แผนการสอนวิทยาศาสตร์ ป.5 หลักสูตรใหม่ พว

10. “จากการศกึ ษาผลของความเขม้ ข้นของฮอร์โมนชนิดหน่งึ ท่ีมผี ลต่อการงอกของกิ่งชามะลิ” ตัวแปรต้นคอื ขอ้ ใด

ก. ความเขม้ ข้นของฮอรโ์ มน
ข. ปริมาณรากของกิ่งชาท่จี ะงอก
ค. ลกั ษณะของการตัดก่งิ
ง. ปริมาณปยุ๋

ใบความรทู้ ่ี 4
เรอ่ื ง การเขยี นโครงงานวิทยาศาสตร์
ใชป้ ระกอบแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2

รายวิชา พว11001 วิทยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

ประเภทโครงงานวทิ ยาศาสตร์
1. โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภททดลอง
โครงงานที่มีลักษณะการออกแบบการทดลอง เพ่ือศึกษาผลของตัวแปรตัวหน่ึง โดยควบคุมตัวแปร อ่ืน

ๆ ตวั อยา่ งโครงงาน เช่น การทายากันยุงจากพืชในท้องถิ่น การใชม้ ูลวัวปอ้ งกนั ววั กนิ ใบพืช การบังคับผลแตงโมเป็น
รปู สเี่ หลย่ี ม

2. โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทการสารวจ
โครงงานประเภทนี้ไม่กาหนดตัวแปรในการเก็บข้อมูล อาจเป็นการสารวจในภาคสนาม หรือในธรรมชาติ

หรอื นามาศึกษาในห้องปฏิบัติการ ตัวอยา่ งโครงงานประเภทน้ี เชน่ การสารวจพชื พันธุ์ไม้ในโรงเรียนในท้องถิ่น การ
สารวจพฤตกิ รรมด้านตา่ ง ๆ ของสัตว์

3. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทสง่ิ ประดิษฐ์

โครงงานประเภทนี้เป็นการประดิษฐ์ส่ิงใดสิ่งหน่ึง เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ หรืออุปกรณ์เพ่ือใช้สอยต่าง ๆ
สง่ิ ประดิษฐอ์ าจคดิ ข้ึนมาใหม่ ปรับปรุง หรือสร้างแบบจาลอง โดยประยกุ ต์หลกั การทางวิทยาศาสตรใ์ ช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ มกี ารกาหนดตัวแปรทจี่ ะศกึ ษา และทดสอบประสทิ ธภิ าพของชิ้นงานด้วย

4. โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททฤษฎี
โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานท่ีผู้ทาโครงงานจะต้องศึกษารวบรวมข้อมูลความรู้ หลักการ

ขอ้ เทจ็ จรงิ และแนวความคิดตา่ ง ๆ อย่างลกึ ซ้งึ แลว้ เสนอเปน็ หลกั การ แนวความคิดใหม่ กฎ หรือทฤษฎีใหม่
2. การเลือกหัวข้อโครงงาน

หัวข้อโครงงานมักจะได้จากข้อมูล ดงั ตอ่ ไปนี้
1. ส่ือสง่ิ พิมพ์ เช่น หนังสอื เรยี น หนงั สือพมิ พ์ วารสาร เอกสารเผยแพร่ แผ่นพบั
2. สื่อวิทยุโทรทัศน์
3. การทศั นศึกษา เช่น การไปศึกษาดงู าน
4. งานอดิเรก
5. ศึกษาจากโครงงานวทิ ยาศาสตร์ของผู้อืน่ ที่ไดท้ าไวแ้ ลว้
6. การปรกึ ษาผมู้ ีความรู้
7. การหาขอ้ มลู จากอินเทอร์เน็ต

ลาดับขนั้ ตอนในการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์
สารวจ และตดั สินใจเลือกเรื่องที่จะทาโครงงาน

ศกึ ษาขอ้ มูลทเี่ กย่ี วข้องกับเร่อื งทจี่ ะทาเอกสารและแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ

วางแผนทดลอง การใช้วสั ดุอุปกรณ์ และระยะเวลาในการดาเนินงาน

เขยี นเคา้ โครงของโครงงานวทิ ยาศาสตร์

ลงมอื ศึกษาทดลอง วเิ คราะห์ขอ้ มลู และสรุปผล

เขยี นรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์

เสนอผลงานของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
3. การเขียนโครงงาน

การเขียนรายงานโครงงาน ควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย กะทัดรัด ตรงไปตรงมา และการเขียนรายงาน
โครงงานไม่ควรยาวเกนิ ไป เพราะทาใหไ้ มน่ า่ สนใจเทา่ ทค่ี วร

หัวเร่ืองในการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตรม์ ี ดังน้ี
1. ชือ่ โครงงาน
2. ช่ือผูท้ าโครงงาน
3. ชอ่ื ท่ปี รึกษา
4. บทคดั ย่อ
5. ท่มี าและความสาคญั ของโครงงาน
6. จุดม่งุ หมายของการศกึ ษาคน้ ควา้
7. สมมตฐิ านของการศึกษาค้นควา้ (ถ้ามี)
8. วิธดี าเนินการ

8.1 วสั ดอุ ุปกรณ์
8.2 วิธดี าเนินการทดลอง
9. ผลการศึกษาค้นคว้า
10. สรปุ และข้อเสนอแนะ
11. คาขอบคณุ หน่วยงาน หรือบุคลากรทม่ี สี ่วนเกี่ยวข้อง
12. เอกสารอา้ งอิง

4. การนาเสนอโครงงาน
หลังจากทาโครงงานวิทยาศาสตร์เสร็จแล้วต้องนาเสนอโครงงาน การแสดงผลงานโครงงานนั้นอาจทาได้

หลายรปู แบบ เชน่ การแสดงในรูปนิทรรศการ หรือในรปู ของการรายงานปากเปล่า แต่ไม่ว่าจะแสดงผลงานรูปแบบ
ใด จะต้องครอบคลุมประเดน็ ดังต่อไปน้ี

1. ช่ือโครงงาน ชือ่ ผทู้ าโครงงาน ช่ือทปี่ รกึ ษา

2. คาอธบิ ายถึงเหตจุ ูงใจในการทาโครงงาน และความสาคัญของโครงงาน
3. วธิ ีดาเนินการ โดยเลอื กเฉพาะข้นั ตอนทเี่ ด่นและสาคญั
4. การสาธติ หรอื แสดงผลทไี่ ดจ้ ากการทดลอง
5. ผลการสงั เกต และข้อมูลต่าง ๆ ทไ่ี ด้จากการทาโครงงาน

นอกจากนแ้ี ลว้ ยังต้องคานงึ ถึงสง่ิ ตา่ ง ๆ ต่อไปน้ี
1. ความแข็งแรง และความปลอดภัยของนิทรรศการ
2. ความเหมาะสมกบั พน้ื ท่ีจดั แสดง
3. คาอธบิ าย ควรเน้นข้อหวั ที่สาคญั ใชข้ อ้ ความกะทัดรัด ชัดเจน และเข้าใจง่าย
4. ใช้ตาราง และรปู ภาพประกอบ
5. สง่ิ ทจ่ี ดั แสดงจะต้องถูกต้อง ไมม่ ีคาสะกดผิด หรืออธิบายหลักการผิด
6. ในกรณที ่ีเป็นโครงงานประดษิ ฐ์ สง่ิ ประดษิ ฐ์จะต้องสามารถทางานได้อย่างสมบูรณ์

ในกรณีที่จัดแสดงผลงานดว้ ยปากเปลา่ จะตอ้ งคานึงถงึ เร่อื งต่อไปนี้
1. ตอ้ งเข้าใจเรื่องทอี่ ธบิ ายอย่างดี
2. ภาษาที่ใช้ตอ้ งกะทัดรัด เข้าใจงา่ ย ตรงไปตรงมา
3. ควรรายงานแบบเป็นธรรมชาติ ไมค่ วรรายงานแบบทอ่ งจา
4. ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา
5. ควรรายงานให้เสรจ็ ส้ินภายในเวลาทีก่ าหนด
6. ควรมสี ่อื อปุ กรณ์ ประกอบการรายงานด้วย เพื่อจะทาใหก้ ารรายงานสมบรู ณ์มากย่ิงข้นึ

ตวั อย่างโครงงานวิทยาศาสตร์

โครงงานวิทยาศาสตร์
เรอ่ื ง กรดจากนา้ ผลไม้

จัดทาโดย เลขท่ี 32
1. นางสาวเยาวรตั น์ ตอสงู เนิน เลขท่ี 42
2. นางสาวสไบนาง สนทิ ภักดี เลขที่ 45
3. นางสาวสุมนิ ตรา ขวัญถาวร

ครทู ปี่ รกึ ษาการจัดทาโครงงาน
คุณครสู ราวธุ โครตมา

โรงเรยี นภูเขียว
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาชัยภูมิ เขต 2

กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กรดจากน้าผลไม้ จัดทาขึ้นเพ่ือศึกษาเก่ียวกับการทดลองหาระดับความเป็น
กรดของนา้ ผลไม้แตล่ ะชนิดท่มี าผสมกันและทดสอบความสามารถในการกัดกร่อนของน้าผลไม้ทผี่ สมกันแล้วนามาเติม
เกลือละลายน้าว่ามีฤทธิ์ในการขจัดคราบสกปรกของเหรียญหรือไม่ โดยได้รับการสนับสนุนจากท่านคุณครู สราวุธ
โครตมา ครุประจาวิชาและได้รับการสนับสนุนจากผู้อานวยการโรงเรียนภูเขียวและขอขอบพระคุณท่ีได้ให้คาปรึกษา
ในการจัดทาโครงงานและได้รับความอนุเคราะห์จากพ่อแม่ผู้ปกครองที่ได้ให้ข้อเสนอแนะ แนะนาเอกสารตาราต่างๆ
ใหศ้ ึกษาค้นคว้า
คณะผู้จัดทา ขอขอบพระคุณทุกท่านดังท่ีไดก้ ลา่ วถงึ มาข้างหนา้ และทไ่ี ม่ได้กล่าวถึงไว้ ณ ท่ีนีเ้ ปน็ อยา่ งสงู

คณะผจู้ ดั ทา
บทคัดยอ่
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กรดจากน้าผลไม้ การทดลองน้ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อทดสอบหาระดับความเป็นกรด
และความสามารถในการกัดกร่อน โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ตอน ดังน้ี คือ ตอนที่ 1 ศึกษาหาระดับค่าความ
เปน็ กรด โดยการนาน้ามะนาวผสมกับนา้ สบั ปะรด น้ามะนาวผสมกบั น้าสม้ และน้าสับปะรดผสมกบั น้าส้ม เพ่ือทดสอบ
หาระดบั ค่าความเป็นกรด ว่านา้ ผลไมท้ ีผ่ สมกนั นัน้ แบบใดมคี า่ ความเป็นกรดเรียงลาดับจากคา่ และใน ตอนที่ 2 จะ
ศึกษาเกี่ยวกับความสามารถในการกัดกร่อนของน้าผลไม้ท่ีผสมกันในตอนท่ี 1 โดยการเติมเกลือละลายน้าลงไปในน้า
ผลไม้ท่ีผสมกันไว้ทั้ง 3 แบบ แล้วหลังจากน้ันนาเหรียญที่มีคราบสกปรกมาใส่ในน้าผลไม้ทั้ง 3 แบบ และสังเกตผล
การทดลอง

บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน

ประชาชนส่วนใหญ่นิยมด่ืมน้าผลไม้เพื่อคลายร้อนและดับกระหาย บางครั้งก็นานาผลไม้มาแปรรูปซ่ึงเป็น
การถนอมอาหารอีกรูปแบบหนึ่งหรือนามารับประทานแทนของว่างก็ได้ กลุม่ ของดิฉนั จึงไดน้ าข้อมลู เหลา่ น้มี าคุยและ
ปรึกษากันกับสมาชิกภายในกลุ่มว่าเราสามารถนาผลไม้บางชนิดท่ีมีฤทธ์ิความเป็นกรดมาขจัดคราบสกปรกบนเหรียญ
ได้หรือไม่ และถ้าต้องจัดระดับค่าความเป็นกรดเมื่อนาน้าผลไม้มาผสมกับนั้นจะสามารถเรียงลาดับว่าอันไหนมีค่า
ความเปน็ กรดสูงสดุ จากข้อสงสยั ตา่ ง ๆ เหลา่ นี้กลุ่มของดิฉนั จงึ ไดค้ ิดคน้ จดั ทาโครงงานนี้ขนึ้ มา
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือศึกษาหาระดบั ค่าความเปน็ กรดของน้าผลไม้เมื่อนามาผสมกัน
2. เพ่ือศึกษาวา่ กรดจากนา้ ผลไม้ทีผ่ สมแล้วเติมเกลือละลายนา้ ลงไปจะมีความสามารถในการขจัดคราบ
สกปรกหรอื ไม่
3. เพ่ือศึกษาหาความสามารถในการกดั กร่อนของน้าผลไม้เม่ือนาเกลอื ละลายน้ามาผสม
ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
1. ได้ทราบถงึ ระดบั กรดเม่ือทาการทดสอบจากนา้ ผลไม้ และเรียงลาดับคา่ จากมากไปหาน้อย
2. ไดท้ ราบถงึ ความสามารถในการขจัดคราบสกปรกของน้าผลไมท้ ่ผี สมกันแลว้ เตมิ เกลือละลายนา้ ลงไปว่า
สามารถนามาใช้ประโยชนใ์ นการทาความสะอาดไดจ้ รงิ
3. ไดท้ ราบถงึ ความสามารถในการการกดั กร่อนของน้าผลไม้ทผี่ สมกบั แลว้ นาเกลอื ละลายน้ามาผสมว่ามี
ฤทธิ์กัดกร่อนจนสามารถขจัดสกปรกได้
ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า
1. ศกึ ษาหาระดับค่าความเป็นกรด ของน้าผลไม้ที่นามาผสมกนั
2. ศกึ ษาหาความสามารถในการกัดกร่อนของนา้ ผลไม้ทผี่ สมกัน แลว้ เตมิ เกลือละลายน้าลงไปและ
ความสามารถในการขจัดคราบสกปรกบนเหรียญ
สมมตุ ิฐานของการศึกษา
ตอนท่ี 1 วัตถดุ บิ ทีน่ ามาทดลอง เมือ่ นามาผสมกนั จะทาใหร้ ะดบั ค่าความเปน็ กรดเปลีย่ นไป
ตอนท่ี 2 ระดบั คา่ ความเปน็ กรด เมือ่ นาเกลอื ละลายน้ามาผสมลงไปจะทาใหค้ วามสามารถในการกดั กร่อนและขจัด
คราบสกปรกไดด้ ยี ่งิ ขนึ้
ตัวแปร

ตัวแปรตน้
ตอนที่ 1 นา้ มะนาว นา้ สบั ปะรด น้าสม้
ตอนที่ 2 นา้ มะนาว น้าสบั ปะรด นา้ สม้ เกลอื ละลายน้า

ตัวแปรตาม
ระดบั ค่า ph ท่วี ัดไดจ้ ากการทดลอง

ตัวแปรควบคุม
ตอนท่ี 1 ปริมาณน้ามะนาว ปริมาณน้าสับปะรด ปรมิ าณน้าสม้
ตอนที่ 2 ปรมิ าณนา้ มะนาว ปรมิ าณน้าสับปะรด ปรมิ าณนา้ สม้ ปริมาณเกลอื ละลายน้า

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง

สม้
การจาแนกชน้ั ทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร Plantae
ส่วน Magnoliophyta
ชั้น Magnoliopsida
ชน้ั ยอ่ ย Rosidae
อนั ดบั Sapindales
วงศ์ Rutaceae
สกุล Citrus

ส้ม เปน็ ไมพ้ ุ่มหรอื ไม้ตน้ ขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มีด้วยกนั นบั รอ้ ยชนิด
เตบิ โตกระจายอยทู่ วั่ โลก โดยมากจะมนี ้ามนั หอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉุน หากนาใบขึน้ ส่องกับ
แสงแดด จะเหน็ จุดเล็กๆ เตม็ ไปหมด ซึง่ จุดเหล่านั้นก็คือแหล่งนา้ มันนั่นเอง สม้ หลายชนดิ รับประทานได้ ผลมรี ส
เปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซยี ม โปแทสเซยี ม ไวตามนิ เอ และไวตามินซี มากเปน็ พิเศษ ถ้าผลไม้จาพวกนม้ี ี มะ อยู่
หน้า ต้องตัดคา สม้ ออก เชน่ สม้ มะนาว ส้มมะกรดู เป็น มะนาว มะกรูด

มะนาว
การจาแนกช้ันทางวทิ ยาศาสตร์
อาณาจักร Plantae
สว่ น Magnoliophyta
ช้นั Magnoliopsida
อนั ดบั Sapindales

วงศ์ Rutaceae
สกลุ Citrus
สปีชีส์ C. aurantifolia
ชอื่ วิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia Swing.

มะนาว (องั กฤษ: lime) เปน็ ไม้ผลชนดิ หน่ึง ผลมรี สเปรย้ี วจดั จดั อยู่ในสกุล สม้ (Citrus) ผลสีเขยี ว เมอ่ื สุก
จดั จะเป็นสีเหลอื ง เปลือกบาง ภายในมเี น้ือแบ่งกลบี ๆ ชมุ่ น้ามาก นับเป็นผลไม้ทม่ี ีคณุ ค่า นยิ มใชเ้ ป็นเคร่อื งปรงุ รส
นอกจากนย้ี งั ถือว่ามคี ุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ดว้ ย

สบั ปะรด

การจาแนกชัน้ ทางวิทยาศาสตร์

อาณาจักร Plantae

สว่ น พชื ดอก Magnoliophyta

ส่วนไมจ่ ดั อันดับ Angiosperms

ชน้ั ไม่จัดอันดบั Monocots

ชน้ั พืชใบเล้ียงเด่ยี ว Liliopsida

อันดับไมจ่ ดั อนั ดบั Commelinids

อันดับ Poales

วงศ์ Bromeliaceae

วงศ์ย่อย Bromelioideae

สบั ปะรด (ชื่อทางวทิ ยาศาตร์: Ananas comosus) เป็นพืชลม้ ลกุ ชนดิ หนึ่ง ลาต้นมขี นาดสูงประมาณ

80-100 เซนติเมตร การปลูกก็สามารถปลูกได้ง่ายโดยการใช้หน่อหรือที่เปน็ สว่ นยอดของผลทีเ่ รียก วา่ จุก มาฝงั กลบ

ดนิ ไว้ และออกเป็นผล เปลือกของผลสบั ปะรดภายนอกมีลักษณะคลา้ ยตาล้อมรอบผล

บทที่ 3
วิธดี าเนินการโครงงาน
อปุ กรณแ์ ละวิธกี ารทดลอง
1. วัสดุ
1.1 นา้ มะนาว
1.2 นา้ สบั ปะรด
1.3 น้าส้ม
1.4 เกลอื ละลายน้า
1.5 เหรยี ญหนึง่ บาท 3 เหรียญ
2. อปุ กรณ์
2.1 มดี
2.2 แกว้ ขนาดกลาง 3 ใบ

