ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2

ใบงานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ให้นักเรียนทำใบงาน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 ID: 2287761
Idioma: tailandés
Asignatura: วิทยาศาสตร์
Curso/nivel: ป.5
Edad: 11-12
Tema principal: เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Otros contenidos: วิทยาศาสตร์

ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
 Añadir a mis cuadernos (0)
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
 Descargar archivo pdf
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
 Insertar en mi web o blog
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
 Añadir a Google Classroom
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
 Añadir a Microsoft Teams
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
 Compartir por Whatsapp

Enlaza a esta ficha:  Copiar
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2

bubberbee


ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2

¿Qué quieres hacer ahora?

ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
ใบงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ป. 2
Comprobar mis respuestasEnviar mis respuestas a mi profesor/a

Introduce tu nombre completo:

Curso/grupo:

Asignatura:

Introduce el email o código clave de tu profesor/a:

Cancelar

Por favor, permite el acceso al micrófono
Mira en la parte alta de tu navegador. Si ves un mensaje pidiendo tu permiso para acceder al micrófono, por favor permítelo.

Cerrar

หมายถงึ ตวั เลขทไ่ี ดจ๎ ากเครอ่ื งมือวัดท่แี สดงความละเอยี ดในการวัด ซึ่งสามารถใช๎เป็นตัวบํงช้ีถึงความ

นาํ เช่ือถอื ของคาํ ท่ีวดั ได๎น้นั วํามอี ยูจํ ริงหรือไมมํ ีอยํจู รงิ

การนับเลขนยั สาคัญ

การนับจานวนหรือตาแหนํงของเลขนยั สาคัญ แสดงดงั ตาราง

ขอ้ ที่ หลักการ ตวั อยา่ ง จานวนเลขนัยสาคัญ

1 ตัวเลขทไี่ มใํ ชเํ ลขศูนย์ จะนับเป็นเลขนยั สาคัญท้ังหมด 5.78 3
2.354 4

0.56 2

2 เลขศูนยท์ ี่อยูํหนา๎ ตัวเลขอ่ืนๆ ไมํนับเปน็ เลขนยั สาคัญ 0.0041 2

0.000096 2

3 เลขศูนย์ที่อยํูหลังหรือระหวํางตัวเลขอื่นที่ไมํใชํเลขศูนย์ 0.10057 5
นับเป็นเลขนยั สาคญั 14.50008 7

4 สญั กรณ์ทางวิทยาศาสตร์ ให๎นบั เฉพาะสวํ นท่ีเป็นตัวเลข 89x107 2
ไมนํ ับเลขยกกาลงั ฐาน 10

จานวนที่มีคําน๎อยมาก ๆ หรือคําใหญํมาก ๆ นิยมเขียน 29800 3
5 ในรูปสัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์กํอน แล๎วนับเลข =2.98x104

นัยสาคญั

คาํ คงทที่ ุกประเภท ไมํวําจะเป็นคําคงท่ีท่ีเป็นสัญลักษณ์

6 อยํางเดียวหรือมีตัวเลขแสดงอยํูด๎วย ท้ังในสูตร และ 2¶r 0

สมการ ไมใํ ห๎นับเป็นเลขนยั สาคัญ

โรงเรยี นวทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ตรัง หน๎า 14

ตอนท่ี 1 คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นนบั เลขนยั สาคญั ต่อไปน้ี

1. 1203 มเี ลขนัยสาคญั …………….ตวั

2. 18.04 มเี ลขนยั สาคญั …………….ตวั

3. 0.0032040 มเี ลขนัยสาคญั …………….ตวั

4. 12.000 มีเลขนัยสาคัญ…………….ตวั

5. 340 มีเลขนัยสาคญั …………….ตวั
6. 16040.25 x 104 มีเลขนยั สาคัญ…………….ตวั

7. 0.0825 กิโลกรัม มีเลขนัยสาคญั …………….ตวั
8. 65.0 x10- 2 เมตร มีเลขนยั สาคัญ…………….ตวั

9. 20.5 เซนตเิ มตร มีเลขนัยสาคัญ…………….ตวั

10. 8.00 วินาที มีเลขนัยสาคัญ…………….ตวั

11. 200 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร มเี ลขนยั สาคัญ…………….ตวั

การคานวณเลขนยั สาคัญ

1. การบวกและลบ

ให๎บวกและลบแบบวิธีทางคณิตศาสตร์กํอน แล๎วพิจารณาผลลัพธ์ท่ีได๎ โดยจานวนเลข

นัยสาคัญของผลลพั ธ์จะตอ๎ งไมํเกินจานวนเลขนยั สาคัญของจานวนที่มีเลขนัยสาคัญน๎อยที่สดุ

ตัวอยาํ ง

2.12 + 31.85

ผลลพั ธท์ ไ่ี ด๎จากการคานวณ = …………….

มเี ลขนัยสาคัญ =…………….ตวั

53.278 + 15.04

ผลลัพธท์ ไ่ี ดจ๎ ากการคานวณ = …………….

มีเลขนยั สาคัญ =…………….ตวั

6.43 + 6.45 - 6.40 + 6.42 - 6.44

ผลลพั ธท์ ไ่ี ด๎จากการคานวณ = …………….

มเี ลขนยั สาคัญ =…………….ตวั

15.7962 + 6.31 - 16.8

ผลลัพธ์ทไี่ ด๎จากการคานวณ = …………….

มีเลขนยั สาคัญ =…………….ตวั

250.6348 + 32.52

ผลลัพธ์ทไ่ี ดจ๎ ากการคานวณ = …………….

มีเลขนัยสาคัญ =…………….ตวั

โรงเรยี นวิทยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวิทยาลยั ตรงั หน๎า 15

2. การคูณและหาร
ให๎คูณและหารแบบวิธีทางคณิตศาสตร์กํอน แล๎วพิจารณาผลลัพธ์ท่ีได๎ โดยจานวนเลข

นัยสาคัญของผลลัพธ์จะตอ๎ งไมเํ กินจานวนเลขนัยสาคญั ของจานวนท่ีมเี ลขนัยสาคญั น๎อยทส่ี ุด
** เมื่อผลของคาํ ที่คานวณได๎มตี ัวเลขจานวนมากหรือมคี ําน๎อยมาก ให๎เขียนตวั เลขในเชิงสญั กรณ์
วิทยาศาสตร์กํอน เชนํ
- ตวั เลขจานวนมากของ 1,000,000 เขียนเปน็ เลขเชงิ สัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์ คือ .................................
- ตวั เลขที่มคี าํ นอ๎ ยมากของ 0.000001 เขยี นเป็นเลขเชงิ สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือ .............................
ตวั อยาํ ง
1. จงหาปริมาตรความจขุ องถังส่เี หลีย่ มชนิดหนึ่ง มคี วามกว๎าง 20.5 เซนตเิ มตร ความยาว 25.55 เซนติเมตร
และความสูง 20.5 เซนติเมตร

ผลลพั ธท์ ไี่ ดจ๎ ากการคานวณ = ……………. ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร
มเี ลขนยั สาคญั =…………….ตวั
2. จงหาคําเฉล่ยี ของนาหนกั ของสารทชี่ ั่งได๎ตอํ ไปนี้ 6.43, 6.45, 6.40, 6.42 และ 6.44 กรัม
ผลลัพธท์ ี่ไดจ๎ ากการคานวณ = ……………. กรัม
มเี ลขนยั สาคญั =…………….ตวั
ตอนท่ี 2 คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนกากบาทหน้าข้อความตอ่ ไปนที้ ี่ถูกตอ้ งทีส่ ุด
1. จงเรียงลาดับเลขนัยสาคญั ตํอไปนจี้ ากมากไปน๎อย 0.05, 0.70, 0.145, 0.1025
ก. 0.05, 0.70, 0.145, 0.1025
ข. 0.70, 0.145, 0.1025, 0.05
ค. 0.1025, 0.145, 0.70, 0.05
ง. 0.145, 0.1025, 0.05, 0.70
2. ผลลัพธต์ ามหลักเลขนัยสาคัญของ 3.25 + 2.1 – 1.13 คือ
ก. 4
ข. 4.2
ค. 4.22
ง. 4.27
3. ผลลัพธต์ ามหลกั เลขนัยสาคญั ของ ( 4.5 x 1.12 ) – 1.34 คอื
ก. 3.7
ข. 3.0
ค. 2.66
ง. 3.00

โรงเรียนวทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลยั ตรงั หน๎า 16

4. ผลลัพธ์ตามหลกั เลขนัยสาคัญของ ( 2.25 ÷1.5 ) + 1.25 คอื
ก. 3.0
ข. 2.8
ค. 2.75
ง. 3.00

5. ผลลัพธ์ตามหลักเลขนัยสาคญั ของ 400 x 3.0 คอื
ก. 12.00x101
ข. 1.20x102
ค. 1.2x103
ง. 12.0x101

เฉลย แบบฝึกหดั ทักษะการคานวณ
ตอนท่ี 1
ขอ๎ 1. 4 ข๎อ 2. 4 ข๎อ 3. 5 ข๎อ 4. 5 ขอ๎ 5. 3
ข๎อ 6. 8 ข๎อ 7. 3 ข๎อ 8. 3 ขอ๎ 9. 3 ขอ๎ 10. 3 ข๎อ 11. 3
ตอนท่ี 2
ขอ๎ 1. ค ข๎อ 2. ข ข๎อ 3. ก ข๎อ 4. ข ข๎อ 5. ค

โรงเรยี นวิทยาศาสตร์จฬุ าภรณราชวิทยาลยั ตรงั หน๎า 17

กิจกรรมชวนกนั ทาเพ่อื รู้จรงิ

กจิ กรรมท่ี 2 ฝึกทักษะการวัด

จุดประสงค์

1. นักเรียนสามารถเลือกใช๎เครอื่ งมือ ในการวัดและการหาปริมาณส่งิ ตาํ งๆ ได๎

2. นกั เรียนสามารถหาคําเฉลี่ยจากการวดั ได๎

วัสดุอุปกรณ์

1. สายวัด ไม๎บรรทดั ตลับเมตร เชือก หรอื เคร่ืองมอื ที่ใชใ๎ นการวดั อน่ื ๆ

2. วสั ดุท่นี ามาวัด เชํน สมดุ ยางลบ ปากกา เป็นต๎น

วธิ กี ารทากจิ กรรม

1. นกั เรยี นเลอื กเครื่องมอื ในการวดั วัสดุตามท่ตี ารางกาหนด

2. นักเรยี นวัดวัสดุ พร๎อมท้งั หาคาํ เฉลย่ี โดยตอบในรูปทศนิยม 2 ตาแหนงํ จากนนั้ บนั ทกึ ลงในตาราง

บนั ทึกผล

บนั ทกึ กจิ กรรม

สง่ิ ท่ีวัด ปริมาณ 1 ครง้ั ที่วดั เฉลีย่ เครอื่ งมือที่ หนว่ ยการวดั
23 ใชใ้ นการวัด

ความกวา้ ง

ความยาว

ความสูง

ความกวา้ ง

ความยาว

ความสงู

ความกวา้ ง

ความยาว

ความสูง

ความกวา้ ง

ความยาว

ความสูง

ความกวา้ ง

ความยาว

ความสงู

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรงั หนา๎ 18

ทักษะท่ี 4 การจาแนกประเภท

หมายถึง การเรียงลาดับ และการแบํงกลํุมวัตถุหรือรายละเอียดข๎อมูลด๎วยเกณฑ์ความแตกตํางหรือ
ความสมั พันธ์ใดๆอยาํ งใดอยาํ งหน่ึง

ความสามารถท่แี สดงการเกิดทักษะ
1. สามารถเรียงลาดับ และแบงํ กลุมํ ของวตั ถุ โดยใชเ๎ กณฑ์ใดได๎อยํางถูกต๎อง
2. สามารถอธบิ ายเกณฑ์ในเรียงลาดบั หรอื แบงํ กลมุํ ได๎

วิธีจาแนกประเภท
การจัดจาแนกวัตถุหรือส่ิงใดๆ ออกเป็นหมวดหมูํน้ัน เร่ิมต๎นด๎วยการตั้งเกณฑ์ข้ึนมาอยํางหน่ึงแล๎วใช๎
เกณฑ์น้ันแบํงวัตถุออกเป็นกลํุมยํอย โดยท่ัวๆ ไปมักจะเลือกเกณฑ์ท่ีทาให๎แบํงวัตถุเหลําน้ันออกเป็นสองกลุํม
ยอํ ยกอํ น แลว๎ จึงคํอยเลอื กเกณฑอ์ น่ื แบํงกลุมํ ยํอยน้นั ออกเป็นกลํมุ ยํอยตํอไปอีก

กิจกรรมชวนกนั ทาเพอ่ื รู้จรงิ

กจิ กรรมที่ 3 ฝึกทักษะการจาแนกประเภท
จุดประสงค์

1. นกั เรยี นสามารถจาแนกวัตถุหรอื ส่งิ ตํางๆ ได๎
2. นกั เรียนสามารถระบุเกณฑท์ ่ีใชใ๎ นการจาแนกได๎
วิธีการทากจิ กรรม
นักเรียนจาแนกรูปภาพทค่ี รูกาหนดให๎ตํอไปน้ี (วาดรูป)

ภาพแสดง รปู ทรงทางเรขาคณิต หน๎า 19
โรงเรยี นวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ตรงั

รปู ทรงเรขาคณติ

รูปทมี่ ดี า๎ นหรือขอบเปน็ เส๎นโค๎ง รปู ทีม่ ดี ๎านหรือขอบไมเํ ป็นเสน๎ โคง๎

รูปทรงสามมติ ิ รปู ทรงไมสํ ามมติ ิ รปู ท่มี ีด๎านเทาํ กนั รูปที่มีด๎านไมเํ ทํากนั

ทักษะที่ 5 การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั เวลา

หมายถงึ ท่ีวาํ งที่วัตถนุ ้ันครองอยูํ ซ่งึ อาจมีรูปราํ งเหมือนกนั หรอื แตกตํางกับวัตถนุ ัน้ โดยทว่ั ไปแบงํ เป็น
3 มติ ิ คอื ความกวา๎ ง ความยาว และความสูง ความสัมพันธ์ระหวาํ งสเปสกับสเปสของวัตถุ ไดแ๎ กํ ความสัมพันธ์
ระหวําง 3 มิติ กบั 2 มิติ ความสมั พนั ธร์ ะหวํางตาแหนํงท่ีอยขํู องวตั ถหุ นึ่งกับวัตถหุ นึ่ง

ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
1. สามารถอธบิ ายลักษณะของวตั ถุ 2 มติ ิ และวตั ถุ 3 มติ ิ ได๎
2. สามารถวาดรูป 2 มติ ิ จากวตั ถุหรือรูป 3 มิติ ทีก่ าหนดใหไ๎ ด๎
3. สามารถอธิบายรปู ทรงทางเราขาคณิตของวัตถุได๎
4. สามารถอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวาํ งวตั ถุ 2 มิติ กบั 3 มติ ิได๎ เชํน ตาแหนํงหรือทิศของวัตถุ และตาแหนํง
หรือทศิ ของวตั ถตุ อํ อกี วัตถุ
5. สามารถบอกความสมั พนั ธ์ของการเปลีย่ นแปลงตาแหนงํ ของวัตถุกับเวลาได๎
6. สามารถบอกความสัมพันธ์ของการเปลย่ี นแปลงขนาด ปริมาณของวัตถุกบั เวลาได๎

โรงเรยี นวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวทิ ยาลยั ตรัง หนา๎ 20

สเปส (มติ ิ) หมายถงึ ทว่ี า่ ง
สเปสของวตั ถุ หมายถึง ทีว่ า่ งทีว่ ัตถุนนั้ ครองอยู่ ซึ่งมลี กั ษณะเชน่ เดียวกบั วัตถุ เช่น

1.1. สเปสของก๎อนอิฐ : ท่วี าํ ง/พื้นท่ีที่กอ๎ นอิฐวางอยูํ ซึ่งมีลักษณะรูปราํ ง
เหมือนกบั กอ๎ นอิฐ

1.2. สเปสของไขํ : ทว่ี าํ ง/พนื้ ที่ท่ีไขวํ างอยูํ ซึ่งมลี กั ษณะรปู รํางเหมือนกบั ไขํ
สิ่งที่มี 1 มติ ิ จะมแี ตํความยาว เชนํ

สง่ิ ท่ีมี 2 มติ ิ จะมีความยาวและความกว๎าง เชนํ

ส่งิ ท่ีมี 3 มติ ิ จะมีความยาว ความกว๎าง และความสูง เชนํ

ความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปสกับสเปส หมายถึง
ความสัมพันธร์ ะหวํางตาแหนํงทีอ่ ยํูของวตั ถหุ น่งึ กับอีกวตั ถหุ น่ึง เชํน ความสัมพันธ์ของแก๎วกับน้า เม่ือ

