสนอข้อมูล ในเวลาที่กำหนด นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกท่าทางดีมี น้ำเสียงเหมาะสม นำเสนอตรง กำหนดระยะเวลา บุคลิกค่อนข้างดี นำเสนอตรง ระยะเวลา บุคลิกท่าทาง พอใช้ นำเสนอไม่ตรง กำหนดระยะเวลา เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน การนำเสนออยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน เกณฑ์การประเมิน (A : 1 คะแนน) เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 4 นักเรียนบรรยายถึงความสำคัญของรัฐธรรมนูญได้อย่างถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงถึงความสำคัญของรัฐธรรมนูญได้อย่างสมเหตุสมผล 3 นักเรียนบรรยายถึงความสำคัญของรัฐธรรมนูญได้ถูกต้อง มีเนื้อหาที่แสดงถึงความสำคัญของรัฐธรรมนูญ 2 นักเรียนบรรยายความสำคัญของรัฐธรรมนูญไม่ชัดเจน และไม่ครอบคลุมเนื้อหา 1 นักเรียนไม่สามารถบรรยายความสำคัญของรัฐธรรมนูญ ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน 4 คะแนน หมายถึง 0.76 – 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 3 คะแนน หมายถึง 0.51 – 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี 2 คะแนน หมายถึง 0.26 – 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 คะแนน หมายถึง 0.01 – 0.25 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เรื่อง เลขที่ ชื่อ – นามสกุล ความถูกต้องของเนื้อหา การใช้ภาษา นำเสนอในเวลาที่กำหนด สรุป ระดับ คุณภาพ 4 4 4 12 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 1 2 3 4 5 ระดับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 10 - 12 หมายถึง 1 ผลงานอยู่ในระดับดีมาก 7 - 9 หมายถึง 0.75 ผลงานอยู่ในระดับดี 4 - 6 หมายถึง 0.50 ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ 1 - 3 หมายถึง 0.25 ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง ระดับเกณฑ์การตัดสินคะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีมาก หมายถึง 1 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดี หมายถึง 0.75 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับดีพอใช้ หมายถึง 0.50 คะแนน ผลงานอยู่ในระดับปรับปรุง หมายถึง 0.25 คะแนน 11. กิจกรรมเสนอแนะ 12. บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ปัญหาและอุปสรรค 13. ข้อเสนอ/แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ (นายไพศาล พนมใหญ่) / / ครูผู้สอน 14. ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี ลงชื่อ (นายธนวัฒน์ เครือละม้าย) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหนองรี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 46/60 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัส ส21101 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ชื่อวิชา หน้าที่พลเมือง ฯ เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายไพศาล พนมใหญ่ โรงเรียนวัดหนองรี สพป.นครนายก ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข 2. ตัวชี้วัด ม.1/1 อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันโดยสังเขป 3. สาระสำคัญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ มีโครงสร้าง และสาระสำคัญในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของรัฐธรรมนูญได้(K) 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสำคัญของรัฐธรรมนูญได้ (P) 3. นักเรียนเห็นความสำคัญของรัฐธรรมนูญ (A) 5. สาระการเรียนรู้ ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ 6. สมรรถนะที่สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ซื่อสัตย์สุจริต 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ 7. ภาระ/ชิ้นงาน - 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. หลังจากที่นักเรียนเข้าห้องเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วครูผู้สอนก็ได้เริ่มแนะนำในสิ่งที่จะเรียน ในคาบนี้โดยต้องการให้นักเรียนได้รับความรู้ครูจะมีการตั้งคำถามกับนักเรียนดังนี้ 1.1 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าความสำคัญของรัฐธรรมนูญเป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร (K) 1.2 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องความสำคัญของรัฐธรรมนูญมาปรับใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง (P) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายในเรื่อง ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ โดยในการบรรยายใช้สื่อ ประกอบการบรรยายดังนี้1) สื่อวีดีโอเรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2) สื่อ powerpoint ขั้นสรุป 3. หลังจากที่ครูอธิบายเสร็จครบทุกประเด็นแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญ ของเนื้อหาอีกครั้ง 4. ขณะนักเรียนสรุปสาระสำคัญ ผู้สอนจะทำการสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนจำนวน 2 คน 5. ขณะนักเรียนนำเสนอ ผู้สอนสังเกตการณ์นำเสนอหากมีข้อใดนักเรียนนำเสนอไม่ชัดเจนให้อธิบายซ้ำ อีกครั้ง 6. หลังจากที่นักเรียนนำเสนอเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้สอนสรุปบทเรียนดังนี้ รัฐธรรมนูญถือเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศซึ่งกำหนดหลักสำคัญ ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขโดยความสำคัญของรัฐธรรมนูญสามารถอธิบายได้ ดังนี้ 1. ยืนยันความเป็นเอกราชของประเทศ 2. รับรองความเป็นเอกรัฐของไทย 3. ยืนยันว่าประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขซึ่งทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล 4. คุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพของประชาชนชาวไทย