การคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต ppt

คาดการณ์ เทคโนโลยี
ในอนาคต

ร า ย วิ ช า เ ท ค โ น โ ล ยี ( อ อ ก แ บ บ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี )
ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบ Active Learning

ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2

น า ง ส า ว ธ นิ ษ ฐ า ปั ก ษี
ส า ข า วิ ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ศึ ก ษ า
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ภู เ ก็ ต

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คาดการณ์เทคโนโลยี
ในอนาคตจัดทำขึ้นสำหรับประกอบการการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่ วย
การเรียนรู้ที่ 1 คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยได้จัดทำขึ้นให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ซึ่งการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ตามขั้นตอนเรียนรู้แบบ Active learning เป็นกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือทำและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยว
กับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป ซึ่งก็แปลได้ตรงตัวเลยก็คือ เป็นการ
เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือ การลงมือทำซึ่งความรู้ ที่เกิดขึ้นจาก
ประสบการณ์

ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างชุดกิจกรรมการเรียนรู้ฉบับนี้ จะช่วยให้
นั กเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมทักษะกระบวนการ
คิด และฝึกการเป็นผู้นํ าและผู้ตามที่ดีตลอดจนการส่งเสริ
มการทํางานร่วมกัน เพราะนั กเรียนสามารถนํ าความรู้และทักษะ
ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน รวมทั้งเป็นพื้นฐานในการ
ศึกษาต่อไป

หากมีข้อบกพร่องใดๆ ผู้จัดทําขออภัยมาในโอกาสนี้ ด้วย และ
ขอน้ อมรับด้วยความขอบคุณยิ่ง

ธนิ ษฐา ปักษี

สารบัญ ห น้ า
1
เ รื่ อ ง 2
คำ ชี้ แ จ ง สำ ห รั บ ค รู 3
คำ ชี้ แ จ ง สำ ห รั บ นั ก เ รี ย น 4
แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ลำ ดั บ ขั้ น ต อ น ก า ร ศึ ก ษ า ชุ ด 5
ส า ร ะ สำ คั ญ 6
จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ 7-8
แ ผ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ 9-14
แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น 15-16
ใ บ ค ว า ม รู้ 17-18
ใ บ กิ จ ก ร ร ม 19
แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น 20-21
ก า ร ป ร ะ เ มิ น 22
เฉลย
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

คำชี้แจงสำหรับครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คาดการณ์เทคโนโลยีใน
อนาคต สำหรับนั กเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบ
ด้วยดังนี้

1. คําแนะนํ าสําหรับนั กเรียน
2. แผนภูมิแสดงลําดับขั้นตอนการศึกษาชุดกิจกรรม
3. จุดประสงค์การเรียนรู
4. แบบทดสอบก่อนเรียน
5. ใบความรู
6. กิจกรรมฝึกทักษะ
7. แบบทดสอบหลังเรียน
8. บรรณานุกรม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต
สำหรับนั กเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จํานวน 2 ชั่วโมง

คำชี้แจงสำหรับนั กเรียน

ชุดกิจกรรมชุดนี้ นั กเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง โดย
ปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
1. อ่านคําชี้แจงและคําแนะนํ าสําหรับนั กเรียนให้เข้าใจก่อนที่
จะลงมือศึกษาชุดฝึกกิจกรรม
2. ทําแบบทดสอบก่อนเรียน จํานวน 10 ข้อเพื่อประเมินความรู้
พื้นฐานของนั กเรียน
3. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อให้ทราบว่านั กเรียนจะได้
เรียนรู้สิ่ งใดจากชุดกิจกรรมแต่ละชุด
4. ศึกษาใบความรู้และทํากิจกรรมตามที่ได้กําหนดไว้
5. นั กเรียนร่วมกับครูเฉลยกิจกรรมฝึกทักษะ
6. ทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ข้อ
7. นั กเรียนร่วมกับครูเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
8. นั กเรียนสามารถนํ าชุดกิจกรรมไปฝึกปฏิบัติเพิ่มเติมบ่อยๆ
เพื่อให้เกิดความชํานาญ
9. ถ้านั กเรียนต้องการศึกษาเนื้ อหาเพิ่มเติม สามารถค้นคว้าได้
จากบรรณานุกรมที่แสดงไว้ท้ายเล่ม