เทน้าจะพบวาํ น้าจะมาแทนท่ีอากาศในแกว๎
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปสกับเวลา หมายถึง

ความสัมพันธ์ระหวํางการเปล่ียนตาแหนํงของวัตถุกับเวลา หรือความสัมพันธ์ระหวํางตาแหนํงของ
วตั ถทุ ี่เปลี่ยนไปกับเวลาทใ่ี ช๎
เส้นสมมาตรและระนาบสมมาตร

เส๎นสมมาตร คอื เสน๎ ทลี่ ากผํานรูป 2 มติ ิ โดยถ๎าพับรูปรูป 2 มิติ ตามเสน๎ ทลี่ ากผํานแล๎วรปู นน้ั จะ
ซ๎อนทับกนั สนทิ

ระบบสมมาตร คอื ระบบท่แี บงํ รูป 3 มติ ิ ออกเป็น 2 สวํ น โดยเมื่อนาสํวนหน่งึ ไวบ๎ นกระจกเงา แล๎ว
จะเกดิ ภาพขึน้ เหมือนเดิม

โรงเรยี นวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ตรงั หนา๎ 21

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรูป 2 มติ ิ และ 3 มิติ มคี วามสมั พนั ธก์ นั ดงั น้ี
1. รูป 3 มติ ิ เกดิ จากการหมุนรูป 2 มิติ
2. เงาของรปู 3 มิติ ทาให๎เกิดรปู 2 มิติ
3. รปู 2 มติ ิเกิดจากการตดั รูป 3 มติ ิ

ประโยชน์ของการหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งมติ ิ
1. ชวํ ยในการหาภาพ
2. ชวํ ยในการเขยี นแผนท่สี ่ือความหมาย
3. เปน็ พ้นื ฐานในการศึกษาค๎นคว๎าทางวทิ ยาศาสตร์
4. ทาให๎ได๎ข๎อมูลเก่ยี วกบั สิง่ แวดลอ๎ มทางกายภาพอยาํ งสมบรู ณ์
5. ชวํ ยในการบันทึกข๎อมลู การสังเกต
6. ชวํ ยในการมองเห็นความสัมพนั ธ์ของรปู ทรงและรปู ราํ งตํางๆ

กิจกรรมชวนกันทาเพ่อื รู้จรงิ

ตอนท่ี 1 ใหน๎ กั เรยี นดูคาทางซา๎ ยมือ แล๎วบอกวํามลี ักษณะเปน็ 1 มิติ, 2 มติ ิ หรอื 3 มติ ิ

1. ปากกา ....................................................

2. รปู ถําย ....................................................

3. แก๎วนา้ ....................................................

4. โทรศัพทม์ ือถือ ....................................................

5. จาน ....................................................

6. ขวด ....................................................

7. หนังสือ ....................................................

8. ไมจ๎ ้มิ ฟนั ....................................................

9. รบิ บิ้น ....................................................

10. กระดาษ A4 ....................................................

11. ลกู ฟุตบอล ....................................................

12. แสตมป์ ....................................................

โรงเรยี นวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลยั ตรงั หนา๎ 22

ตอนท่ี 2 ใหน๎ ักเรยี นดูรปู ภาพ แล๎วบอกวํามีลักษณะเปน็ 1 มติ ิ, 2 มติ ิ หรอื 3 มติ ิ

รปู ที่ 1 .................................................. รปู ท่ี 6 ..................................................
รปู ท่ี 2 .................................................. รปู ท่ี 7 ..................................................
รูปที่ 3 .................................................. รปู ที่ 8 ..................................................
รูปท่ี 4 .................................................. รปู ที่ 9 ..................................................
รปู ที่ 5 .................................................. รูปท่ี 10 ..................................................
ตอนท่ี 3 ใหน๎ ักเรยี นลากเส๎นสมมาตรของรูปภาพตํอไปนี้ พรอ๎ มระบุจานวนเสน๎ สมมาตร

ขอ้ ที่ รปู จานวนเส้นสมมาตร

1

2 หนา๎ 23
3
โรงเรียนวทิ ยาศาสตร์จฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั ตรัง

ขอ้ ท่ี รปู จานวนเส้นสมมาตร
4
5

6

เฉลย แบบฝกึ หัดทักษะการหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปส
ตอนท่ี 1
ข๎อ 1. 3 ขอ๎ 2. 2 ข๎อ 3. 3 ขอ๎ 4. 3 ขอ๎ 5. 3 ข๎อ 6. 3
ข๎อ 7. 3 ขอ๎ 8. 3 ข๎อ 9. 2 ข๎อ 10. 2 ข๎อ 11. 3 ข๎อ 12. 2
ตอนท่ี 2
รปู ที่ 1. 3 รูปที่ 2. 2 รูปท่ี 3. 3 รูปที่ 4. 3 รปู ท่ี 5. 2
รปู ที่ 6. 1 รูปที่ 7. 3 รูปที่ 8. 2 รปู ท่ี 9. 3 รูปท่ี 10. 2
ตอนที่ 3
ข๎อ 1. 2 ข๎อ 2. 2 ข๎อ 3. 1 ขอ๎ 4. 2 ข๎อ 5. - ข๎อ 6. 4

โรงเรียนวทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ตรงั หน๎า 24

“6 หรือ 9 9หรอื 6 ตา่ งคนต่างความคดิ ต่างจิตตา่ งใจ
อยา่ ดถู ูกความคิดใคร ถ้าความคดิ เขาไม่ตรงกบั ความคิดเรา”