2.3 ชามใบเล็ก 2 ใบ
2.4 ชอ้ น 2 คนั
2.5 เขียง
2.6 กระดาษลิตมสั

ขนั้ ตอนและวิธีการดาเนินงาน
1. ข้ันตอนการเตรียมวัสดุ
1.1 นามะนาว สบั ปะรดและสม้ มาค้ันให้ไดน้ ้าและกรองเอาตะกอนท้งิ
1.2 นาเกลือมาละลายน้าละอาดท้งิ ไว้ประมาณ 5 นาที

ขั้นตอนการทดลอง
ตอนท่ี 1 ศกึ ษาระดับค่าความเปน็ กรดของน้าผลไม้เมื่อนามาผสมและเรยี งลาดับจากคา่ มากไปหาคา่ น้อย
1.1 นามะนาว สม้ สับปะรด มาคั้นใหไ้ ด้น้า
1.2 เม่ือไดน้ า้ ผลไม้ทงั้ 3 ชนดิ แลว้ ใหน้ ามาผสมกันตามสัดส่วนดังนี้
1.2.1 นานา้ สับปะรดไปผสมกบั น้ามะนาว ในปรมิ าณ 1 ชอ้ นโตะ๊ เท่ากัน
1.2.2 นาน้าสม้ ไปผสมกับน้ามะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเทา่ กนั
1.2.3 นานา้ ส้มไปผสมกบั น้าสับปะรด ในปริมาณ 1 ชอ้ นโตะ๊ เทา่ กนั
1.3 เม่ือนาไปผสมตามสดั สว่ นแล้ว คนใหเ้ ขา้ กันแล้วทดสอบหาระดับคา่ ความเป็นกรดดว้ ย

กระดาษลิตมสั
1.4 บันทึกผลการทดลองท่ีได้ โดยการเรียงลาดบั ระดับค่าความเปน็ กรด จากค่ามากไปหา

ค่านอ้ ย

ตอนท่ี 2 ศกึ ษาหาความสามารถในการกัดกร่อนและขจดั คราบสกปรกบนเหรยี ญ เม่ือนาเกลือละลายน้าผสม
ลงไป

2.1 ใหน้ าเกลือละลายน้าทไ่ี ด้ไปผสมกับนา้ ผลไม้ในตอนท่ี1 ในปรมิ าณ 1 ชอ้ นโตะ๊
2.2 คนให้เข้ากัน แลว้ นาเหรียญที่มคี ราบสกปรกใสล่ งไปในนา้ ผลไมท้ ่ผี สมเกลือละลายนา้ ไว้
2.3 ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที แล้วสังเกตความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดข้ึน
2.4 นาเหรยี ญออกมาลา้ งนา้ สะอาด เชด็ ให้แหง้ นามาเปรยี บเทยี บกนั แล้วบันทกึ ผลการ
ทดลองท่ีเกดิ ข้ึน

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล/ผลการจดั ทาโครงงาน

ผลการทดลอง
ตอนท่ี 1 ระดบั ค่าความเป็นกรดของนา้ ผลไม้เมือนามาผสมกนั เรยี งลาดบั จากคา่ มากไปหาคา่ น้อยเป็นดงั น้ี

น้าผลไม้ทน่ี ามาผสมกัน ระดบั ค่า pH ทีไ่ ด้
1. น้ามะนาว + น้าสับปะรด 3.0
2. น้ามะนาว + น้าส้ม 4.0
3. น้าส้ม + นา้ สบั ปะรด 4.5