แผนภูมิแสดงลำดับขั้นตอน
การศึ กษาชุดกิจกรรม

อ่านคำชี้แจง

อ่านคำแนะนำสำหรับครูและนั กเรียน

ศึ กษาสาระสำคัญ

แผนการจัดการเรียนรู้

ทดสอบก่อนเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้

ทดสอบหลังเรียน

ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์

สาระสำคัญ

มนุษย์ค้นพบและสร้างองค์ความรู้มากมายหลายสาขา
สาเหตุหรือปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความก้าวหน้ าของศาสตร์ต่าง ๆ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม ทำให้
เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยเทคโนโลยี
แต่ละประเภทมีผลกระทบต่อชีวิตสังคม และสิ่งแวดล้อมที่แตก
ต่างกัน จึงต้องวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย และตัดสินใจ
เลือกใช้ให้
เหมาะสม

มาตรฐานการเรียนรู้
ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต
ในสั งคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้และทักษะ
ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้
ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วย
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคำนึ งถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่ง
แวดล้อม

ตัวชี้วัด
ม.2/1 คาดการณ์แนวโน้ มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้น โดย
พิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่ งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี และวิเคราะห์เปรียบเทียบ ตัดสินใจ เลือกใช้
เทคโนโลยี โดยคำนึ งถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม
และสิ่ งแวดล้อม

จุดประสงค์การเรียนรู้

1 อธิบายผลกระทบของเทคโนโลยีด้านบวกและด้านลบได้(K)
2 อภิปรายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ได้ถูกต้อง (K)
3 มีทักษะสรุปความรู้ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
หรือผลกระทบของเทคโนโลยี ต่อสิ่งแวดล้อมได้(P)
4 เห็นถึงความส าคัญของผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบใน
การสร้างเทคโนโลยี(A)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบ Active Learning
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยถามคำถามเพื่อกระตุ้นความคิดและ
ความสนใจของผู้เรียน เช่น ให้นั กเรียน สังเกตภาพและร่วมกัน
อภิปรายในประเด็นพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีโทรศัพท์
ในรูปแบบ ของนวัตกรรมจากอดีตถึงปัจจุบัน โดยครูอธิบายเพิ่มเติม
กับนั กเรียนเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน
2. ครูอธิบายกับนั กเรียนว่า การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเกิด
ขึ้นจากหลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่มีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่ อง คือ การตอบสนองความต้องการของ
มนุษย์ ความก้าวหน้ า ของศาสตร์ต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม
2. ครูให้นั กเรียนแบ่งกลุ่ม เป็น 4 กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทน
มาจับสลากหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา เรื่องการเปลี่ยนแปลงและผลกระ
ทบของเทคโนโลยีโดยมีหัวข้อ ดังต่อไปนี้
กลุ่มที่ 1 ปัจจัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
กลุ่มที่ 2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีด้าน
มนุษย์และสั งคม
กลุ่มที่ 3 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ด้าน
เศรษฐกิจ
กลุ่มที่ 4 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีด้านสิ่ง
แวดล้อม
ให้นั กเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดและสืบค้นข้อมูลจาก
อินเทอร์เน็ ต หลังจากนั้ นร่วมกันอภิปรายผล การศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
3. ครูอธิบายกับนั กเรียนว่า เทคโนโลยีที่อำนวยความสะดวก
สบายก็ก่อให้เกิดข้อเสียหลายอย่าง ต่อการใช้ชีวิตของมนุษย์
4. นั กเรียนทำแบบใบกิจกรรม และแบบทดสอบหลังเรียน
5. ครูและนั กเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ที่ได้จากการ
ทำกิจกรรม โดยการสุ่มถาม ความเข้าใจนั กเรียนในชั้นเรียน โดยชี้
ประเด็นให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดจากความต้องการของมนุษย์
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยี

แบบทดสอบก่อนเรียน

1. ข้อใดกล่าวถึงเทคโนโลยี
ก. การสังเกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างต่อเนื่ อง
ข. นำทฤษฎีมาใช้ประโยชน์ ทำให้เกิดความแม่นยำในการทำนาย
ค. นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการสร้างเครื่องมือที่อำนวยความ
สะดวก
ให้กับมนุษย์
ง. ใช้ความคิดสร้างสรรค์พัฒนาและผลิตสินค้าใหม่เพื่อประโยชน์ ใน
เชิงพาณิ ชย์

2. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ ของเทคโนโลยี
ก. ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับชีวิตมนุษย์
ข. ช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม
ค. ทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น
ง. ทำให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น

3. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ก. การตอบสนองความต้องการของมนุษย์
ข. ความก้าวหน้ าของศาสตร์ต่าง ๆ
ค. การแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม
ง. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

4. “การใช้เปลือกของกุ้งล็อบสเตอร์มาผลิตเป็นพลาสติกชีวภาพที่

ย่อยสลายง่าย” ส่งผลกระทบด้านใดจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี

ก. ด้านสังคมและมนุษย์ ข. ด้านเศรษฐกิจ

ค. ด้านสิ่งแวดล้อม ง. ด้านกฎหมาย

5. สมาร์ทโฟน เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นจากปัจจัยการเปลี่ยนแปลง

ในข้อใด

ก. การตอบสนองความต้องการของมนุษย์

ข. ความก้าวหน้ าของศาสตร์ต่าง ๆ เลือกทำแบบทดสอบก่อนเรียน
ค. การแก้ปัญหาต่างที่เกิดขึ้นในสังคม ได้ที่ Table of content
ง. การผลิตสินค้าที่เพิ่มมากขึ้น หรือสแกนคิวอาร์โค้ด

6. ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังแงบานบแทสดงสอาอทบิตหย์ลัเงป็เนรีเยทนคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น

จากปัจจัยการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในข้อใด
ก. การตอบสนองความต้องการของมนุษย์
ข. ความก้าวหน้ าของศาสตร์ต่าง ๆ
ค. การแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม
ง. การผลิตสินค้าที่เพิ่มมากขึ้น

7. “อินเทอร์เน็ ต” ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรมของ
คนทั่วโลก จึงกล่าวได้ว่าอินเทอร์เน็ ตส่งผลกระทบด้านใดจากการ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ก. ด้านสังคมและมนุษย์
ข. ด้านเศรษฐกิจ
ค. ด้านสิ่งแวดล้อม
ง. ด้านกฎหมาย

8. “การโอนเงินผ่านมือถือ” ส่งผลกระทบด้านใดจากการ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ก. ด้านสังคมและมนุษย์
ข. ด้านเศรษฐกิจ
ค. ด้านสิ่งแวดล้อม
ง. ด้านกฎหมาย

9. ความรู้เรื่องฟ้าผ่า เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นจาก
อิเล็กตรอนจำนวนมากเคลื่อนที่ไปมาระหว่างเมฆกับเมฆหรือระหว่าง
เมฆกับพื้นโลกเป็นความรู้ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านใด
ก. วิทยาศาสตร์
ข. คณิตศาสตร์
ค. สังคมศาสตร์
ง. เศรษฐศาสตร์

10. เพราะเหตุใดเราจึงต้องวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียที่เกิดขึ้น
ก่อนลงมือสร้างเทคโนโลยี
ก. เพราะจะได้สร้างเทคโนโลยีที่มีต้นทุนต่ำที่สุด
ข. เพราะเทคโนโลยีที่สร้างขึ้นมีความสามารถดีที่สุด
ค. เพราะเทคโนโลยีที่สร้างขึ้นสร้างรายได้ประเทศมากขึ้น
ง. เพราะเทคโนโลยีที่สร้างขึ้นจะเกิดประโยชน์ สูงสุดแก่มนุษย์

ใบความรู้

เรื่อง คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต

มนุษย์ใด้พยายามศึกษาคันคว้าความรู้ต่างๆ จนเกิดเป็นความรู้ใหม่
และนำมาสร้างเทคโนโลยีใหม่ขึ้นมาหลากหลายรูปแบบ
เพื่อตอบสนองความสั องการของตนเองหรือสั งคม
รวมถึงเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมให้ดีขึ้นกว่าเดิม จึงทำให้
เทคโนโลยีพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง
ยกตัวอย่าง
เช่น การพัฒนาการของยานพาหนะ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการเดินทางที่สะดวก รวดเร็ว
และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่ องเพื่อเพิ่มความสามารถ
ในการทำงาน

