กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม

จากข้อมูลของฺ Bloomberg พบว่าแรงงานอุตสาหกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นมีรายได้ต่อชั่วโมงสูงกว่าอาชีพอื่นสำหรับหน่วยงานเอกชนถึง 13% โดยรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 42 ดอลลาร์สหรัฐต่อชั่วโมง

ในปัจจุบันอัตรารายได้ขั้นต่ำแตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่โดยมีการปรับค่าจ้างสูงสุดอยู่ที่ 330 บาท ต่อวันสำหรับจังหวัดภูเก็ต ชลบุรี และระยอง มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2561 ที่ผ่านมา

กลุ่มอุตสาหกรรมต่อยอดอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S- Curve) คือ อุตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีความเชี่ยวชาญในการผลิต และต้องการการพัฒนาต่อยอดด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ  ประกอบด้วยอุตสาหกรรมต่าง ๆ ดังนี้

         ตามยุทธิศาสตร์การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดว่าภายใต้กรอบเวลา ๒ ปีจะสามารถพัฒนา ๕ ศักยภาพของพื้นที่ใสน๕กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามาร๔แข่งขันใน๕ภูมิภาคหลักของโลก โดยโดยขอให้สถาบันการศึกษาไปจัดทำหลักสูตรความรู้เพื่อพัฒนาใน๕ศักยภาพของพื้นที่คือ

4. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นอาชีพที่อยู่บนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้(Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา(Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรู้ของสังคม (Wisdom)และเทคโลโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and Innovation) (อาคม เติมพิทยาไพสิฐ, 2553) ดังนั้น กลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นการต่อยอดหรือการพัฒนาอาชีพในกลุ่มอาชีพเดิม คือ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรม กลุ่มอาชีพคหกรรม กลุ่มอาชีพหัตถกรรมและกลุ่มอาชีพศิลปกรรมกลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ เช่น แฟชั่นเสื้อผ้า เครื่องประดับ เครื่องสำอาง ทรงผมสปาสมุนไพร การออกแบบสื่อ/ภาพยนตร์/โทรทัศน์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เฟอร์นิเจอร์ วัสดุก่อสร้างแบบประหยัดพลังงาน เซรามิก ผ้าทอ จักสาน แกะสลัก รถยนต์พลังงานทางเลือก ขาเทียมหุ่นยนต์เพื่อคนพิการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตลาดน้ำอโยธยา เป็นต้น

         ตามยุทธิศาสตร์การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดว่าภายใต้กรอบเวลา ๒ ปีจะสามารถพัฒนา ๕ ศักยภาพของพื้นที่ใสน๕กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามาร๔แข่งขันใน๕ภูมิภาคหลักของโลก โดยโดยขอให้สถาบันการศึกษาไปจัดทำหลักสูตรความรู้เพื่อพัฒนาใน๕ศักยภาพของพื้นที่คือ

น้องๆ และเพื่อนๆ ที่กำลังสนใจวางแผนการเรียนต่อในอนาคตอันใกล้นี้ จะเลือกสายการเรียนและสายงานไหนดีที่อนาคตตลาดในประเทศไทยจะมีความต้องการ และเรียนจบไปแล้วจะมีตลาดงานรองรับจริงๆ บทความนี้เรามีข่าวดีและตัวเลขที่น่าสนใจมาบอกให้เตรียมตัวกัน

นายอดิทัต วะสีนนท์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปิดเผยว่า สศอ.ได้ศึกษา โครงการเตรียมศักยภาพแรงงานในภาคอุตสาหกรรม รองรับอุตสาหกรรม 4.0 พบว่า ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายต่อไปนี้ มีความต้องการแรงงานตั้งแต่ปี 2562-2567 ปริมาณรวม 2.24 ล้านคน โดยปี 2563 มีความต้องการแรงงาน 351,957 คน และช่วงปี 2563-2567 มีความต้องการแรงงาน 1.75 ล้านคน

กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม

เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งพัฒนาศักยภาพผลิตแรงงานป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรมเป้าหมายให้เพียงพอ เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรมเป้าหมาย เป็นปัญหาใหญ่ที่นักลงทุนมีความกังวลอย่างมาก “ให้มองประเด็นแรงงานตกงานเป็นเรื่องระยะยาวแล้วพบว่าไทยต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายอย่างมาก โดยตัวเลขความต้องการรวม 2.25 ล้านคน เป็นที่ต้องการทั่วประเทศ ไม่ใช่แค่พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรืออีอีซีเท่านั้น” นายอดิทัตกล่าว ทั้งนี้ตัวเลขความต้องการแต่ละอุตสาหกรรมเป้าหมาย ประกอบไปด้วย 10 อุตสาหกรรม ดังนี้

กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 
มีความต้องการแรงงานรวม 235,711 ราย แบ่งเป็นระดับการศึกษาต่ำกว่า ม.6 จำนวน 63,404 ราย วิชาชีพ 115,498 ราย อุดมศึกษา 56,807 ราย

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 
มีความต้องการรวม 241,243 ราย แบ่งเป็นต่ำกว่า ม.6 มี 61,469 ราย วิชาชีพ 29,576 ราย อุดมศึกษา 150,198 ราย

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 
มีความต้องการรวม 228,442 ราย แบ่งเป็นต่ำกว่า ม.6 มี 18,275 ราย วิชาชีพ 125,643 ราย อุดมศึกษา 84,524 ราย

อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
มีความต้องการรวม 228,239 ราย แบ่งเป็น ต่ำกว่า ม.6 มี 209,752 ราย วิชาชีพ 8,673 ราย อุดมศึกษา 9,814 ราย

อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป 
มีความต้องการรวม 236,394 ราย แบ่งเป็นต่ำกว่า ม.6 มี 97,867 ราย วิชาชีพ 69,736 ราย อุดมศึกษา 68,791 ราย

อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ 
มีความต้องการรวม 211,501 ราย แบ่งเป็นวิชาชีพ 74,025 ราย อุดมศึกษา 137,475 ราย

อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์
มีความต้องการรวม 213,486 ราย แบ่งเป็นต่ำกว่า ม.6 มี 17,079 ราย วิชาชีพ 117,418 ราย อุดมศึกษา 78,990 ราย

อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ 
มีความต้องการรวม 215,751 ราย แบ่งเป็นต่ำกว่า ม.6 มี 51,996 ราย วิชาชีพ 73,787 ราย อุดมศึกษา 89,968 ราย

อุตสาหกรรมดิจิทัล 
มีความต้องการรวม 217,368 ราย แบ่งเป็นต่ำกว่า ม.6 มี 17,389 ราย วิชาชีพ 54,342 ราย อุดมศึกษา 145,637 ราย

อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร 
มีความต้องการรวม 221,446 ราย แบ่งเป็นต่ำกว่าม.6 มี 17,715 ราย วิชาชีพ 66,434 ราย อุดมศึกษา 137,297 ราย

เอาล่ะ เห็นแนวทางอาชีพสายนี้กันไปแบ้ว น้องๆ หรือเพื่อนๆ พี่ๆ คนไหนที่กำลังอยู่ในสายงานด้านนี้ก็รีบเตรียมพร้อมฝึกฝนทักษะและสั่งสมประสบการณ์ เพื่อเตรียมรับโอกาสใหม่ๆ กันไว้ให้ดีเลย

กลุ่มอาชีพด้านอุตสาหกรรมมีอะไรบ้าง

อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ ... .
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ... .
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ... .
อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ... .
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ... .
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ... .
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ ... .
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ.

กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรมหมายถึงอะไร

3. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม คือการพัฒนาอาชีพที่อาศัยองค์ความรู้ เทคโนโลยี/นวัตกรรม อาชีพเกี่ยวกับงานช่าง ซึ่งได้แก่ช่างไฟฟ้า ช่างไม้ ช่างยนต์ ช่างประปา ช่างปูน และช่างเชื่อมให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศและศักยภาพหลักของพื้นที่ เช่น ผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์เครื่องใช้ไฟฟ้า หรืออุปกรณ์อิเลค ...

กลุ่มอาชีพด้านพาณิชยกรรมมีอะไรบ้าง

ประเภทวิชาพาณิชยกรรม.
1. สาขางานการบัญชี.
2. สาขางานการขาย/การตลาด.
3. สาขางานธุรกิจค้าปลีก/สาขางานธุรกิจซุปเปอร์เซ็นเตอร์.
4. สาขางานเลขานุการ/การจัดการสำนักงาน.
5. สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
6. สาขางานการเงินภาครัฐบาลและเอกชน.
7. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์.

การสร้างอาชีพใหม่5กลุ่มมีอะไรบ้าง

กลุ่มอาชีพใหม่ 5 กลุ่มได้แก่.
กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม.
กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม.
กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรม.
กลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์.
กลุ่มอาชีพบริหารจัดการและบริการ.