งาน วิจัย การ พูด ไม่ ชัด

ผู้แต่ง

  • เฟื่องฟ้า พันธุราษฎร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาลำปาง

คำสำคัญ:

ความสามารถด้านการพูด, บัตรภาพ AR

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังใช้บัตรภาพ AR กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล 1 ห้อง La or plus K.1/2 จำนวน 17 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านบัตรภาพ AR และแบบประเมินความสามารถด้านการพูดของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย

ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถด้านการพูดของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านบัตรภาพ AR ก่อนจัดกิจกรรม มีผลรวมเท่ากับ 67 คะแนน มีค่าเฉลี่ย = 3.94 แต่หลังจากจัดกิจกรรมแล้วความสามารถด้านการพูดของเด็กปฐมวัย มีผลรวมเท่ากับ 216 คะแนนเฉลี่ย  = 12.7 จะเห็นได้ว่า ความสามารถด้านการพูดของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านบัตรภาพ AR มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านบัตรภาพ AR

Downloads

Download data is not yet available.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). การจัดการศึกษาทางเลือกในประเทศไทย.กรุงเทพฯ วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.

ก้องเกียรติ หิรัญเกิด. (2557). Augmented Reality Open Source for Project เล่มที่ 1 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : Fast-Books.

ชวนพิศ จะรา. (2556). การพัฒนาการเรียนด้วยเทคโนโลยีผสานความจริง (AR) ร่วมกับหนังสือนิทานสองภาษาโดยใช้ กระบวนการกลุ่มเพื่อส่งเสริมความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย . มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี/กรุงเทพฯ.

ดารณี ศักดิ์ศิริผล. (2556). การพัฒนารูปแบบการแก้ไขการพูดไม่ชัดโดยใช้กระบวนการฝึก AES2D สําหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อย. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดุสิต ขาวเหลือง.(2549). การบูรณาการใช้สื่อประสมและสื่อหลายมิติเพื่อการสอนและการเรียนรู้. วารสารศึกษาศาสตร์ 18(1) มิถุนายน – ตุลาคม 2549, หน้า 29

เบญจมาศ พระธานี. (2540). วรรณกรรมเด็ก.พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ไทยวฒนาพานิช.

รักษพล ธนานุวงศ์. (2556,มีนาคม-เมษายน). สื่อเสริมการเรียนรู้ โลกเสมือนผสมโลกจริง(Augmented Reality) ชุดการจมและการลอย. เรื่องเด่นประจำฉบับ. 41(181). 28-31.

วิกร ตัณฑวุฑโฒ และวรัทยา ธรรมกิตติภพ. 2555. “หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงทดลองในการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.” ในประมวลสาระชุดวิชาการวิจัยเพื่อ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หน่วยที่ 8 -15. นนทบุรี: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.

สุพัตรา บุ่งง้าว. (2560). การใช้นิทานภาพเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูด. คณะครุศาสตร์ (มหาวิทยาลัยสวนดุสิต).

งาน วิจัย การ พูด ไม่ ชัด

How to Cite

License

Copyright (c) 2022 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

งาน วิจัย การ พูด ไม่ ชัด

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

ลิขสิทธิ์ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการจัดการทางการศึกษาปฐมวัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห้ามผู้ใดนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นอกจากนี้ เนื้อหาที่ปรากฎในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์