ภาพที่ 1.1 พัฒนาการของยานพาหนะจากอดีตถึงปัจจุบัน

1.1 ปัจจัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

เทคโนโลยีทำให้เกิดการต่อยอดพัฒนาคิดค้นสิ่ งต่างๆเพื่อ
อำนวยความสะดวกสบายต่อชีวิตของมนุษย์ได้อย่างมากมาย
อีกทั้งยังเป็นตัวการสำคัญในการเข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานใน
การดำรงชีวิตเป็นอย่างดี และตอบสนอง
ความต้องการของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ
เช่น เทคโนโลยีด้านการผลิตทำให้สามารถผลิตสินค้าได้ใน
ปริมาณที่มากขึ้น โดยใช้ระยะเวลาน้ อยลง ส่งผลให้สินค้ามี
ราคาถูกลง เทคโนโลยีด้านการบริการได้มีส่วนช่วยเพิ่มความ
รวดเร็วในการให้บริการ เทดโนโลยีด้านการสื่อสารทำให้การ
ติดต่อสื่อสารเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก ส่งผลให้การสื่อสารเป็น
ไปอย่างสะดวก รวดเร็ว

1.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อการใช้ชีวิตประจำวันของมนุษย์ แต่
เทคโนโลยีที่สะดวกสบายก็ก่อให้เกิดข้อเสี ยหลายอย่างต่อการใช้ชีวิต
ของมนุษย์เช่นกัน
ยกตัวอย่าง เช่น การใช้รถยนต์ที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะรถยนต์ที่ใช้
เครื่องยนต์ดีเซลที่ปล่อยเขม่า ฝุ่น ควันดำออกมา ทำให้เกิดปัญหาฝุ่น
ละอองที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ดังนั้ นเราควรเรียนรู้ในการใช้
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดประโยชน์
สูงสุด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีส่งผลกระทบโดยตรง
3 ด้าน คือ ด้านมนุษย์และสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อม

1. ด้านมนุษย์และสังคม
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี มีผลโดยตรงต่อการ
ดำรงชีวิตของมนุษย์ รวมถึงการปรับเปลี่ยนวีธีการดำเนิ นชีวิต หรือ
รวมไปถึงการเปลี่ยนแนวความคิดได้ ดังนี้
1) ความต้องการของสังคม
แรงขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยี คือ สังคมบริเวณนั้ นต้องการเทคโนโลยีในรูปแบบใด
เพื่อช่วยแก้ปัญหาหรือเพื่อสนองความต้องการในการดำรงชีวิตให้เกิด
ความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เช่น นำไปแก้ปัญหาทางการเกษตร
การสื่อสารของชุมชน ระบบรักษาความปลอดภัย การเดินทาง
เครื่องมือช่วยเหลือผู้สูงวัย

2) ความก้าวหน้ าของวิทยาการ
เป็นการนำองค์ความรู้แขนงต่าง ๆ มาสร้างสรรค์หรือแก้ปัญหา
ที่มีความซับซ้อนเพื่อนำไปสู่ การสร้างเครื่องมือทางเทคโนโลยีจน
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยู่เสมอ ซึ่งความรู้จาก
ศาสตร์ต่าง ๆ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ผลักดันให้เกิดเทดโนโลยี
ใหม่ ๆ อยู่เสมอ
3) การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
"วิถีการดำเนิ นชีวิต (The Way of Lite)" ของคนในสังคม
การเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขและกาลเวลา เช่น เมื่อมีการประดิษฐ์
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ใช้แก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของ
มนุษย์ได้มากกว่า ก็จะถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายต่อเนื่ องจนกลาย
เป็นวัฒนธรรม