ทักษะท่ี 6 การจัดทาและสอ่ื ความหมายข้อมลู

หมายถึง การนาข๎อมูลทีไ่ ดจ๎ ากการสงั เกต และการวัด มาจัดกระทาให๎มคี วามหมาย โดยการหาความถี่
การเรียงลาดับ การจัดกลุํม การคานวณคํา เพ่ือให๎ผ๎ูอ่ืนเข๎าใจความหมายได๎ดีข้ึน ผํานการเสนอในรูปแบบของ
ตาราง แผนภมู ิ วงจร เขียนหรือบรรยาย เปน็ ตน๎

ความสามารถทแ่ี สดงการเกิดทกั ษะ
1. สามารถเลอื กรปู แบบ และอธิบายการเลือกรปู แบบในการเสนอข๎อมลู ทีเ่ หมาะสมได๎
2. สามารถออกแบบ และประยุกต์การเสนอข๎อมลู ใหอ๎ ยูใํ นรูปใหมํท่เี ข๎าใจได๎งําย
3. สามารถเปล่ยี นแปลง ปรบั ปรงุ ขอ๎ มลู ใหอ๎ ยํใู นรูปแบบทีเ่ ขา๎ ใจได๎งาํ ย
4. สามารถบรรยายลกั ษณะของวัตถดุ ว๎ ยข๎อความที่เหมาะสม กะทัดรดั และสื่อความหมายให๎ผู๎อน่ื เข๎าใจได๎งําย

โรงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย ตรงั หน๎า 25

การนาเสนอมีหลายรูปแบบดังน้ี

1. การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการ (Informal presentation) เป็นการการนาเสนอที่ไมํเป็น

แบบแผน ไมตํ ๎องมกี ฎเกณฑแ์ ละแบบแผนแตํอยาํ งใด วธิ ที น่ี ยิ ม มี 2 วิธีดังน้ี

1.1 การนาเสนอข้อมูลในรูปบทความ เป็นการนาเสนอข๎อมูลท่ีต๎องการเสนอมาอธิบาย และ

สรุปให๎ได๎รายละเอียด เก่ียวกับข๎อมูล เชํน ในการศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องความเข๎มข๎นฮอร์โมน

ตํอการตายของไรแดงพบวําใน สารละลาย ท่ีมีความเข๎มข๎นของฮอร์โมน 4 เม็ดตํอน้า 50 ลูกบาศก์

เซนติเมตร ทา ให๎ไรแดงตายมาก ทสี่ ุด 40 % รองลงมาคอื สารละลาย ท่มี ีความเข๎มข๎นของฮอร์โมน 3 เม็ด

ตํอนา้ 50 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร นอกน้นั ไมทํ าให๎ไรแดงตาย

1.2 การนาเสนอข้อมูลในรูปบทความก่ึงตาราง การนาเสนอข๎อมูลที่ต๎องการนาเสนอ มาแยก

ขอ๎ ความและตัวเลขเพือ่ ใหเ๎ ห็นการเปรยี บเทียบได๎ชัดเจนขึ้น เชํน จากการศึกษาเรื่องความเข๎มข๎นฮอร์โมน

ตํอการตายของไรแดงปรากฏวาํ ความเขม๎ ข๎นของฮอร์โมน มีผลตํอการตายของไรแดงคอื
ฮอร์โมน 1 เม็ดตํอนา้ 50 cm3 ไมํตาย
ฮอรโ์ มน 2 เมด็ ตอํ นา้ 50 cm3 ไมํตาย
ฮอร์โมน 3 เม็ดตอํ นา้ 50 cm3 ตาย 12 %
ฮอรโ์ มน 4 เม็ดตํอนา้ 50 cm3 ตาย 40 %

2. การนาเสนอขอ้ มลู อยา่ งมแี บบแผน (Formal presentation) การนาเสนอข๎อมูลอยํางมีแบบแผน
เป็นการนาเสนอข๎อมูล ที่มีการกาหนดระเบียบ กฎเกณฑ์ตํางๆ วธิ ีท่ีนิยมใชม๎ ดี ังน้ี
2.1 การนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง เป็นการนาข๎อมูลมาจัดให๎อยํูในรูปแนวนอน หรือแถว และ

ตามแนวตง้ั หรือสดมภ์เพ่อื ให๎เห็นขอ๎ มูลได๎ชัดเจน สะดวก ในการอํานการวิเคราะห์ และยังชํวยให๎สามารถ
เปรยี บเทียบ ข๎อมลู ไดอ๎ ีกด๎วย ซ่งึ อาการนาเสนอข๎อมูลได๎หลายลกั ษณะดังนี้
1. ตารางทางเดียว (One way table) เป็นการบรรจุข๎อมูลเพ่ือเปรียบเทียบ ตัวแปรต๎นกับตัวแปรตาม
โดยมีข๎อมูลเพียงชุดเดียว เชํน เปรียบเทียบการตายของไรแดง ในสารละลาย ท่ีมีความเข๎มข๎นของฮอร์โมน
ตาํ งกัน
ตารางท่ี 1 แสดงจานวนไรแดงทีต่ ายเม่ือใช๎ความเขม๎ ข๎นของฮอร์โมนตํางกนั

ความเขม้ ข้นของฮอรโ์ มน จานวนไรแดงทีต่ าย (%)
(จานวนเม็ด : น้า 50 cm3)
-
1 -
12
2 40

3

4

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ตรงั หน๎า 26

จากตารางท่กี าหนดให๎ สามารถวาดรูปของแผนภูมแิ ทงํ ได๎ดังแสดงจานวนไรแดง ่ีทตาย( )

แผนภมู ิแท่งแสดงจานวนไรแดงในฮอร์โมนทม่ี ีความเข้มขน้ ต่างกนั

50
40
30
20
10
0

1234

ความเขม๎ ขน๎ ของฮอร์โมน (จานวนเมด็ : น้า 50 cm3)