ตอนท่ี 2 ความสามารถในการกัดกร่อนและขจดั คราบสกปรกบนเหรยี ญเมื่อนานา้ น้าเกลือละลายนา้ ผสมลงไป
แกว้ ที่ 1 นา้ ส้ม + นา้ มะนาว
แกว้ ท่ี 2 นา้ มะนาว + น้าสับปะรด
แก้วท่ี 3 นา้ สม้ + นา้ สบั ปะรด
เหรียญหนง่ึ บาทท่ีสกปรกจานวน 3 เหรยี ญ
เหรยี ญทีม่ สี กปรกใสใ่ นแกว้ น้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า
เหรยี ญทีผ่ ่านการแชน่ ้าผลไม้ผสมเกลือละลายนา้ 30 นาที

บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผลการดาเนินการจัดทาโครงงาน

จากผลการทดลองสรุปได้ ดงั นี้
1. เม่อื นาน้าสม้ ผสมกบั นา้ มะนาวจะไดค้ า่ pH เท่ากบั 4.0
2. เมื่อนาน้ามะนาวผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เทา่ กบั 3.0
3. เมื่อนาน้าสมผสมกับน้าสบั ปะรดจะไดค้ า่ pH เทา่ กับ 4.5

แสดงว่าเมื่อนาน้ามะนาวมาผสมกับน้าสับปะรดจะพบว่าค่าความเป็นกรดสูงกว่า น้ามะนาวผสมกับน้าส้ม
และน้าส้มผสมกับน้าสับปะรด นอกจากน้ีเรายังพบว่าเม่ือนาน้าผลไม้ท่ีได้จากการผสมกันดังกล่าวท้ัง 3 ชนิด มาเติม
เกลือละลายน้าลงไปแล้วนาเหรียญที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปตั้งเวลาไว้ประมาณ 30 นาที ภายหลัง 30 นาที นา
เหรียญออกมาล้างน้าสะอาดพบว่าเหรียญท่ีอยู่ในน้าผสมไม้ที่มีค่า pH สูงที่สุดมี่ความสะอาดมากที่สุด เพราะกรดท่ี
เข้มข้นจะมฤี ทธ์กิ ารกดั กร่อนมากท่ีสุดตามลาดบั ความเข้มขน้ ของกรด

ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รับจากการทดลอง
1. สามารถนานา้ ผลไมม้ าทาความสะอาดเหรียญทม่ี ีคราบสกปรกได้
2. สามารถทราบถึงฤทธ์ิของกรดที่กดั กรอ่ นคราบสกปรกบนเหรียญได้
3. สามารถทราบว่าน้าผลไมช้ นดิ ใดมคี ่าความเปน็ กรดมากและมฤี ทธิก์ ารกัดกร่อนไดดีทสี่ ดุ

ข้อเสนอแนะ
1. เราอาจนาน้าผลไม้ชนิดอื่นทม่ี ีฤทธิ์เป็นกรดทหี่ าได้ง่ายตามครวั เรือนของคุณ
2. เราอาจนาการทดลองนไ้ี ปทดลองกบั สิ่งอนื่ ๆทีม่ คี ราบสกปรกตดิ อยู่ เช่น สร้อยคอ แหวน พวงกญุ แจ

บรรณานกุ รม

_____ . หนังสอื เรยี นวชิ าวิทยาศาสตร์เพมิ่ เติม เล่ม 4 (เคมี ). กรงุ เทพ: 2550
_____ . ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตรจ์ ากโรงเรียนอรโุ ณทยั จังหวดั ลาปาง
_____. นพ.ประวติ ร พศิ าลบตุ ร.นิตยสารเพ่ือสุขภาพ หมอชาวบ้าน (กรดคอื ?) . ฉบบั ท่ี 322 : กรงุ เทพ:
สานักพมิ พ์หมอชาวบ้าน บจก. , 2550
_____. www.doctor.or.th
_____. www.google.com

เค้าโครงงานวทิ ยาศาสตร์

1. ช่ือโครงงาน............................................................................................................................. ............................