ผลกระทบ ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ

ความ ทำให้มนุษย์มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มนุษย์ใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้นส่ งผลให้มี
ต้องการของ และเพิ่มประสิ ทธิภาพ การใช้ไฟฟ้ามากขึ้น และส่งผลต่อ
การทำงานได้สะดวกและรวดเร็ว สายตาหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
สั งคม เช่น การใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการ โดยไม่หยุดพัก
ทำงานทำให้การทำงานมี
ประสิ ทธิภาพยิ่งขึ้น

ความ การคันพบความรู้ใหม่ ๆ ที่เกิด การใช้เทคโนโลยีที่ชาญฉลาดแทน
ก้าวหน้ าของ ขึ้น ทำให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ที่มี แรงงานมนุษย์ ทำให้ยกเลิกการจ้าง
ความชาญฉลาดใกล้เคียงมนุษย์ แรงงานคนในการทำงานในบางด้าน
วิทยาการ มากยิ่งขึ้น

การ เทคโนโลยีการเดินทาง ทำให้ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของคนใน
เปลี่ยนแปลง เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม โลก ซึ่งหากไม่ได้เรียนรู้ความแตกต่าง
ของคนในโลกซึ่งส่ งผลต่อ ของวัฒนธรรม ก็อาจทำให้เกิดการกระ
ทาง วัฒนธรรมไทยในหลายด้าน ทบกระทั่งขึ้นในสั งคมได้
วัฒนธรรม เช่น ภาษา วรรณคดี กฎหมาย
ตลอดจนประเพณี ต่างๆ

2. ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปมีผลต่อการ
ดำเนิ นธุรกิจ โดยส่งผลให้ระบบการทำงานของ
องค์กรดีขึ้น และสร้างกำไรให้ธุรกิจมากขึ้น เช่น การผลิต การ
ตลาดและการขาย การเงินและการบัญชี

ผลกระทบ ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ

การผลิต ผลิตสินค้าได้มากขึ้น เนื่ องจาก การแข่งขันทางการผลิตในภาค
ใช้ต้นทุนในการผลิตน้ อยลง อุตสาหกรรม อาจก่อให้เกิตการ
ทำให้ได้กำไรมากขึ้น ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้ น
เปลืองและทำให้ขาดแคลนใน
อนาคต

การตลาด ใช้อินเทอร์เน็ ตในการขายสินค้า การขายสินค้าออนไลน์ อาจส่ง
และการขาย ทำให้มีตลาดการค้ากว้างขวาง ผลให้มีมิจฉาชีพหลอกขายสิ นค้า
ขึ้น ส่งผลให้ขายสินค้าได้มากขึ้น ที่ไม่มีคุณภาพ เนื่ องจากลูกค้าจะ
ผู้ขายมีกำไรมากขึ้น ไม่เห็นสินค้าของจริง จนกว่า
ลูกค้าจะได้รับสินค้า รวมถึงการ
จำหน่ ายสินค้าที่ผิดกฎหมาย

การเงินและ ชำระเงินออนไลน์ ได้หลายรูป องค์กรทำระบบรักษาความ
การบัญชี แบบทำให้ลูกค้าสะดวกในการ ปลอดภัย ในการชำระเงินไม่ดี
ชำระเงินโดยไม่ต้องเดินทาง อาจถูกโปรแกรมที่แอบติดตั้งดัก
อ่านข้อมูล และทำให้สูญเสีย
ทรัพย์โดยไม่รู้ตัว

3. ด้านสิ่งแวดล้อม
สภาพแวดล้อมแต่ละที่ย่อมแตกต่างกันจึงทำให้เกิดความ
ต้องการหรือพัฒนาเทคโนโลยีแตกต่างกันไป เพราะเจอปัญหา
จากสภาพแวดล้อมจึงต้องมีเทคโนโลยีในการป้องกันเพื่อ
ดำรงชีวิตให้ได้ แต่บางพื้นที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะกับการใช้
เทคโนโลยีเพื่อสร้างพลังงานได้เช่นกัน เช่น พลังงานลม
พลังงานน้ำ พลังงานแสงอาทิตย์
ดังนั้ นเมื่อใช้เทคโนโลยีในการสร้างพลังงานแล้วยังต้องคำนึ ง
ถึงผลที่จะตามมาจากการเปลี่ยนสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
และมลพิษที่ต้องมีการกำกับดูแล เพื่อไม่ให้มลพิษถูกปล่อยสู่
ธรรมชาติ หรือต้องมีการบำบัดให้ได้ตามมาตรฐานก่อนการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีต่อสิ่ งแวดล้อมเกิดขึ้นเพื่อให้
มนุษย์สามารถจัดการหรือควบคุมธรรมชาติได้และเพื่อให้
มนุษย์สะดวกสบายหรือได้รับประโยชน์ มากขึ้น

ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ

การควบคุมสิ่ งแวดล้อมให้เป็นไปตามที่ การผลิตในอุตสาหกรรมอาจก่อให้เกิด
สั งคมต้องการหรือแก้ปัญหาให้กับสั งคม ผลผลิตที่ไม่ต้องการ ซึ่งถ้าปล่อยสู่สิ่ง
เช่น ในพื้นที่ที่แห้งแล้งขาดน้ำในการ แวดล้อมโดยขาดการควบคุม อาจก่อให้
เพาะปลูก จึงนำเทคโนโลยีฝนเทียม เกิดปัญหามลภาวะและเป็นปัญหาที่นั บ
มาใช้ในการดัดแปลงสภาพอากาศทำให้ วันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ
เกิดฝนตก

ใบกิจกรรมที่ 1

ชื่ อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เ ล ข ที่ . . . . . . . . . ชั้ น . . . . . .

คำ ชี้ แ จ ง : ใ ห้ นั ก เ รี ย น อ่ า น แ ล ะ ทำ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ
กั บ เ นื้ อ ห า พ ร้ อ ม ต อ บ คำ ถ า ม ล ง ใ น ป ร ะ เ ด็ น ที่ กำ ห น ด

บริษัทสตาร์ทอัพ Shell works ประเทศอังกฤษได้พัฒนาพลาสติกชีวภาพ ใช้เปลือกของ
กุ้งล็อบสเตอร์ ซึ่งในเปลือกกุ้งล็อบสเตอร์มีสารพอลิเมอร์ชีวภาพที่เรียกว่า ไคติน (Chitin)
เป็นองค์ประกอบสูงมาก สามารถนำมาพัฒนาเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้และยังสามารถนำกลับ
มาใช้ใหม่ได้อีกด้วย โดยขั้นแรกเริ่มจากการนำเปลือกล็อบสเตอร์มาปั่ นให้เป็นผงและย่อย
สลายต่อโดยใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ เพื่อสกัดเอาไคตินออกมา ไคตินจะถูกนำไปทำปฏิกิริยา
กับสารละลายกรดเบส จนได้เป็นผงไคโตซาน ที่ได้มาผสมกับน้ำส้มสายชู จนได้สารละลาย
พลาสติกชีวภาพ ซึ่งสามารถนำไปใช้ทำผลิตภัณฑ์สามมิติ เช่น ถุงพลาสติก

พลาสติกชีวภาพจากเปลือกกุ้งล็อบสเตอร์ มีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถต้านทานเชื้อรา
และแบคทีเรียได้รวมทั้ง สามารถย่อยสลายกลายเป็นปุ๋ยได้ โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่ง
แวดล้อม อย่างไรก็ตาม แม้บรรดานั กวิจัยจะหวังว่าในอนาคตจะมีการใช้พลาสติกชีวภาพ
ผลิตช้อนส้อมแบบใช้แล้วทิ้งแพร่หลายขึ้น แต่บางคนบอกว่าเราอาจจะไม่ได้เห็นถุงพลาสติก
จากกุ้งล็อบสเตอร์ในเร็ว ๆ นี้ เพราะกระบวนการผลิตนั้ นมีราคาค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับ
พลาสติกที่ผลิตในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่

ผลกระทบทางบวกและลบของเทคโนโลยีการผลิตพลาสติกชีวภาพ

ผลกระทบ ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ

ด้านสั งคม

ด้านเศรษฐกิจ

ด้านสิ่ งแวดล้อม

การตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี
o เลือกใช้ o ไม่เลือกใช้
เหตุผล...........................................................................................
....................................................................................................