2. ตารางสองทาง (Two way table) เป็นการนาเสนอข๎อมูล ที่แสดงให๎เห็นถึงผลของตัวแปรต๎นท่ีมี

หลายระดบั ตอํ ตัวแปรตาม 1 ตวั แปร

ตารางที่ 2 แสดงการเปลี่ยนสีของปลาหางนกยูง ในกรณีไดร๎ ับความเข๎มข๎นของฮอร์โมนตํางกัน

ปลาหางนกยูงขวด ความเขม้ ขน้ ของฮอร์โมน

ท่ี 1 2 3 4

1 ไมเํ ปลีย่ นสี เปลี่ยนสเี ล็กนอ๎ ย เปลี่ยนสแี ผกํ ว๎าง เปลี่ยนสมี าก

2 ไมเํ ปลย่ี นสี เปลี่ยนสเี ล็กน๎อย เปล่ยี นสีแผกํ วา๎ ง เปลย่ี นสมี าก

3. ตารางหลายทาง (Multi - way table) เป็นการนาเสนอข๎อมูลทแ่ี สดงให๎เหน็ ถงึ การ เปรียบข๎อมลู
ทสี่ นใจตัง้ แตํ 2 ชดุ ขึ้นไป

โรงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวิทยาลยั ตรงั หนา๎ 27

ป ิรมาณ ํถานที่ใ ๎ช (ล๎านตัน)2.2 นาเสนอขอ้ มลู ในรูปของกราฟเส้น (Line Graph)
1. กราฟเด่ียวเชิงเส้น (Simple Line Graph) เป็นกราฟที่แสดงลักษณะของข๎อมูลท่ีต๎องการจะศึกษาเพียง
ชุดเดยี ว เชํน ปริมาณการใช๎ถาํ นหนิ ของโรงงานแหํงหนง่ึ ตัง้ แตปํ ี 2555-2560 แสดงผลดังตาราง

ตารางท่ี 3 แสดงปริมาณการใชถ๎ าํ นหินของโรงงานแหํงหนึง่
ปี พ.ศ. ปริมาณถ่าน (ลา้ นตัน)
2555 12.5
2556 13
2557 16.5
2558 14
2559 15
2560 18

จากตารางที่กาหนดให๎สามารถเขยี นกราฟเส๎นตรงได๎ดังน้ี

กราฟแสดงการใช้ถา่ นหินของโรงงานแห่งหน่ึง

20

15

10

5

0
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561
ปี พ.ศ.

โรงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวิทยาลยั ตรัง หน๎า 28

2. กราฟเดี่ยวเชิงซ้อน (Multiple Line Graph) เปน็ กราฟท่แี สดงการเปรียบเทียบข๎อมูลที่ต๎องการจะศึกษา
ตง้ั แตํสองชนิดข้ึนไป เชนํ นกั เรียนคนหน่ึงทาการศึกษาความสูงของต๎นถ่ัวเมื่อใช๎ปุ๋ยที่ตํางกันคือปุ๋ยชีวภาพและ
ปุ๋ยเคมี ได๎ผลการทดลองดังแสดงในตาราง

ตารางแสดงความสูงของต๎นถ่ัวเม่อื ใชป๎ ๋ยุ ตํางชนิดกัน

สัปดาห์ ความสูงของตน้ ถ่ัว (cm)
ปุ๋ยชวี ภาพ ปุย๋ เคมี

1 8 10

2 10 13

3 15 20

4 20 25

5 30 35

ความ ูสงของ ้ตนถ่ัว (cm)จากตารางที่กาหนดให๎สามารถเขียนกราฟเสน๎ ตรงไดด๎ ังน้ี ปยุ๋ ชีวภาพ
ปยุ เคมี
กราฟแสดงความสูงของต้นถัว่
6
40

30

20

10

0
012345
สปั ดาห์

โรงเรยี นวิทยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวทิ ยาลยั ตรงั หนา๎ 29

ทกั ษะท่ี 7 การลงความเห็นของข้อมูล

หมายถงึ การเพิม่ ความคดิ เห็นของตนให๎กบั ข๎อมูลท่ีได๎จากการสงั เกต การทดลอง อยํางมีเหตุผล โดย
อาศัยพน้ื ฐานความร๎ูหรือประสบการณท์ ม่ี ีเข๎ามาชวํ ยในการลงความเหน็

การลงความเหน็ ในเรอ่ื งเดยี วกันอาจจะเหมอื นหรอื ไมเ่ หมอื นกนั กไ็ ด้ ข้ึนอยู่กับ
1. ความถูกต๎องของข๎อมลู ทไี่ ด๎จากการสงั เกตหรือการทดลอง
2. ทักษะการสังเกตของผลู๎ งความคดิ เห็น
3. ประสบการณ์เดิมหรือความรู๎เดมิ ของผลู๎ งความเห็น
4. ความกวา๎ งและความละเอียดของขอ๎ มูล การสงั เกตและค๎นคว๎าข๎อมูลเพ่ิมเติมจะทาให๎ลงความเห็น
ของข๎อมลู ไดถ๎ ูกต๎องมากยง่ิ ขึ้น

ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถอธิบายหรือสรุปจากประเด็นของการเพ่ิมความ
คดิ เหน็ ของตนตํอข๎อมูลท่ไี ด๎มา
ตัวอยา่ งการลงความเห็นของข้อมลู
1. “เมอื่ เดินไปตรงสนามหญา๎ นักเรียนมองเหน็ สนามหญ๎าเปยี กนา้ ” นกั เรยี นสามารถลงความเห็นไดว๎ าํ
..............................................................................................................................................................................
2. “นักเรียนเห็นเพอื่ นในหอ๎ งหลับในขณะที่ครูสอน” นกเรียนสามารถลงความเห็นไดว๎ ํา
..............................................................................................................................................................................
3. “เด็กชาย A ไมลํ งมาเขา๎ แถวในตอนเช๎า”นกั เรียนสามารถลงความเหน็ ไดว๎ ํา
..............................................................................................................................................................................