ใบกิจกรรมที่ 2

ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี
คำ ชี้ แ จ ง จ า ก ภ า พ ด้ า น ล่ า ง ใ ห้ นั ก เ รี ย น วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ ดี แ ล ะ ข้ อ
เ สี ย ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี พ ร้ อ ม อ ธิ บ า ย ถึ ง ก า ร ทำ ง า น ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี
ว่ า ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง ไ ร

ปากกา เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์

โ ซ ล่ า เ ซ ล ล์ โ ท ร ศั พ ท์ เ ค ลื่ อ น ที่

สแกนทำกิจกรรม
ใน Padlet

แบบทดสอบหลังเรียน

1. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ก. การตอบสนองความต้องการของมนุษย์
ข. ความก้าวหน้ าของศาสตร์ต่าง ๆ
ค. การแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม
ง. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

2. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ ของเทคโนโลยี
ก. ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับชีวิตมนุษย์
ข. ช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม
ค. ทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น
ง. ทำให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น

3. ข้อใดกล่าวถึงเทคโนโลยี
ก. การสังเกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างต่อเนื่ อง
ข. นำทฤษฎีมาใช้ประโยชน์ ทำให้เกิดความแม่นยำในการทำนาย
ค. นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการสร้างเครื่องมือที่อำนวยความ
สะดวก
ให้กับมนุษย์
ง. ใช้ความคิดสร้างสรรค์พัฒนาและผลิตสินค้าใหม่เพื่อประโยชน์ ใน
เชิงพาณิ ชย์

4. “การใช้เปลือกของกุ้งล็อบสเตอร์มาผลิตเป็นพลาสติกชีวภาพที่

ย่อยสลายง่าย” ส่งผลกระทบด้านใดจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี

ก. ด้านสังคมและมนุษย์ ข. ด้านเศรษฐกิจ

ค. ด้านสิ่งแวดล้อม ง. ด้านกฎหมาย

5. ความรู้เรื่องฟ้าผ่า เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นจาก

อิเล็กตรอนจำนวนมากเคลื่อนที่ไปมาระหว่างเมฆกับเมฆหรือระหว่าง

เมฆกับพื้นโลกเป็นความรู้ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านใด

ก. วิทยาศาสตร์

ข. คณิตศาสตร์ เลือกทำแบบทดสอบหลังเรียน
ค. สังคมศาสตร์ ได้ที่ Table of content
ง. เศรษฐศาสตร์ หรือสแกนคิวอาร์โค้ด

6. ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังงแาบนบแสทงดอสาทอิบตยห์ ลเปั็งนเรเีทยคนโนโลยีที่พัฒนาขึ้น

จากปัจจัยการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในข้อใด
ก. การตอบสนองความต้องการของมนุษย์
ข. ความก้าวหน้ าของศาสตร์ต่าง ๆ
ค. การแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม
ง. การผลิตสินค้าที่เพิ่มมากขึ้น

7. สมาร์ทโฟน เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นจากปัจจัยการเปลี่ยนแปลง
ในข้อใด
ก. การตอบสนองความต้องการของมนุษย์
ข. ความก้าวหน้ าของศาสตร์ต่าง ๆ
ค. การแก้ปัญหาต่างที่เกิดขึ้นในสังคม
ง. การผลิตสินค้าที่เพิ่มมากขึ้น

8. เพราะเหตุใดเราจึงต้องวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียที่เกิดขึ้น
ก่อนลงมือสร้างเทคโนโลยี
ก. เพราะจะได้สร้างเทคโนโลยีที่มีต้นทุนต่ำที่สุด
ข. เพราะเทคโนโลยีที่สร้างขึ้นมีความสามารถดีที่สุด
ค. เพราะเทคโนโลยีที่สร้างขึ้นสร้างรายได้ประเทศมากขึ้น
ง. เพราะเทคโนโลยีที่สร้างขึ้นจะเกิดประโยชน์ สูงสุดแก่มนุษย์

9. “อินเทอร์เน็ ต” ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรมของ
คนทั่วโลก จึงกล่าวได้ว่าอินเทอร์เน็ ตส่งผลกระทบด้านใดจากการ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ก. ด้านสังคมและมนุษย์
ข. ด้านเศรษฐกิจ
ค. ด้านสิ่งแวดล้อม
ง. ด้านกฎหมาย