โรงเรียนวทิ ยาศาสตร์จฬุ าภรณราชวิทยาลยั ตรงั หน๎า 30

ขอ้ สังเกตการลงความเห็นของข้อมูล
1. การลงความเหน็ ของข๎อมลู ไมํใชํการคาดเดาแตเํ ปน็ การอาศยั การสงั เกต การใช๎ประสบการณแ์ ละความร๎ูเป็น
เคร่ืองมอื ในการแสดงความคิดเห็น
2. การลงความเห็นของข๎อมลู อาจจะถกู หรือผิดก็ได๎
3. การสังเกตส่ิงเดียวกนั ผส๎ู ังเกตหลายคนอาจจะลงความเหน็ ไมํเหมือนกนั กไ็ ด๎

ประโยชน์ของการลงความเห็นของขอ้ มูล
1. เปน็ การแสวงหาคาตอบทีส่ งสัย เพอื่ นาไปสูํการต้ังสมมติฐานและการทดลอง
2. เสรมิ สรา๎ งเจตคติท่ดี ที างวทิ ยาศาสตร์ เชนํ ยอมรับฟังความคดิ เห็นของผอ๎ู น่ื
3. ชํวยให๎เขา๎ ใจสภาพท่ีแทจ๎ ริงของปัญหาทเ่ี กิดข้ึนจริงหรือปรากฏการณต์ ําง ๆ ที่เกิดขึน้
4. ชวํ ยในการตดั สนิ ใจในการเลอื กซื้อของ อาหาร หรือสนิ ค๎าตาํ ง ๆ

คาชแ้ี จง ใหน๎ ักเรยี นพิจารณาขอ๎ ความตํอไปนีว้ าํ คาถามข๎อใดที่นาไปสํูทกั ษะการลงความเหน็ ขอ๎ มูล ถ๎าเปน็ ให๎ใสํ
เครอื่ งหมาย √ ถา๎ ไมเํ ปน็ ใสํเคร่อื งหมาย X
.............................. 1. ใบไม๎นี้สีเขยี ว ใบรี คล๎ายใบอ๎อย
.............................. 2. ก๎องเกียรติไมตํ ้ังใจเรียนและข้ีเกยี จจึงสอบไมผํ ําน
.............................. 3. กล๎วยหวีนี้ สุกเหลอื งงอม มรี สหวาน
.............................. 4. บ๎านเพ่ือนฉันหลงั ใหญํ มสี ระนา้ สฟี ้า และเลี้ยงแมว
.............................. 5. เธอใจดาเหมือนอีกา
.............................. 6. กิง่ แกว๎ เปน็ นกั กีฬาวอลเลยบ์ อล
.............................. 7. รถติดมาก แยกขา๎ งหนา๎ คงจะเกิดอุบตั ิเหตุ
.............................. 8. ปยุ นุนํ ร๎องเพลงเพราะมาก
.............................. 9. ตน๎ หญ๎าไมโํ ดนแดด จึงมีสเี หลอื ง
.............................. 10. ชลธชิ าปวดศรี ษะ และตวั ร๎อน

เฉลย
ขอ๎ 1. √ ข๎อ 2. √ ข๎อ 3. X ข๎อ 4. X ขอ๎ 5. √
ข๎อ 6. X ขอ๎ 7. √ ขอ๎ 8. √ ข๎อ 9. √ ข๎อ 10. X

โรงเรยี นวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ตรงั หนา๎ 31

คาชี้แจง ใหน๎ ักเรียนพิจารณาข๎อความหรือรปู ที่กาหนดให๎ตํอไป พรอ๎ มแสดงความคดิ เห็น

เอาน้าแข็งใสํลงในถัง ตั้งทิ้งไว๎ นกั เรียนลงความเหน็ ไดว๎ ํา
สักครูํ พบวําสังเกตเห็นหยดน้า
อยูํท่ีบริเวณถังนา้ ด๎านนอก

นักเรยี นลงความเหน็ ได๎วํา
นกั เรียนลงความเหน็ ได๎วาํ

โรงเรยี นวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ตรัง หน๎า 32

คาชแี้ จง ใหน๎ กั เรยี นพิจารณาข๎อความตอํ ไปนวี้ ํา ข๎อใดเป็นการลงความเหน็ ข๎อมูลและข๎อใดเปน็ ข๎อสังเกต

1. มดมหี นวด 2 เส๎น .................................................................

2. ขนมปังก๎อนน้ีทาด๎วยแปง้ สาลี .................................................................

3. รอยเท๎าน้เี ป็นรอยเท๎าของนกกระยาง .................................................................

4. วันนคี้ รูใสํกระโปรงสีดา เส้ือสีขาว .................................................................

5. แอลกอฮอล์ใชท๎ าความสะอาดและฆาํ เช้ือโรค .................................................................

6. สมุดเลมํ นป้ี กสแี ดง .................................................................

7. เทยี นเลํมน้มี ีสีเหลืองคลา๎ ยขม้ิน .................................................................

8. กอ๎ นหนิ ลอยเหนอื น้า เพราะความหนาแนํนนอ๎ ยกวําน้า .................................................................

9. ดนิ สอแทงํ นยี้ าวประมาณ 15 เซนตเิ มตร .................................................................

10. รถยนตค์ นั น้ีมี 4 ประตู .................................................................

โรงเรียนวิทยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั ตรัง หนา๎ 33

ทกั ษะที่ 8 การพยากรณ์

หมายถึง การทานายหรือการคาดคะเนคาตอบ โดยอาศยั ขอ๎ มูลทีไ่ ด๎จากการสงั เกตหรือการทาซ้า ผําน
กระบวนการแปรความหายของข๎อมูลจากสัมพนั ธภ์ ายใตค๎ วามร๎ทู างวิทยาศาสตร์
ประเภทของการพยากรณ์
1. การพยากรณ์ทั่วไป เป็นการทานายผลท่ีจะเกิดข้ึน โดยอาศัยข๎อมูลหลักการกฎ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข๎องกับ
ปัญหานน้ั เชนํ การพยากรณ์อากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาจะเก็บข๎อมูลจาก สถานีตรวจอากาศท่ีได๎วัดปริมาณ
ฝน ความเร็วและทิศทาง ลม อุณหภูมคิ วามกดอากาศฯลฯแลว๎ นามาหาความสัมพนั ธ์ของลักษณะอากาศในวัน
น้ันเพอ่ื พยากรณ์ลกั ษณะอากาศในวันตํอไป
2. การพยากรณจ์ ากขอ้ มลู มี 2 ลกั ษณะ คือ

2.1 การพยากรณ์ภายในขอบเขตท่ีศึกษา เป็นการทานายผลที่จะเกิดขึ้น ภายในขอบเขตของข๎อมูลเชิง
ปริมาณท่มี ีอยูํ
2.2 การพยากรณ์ภายนอกขอบเขตข้อมลู ทีศ่ กึ ษา เป็นการทานายคาํ ทนี่ อ๎ ยหรอื มากกวํา ขอ๎ มลู ท่มี อี ยูํ

ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถทานายผลที่อาจจะเกิดข้ึนจากข๎อมูลบนพ้ืนฐาน
หลักการ กฎ หรอื ทฤษฎีทมี่ อี ยูํ ทงั้ ภายในขอบเขตของข๎อมลู และภายนอกขอบเขตของข๎อมูลในเชงิ ปริมาณได๎

อายขุ องตน้ ตะเคยี น (ปี) ความสูง (เมตร)

2 10

4 12

6 14

8 16

ตารางแสดงความสูงของต๎นตะเคยี นต้งั แตํอายุ 2-8 ปี

การพยากรณข์ ๎อมลู ในขอบเขตท่ีมีอยํู เชํน ตน๎ ตะเคียนอายุ 5 ปี จะ
มีความสูง 11 เมตร
การพยากรณข์ ๎อมลู นอกขอบเขตทีม่ ีอยูํ เชํน ต๎นตะเคียนอายุ 10 ปี
จะมีความสูง 18 เมตร

โรงเรยี นวทิ ยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวิทยาลยั ตรัง หน๎า 34

ตวั อยา่ งการพยากรณ์
1. เด็กชาย A ไดท๎ าการวัดอุณหภูมิของอากาศในห๎องเรยี น พบวาํ ได๎อณุ หภูมดิ งั แสดงในตาราง

เวลาทวี่ ัด อณุ หภมู ิ (องศาเซลเซียส)
08.00 น. 22
10.00 น. 24
12.00 น. 26
14.00 น 28
16.00 น 26

ใหน๎ กั เรยี นตอบคาถามตํอไปน้ี
1.1 นกั เรียนคิดวาํ เม่ือเวลา 06.00 น. ควรจะวดั อุณหภมู ิได๎ ............................ องศาเซลเซยี ส
1.2 นกั เรียนคดิ วาํ เม่ือเวลา 11.00 น. ควรจะวดั อณุ หภูมไิ ด๎ ............................ องศาเซลเซยี ส
1.3 นักเรยี นคิดวาํ เม่ือเวลา 18.00 น. ควรจะวดั อุณหภูมิได๎ ............................ องศาเซลเซียส
1.4 ถา๎ อณุ หภูมิที่วัดไดเ๎ ทาํ กบั 23 องศาเซลเซยี ส แสดงวํานักเรยี นคนนน้ั อุณหภูมวิ ดั ที่เวลา ............................
1.5 ถ๎าอณุ หภมู ิท่ีวัดไดเ๎ ทาํ กับ 27 องศาเซลเซียส แสดงวาํ นักเรยี นคนนั้นอุณหภูมวิ ัดทเี่ วลา ............................

2. จากภาพทีก่ าหนดใหต๎ ํอไปน้ี ใหน๎ ักเรียนคาดคะเนคาตอบลวํ งหน๎า โดยอาศยั ประสบการณ์ ทฤษฎี
และหลกั การตําง ๆ ทีม่ ีอยํูมาชวํ ยในการคาดคะเนคาตอบ

จากภาพพบวาํ คอื เมฆควิ มูโลนมิ บสั
กอํ ตัวขนึ้ นกั เรียนสามารถพยากรณ์ได๎วํา
.................................................................

โรงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ตรัง จ า ก ภ า พ พ บ วํ า คื อ น้ า ใ น แ มํ น้ า
เปลี่ยนเป็นสีขํุน ถ๎าหากฝนยังตกหนัก
ตํอเนื่อง นักเรียนสามารถพยากรณ์ได๎วํา
.................................................................
.................................................................

หนา๎ 35

แบบฝกึ หัด ทักษะท่ี 8 การพยากรณ์

คาชแี้ จง ให๎นกั เรยี นทานายเวลาทด่ี วงอาทิตย์ขึน้ ในวันตาํ งๆ ซ่ึงใช๎ขอ๎ มลู จากตารางที่กาหนดให๎ โดยให๎นักเรียน