10. “การโอนเงินผ่านมือถือ” ส่งผลกระทบด้านใดจากการ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ก. ด้านสังคมและมนุษย์
ข. ด้านเศรษฐกิจ
ค. ด้านสิ่งแวดล้อม
ง. ด้านกฎหมาย

แบบกทาดรสปอรบะเหมิลนังเรียน

สรุปการเรียน

ผลการประเมิน ก่อนเรียน หลังเรียน
10
คะแนนเต็ม 10

คะแนนที่ได้

คะแนน ระดับคุณภาพ
10-8 ดีมาก
7 ดี
6 พอใช้
5-0
ปรับปรุง

เฉลย

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน

ข้อที่ คำตอบ ข้อที่ คำตอบ
1 ค 1 ง
2 ค 2 ค
3 ง 3 ค
4 ค 4 ค
5 ก 5 ก
6 ค 6 ค
7 ก 7 ก
8 ข 8 ง
9 ก 9 ก
10 ง 10 ข

ใบกิจกรรม

คำ ชี้ แ จ ง : ใ ห้ นั ก เ รี ย น อ่ า น แ ล ะ ทำ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ
กั บ เ นื้ อ ห า พ ร้ อ ม ต อ บ คำ ถ า ม ล ง ใ น ป ร ะ เ ด็ น ที่ กำ ห น ด

บริษัทสตาร์ทอัพ Shell works ประเทศอังกฤษได้พัฒนาพลาสติกชีวภาพ ใช้เปลือกของ
กุ้งล็อบสเตอร์ ซึ่งในเปลือกกุ้งล็อบสเตอร์มีสารพอลิเมอร์ชีวภาพที่เรียกว่า ไคติน (Chitin)
เป็นองค์ประกอบสูงมาก สามารถนำมาพัฒนาเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้และยังสามารถนำกลับ
มาใช้ใหม่ได้อีกด้วย โดยขั้นแรกเริ่มจากการนำเปลือกล็อบสเตอร์มาปั่ นให้เป็นผงและย่อย
สลายต่อโดยใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ เพื่อสกัดเอาไคตินออกมา ไคตินจะถูกนำไปทำปฏิกิริยา
กับสารละลายกรดเบส จนได้เป็นผงไคโตซาน ที่ได้มาผสมกับน้ำส้มสายชู จนได้สารละลาย
พลาสติกชีวภาพ ซึ่งสามารถนำไปใช้ทำผลิตภัณฑ์สามมิติ เช่น ถุงพลาสติก

พลาสติกชีวภาพจากเปลือกกุ้งล็อบสเตอร์ มีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถต้านทานเชื้อรา
และแบคทีเรียได้รวมทั้ง สามารถย่อยสลายกลายเป็นปุ๋ยได้ โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่ง
แวดล้อม อย่างไรก็ตาม แม้บรรดานั กวิจัยจะหวังว่าในอนาคตจะมีการใช้พลาสติกชีวภาพ
ผลิตช้อนส้อมแบบใช้แล้วทิ้งแพร่หลายขึ้น แต่บางคนบอกว่าเราอาจจะไม่ได้เห็นถุงพลาสติก
จากกุ้งล็อบสเตอร์ในเร็ว ๆ นี้ เพราะกระบวนการผลิตนั้ นมีราคาค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับ
พลาสติกที่ผลิตในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่

ผลกระทบทางบวกและลบของเทคโนโลยีการผลิตพลาสติกชีวภาพ

ผลกระทบ ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ

ด้านสั งคม พลาสติกชีวภาพจากเปลือกกุ้งล็อบสเตอร์ มี -
คุณสมบัติพิเศษที่สามารถต้านทานเชื้อราและ
แบคทีเรีย เหมาะกับการบรรจุอาหาร

ด้านเศรษฐกิจ สามารถนำไปสร้างบรรจุภัณฑ์แทนพลาสติก ต้นทุนการผลิตราคา
กระดาษ หรือทรัพยากรที่มีแนวโน้ มลดลง เป็นทาง ค่อนข้างสูง ทำให้
เลือกสำหรับผู้บริโภคที่รักษ์โลก สิ นค้าราคาสูงขึ้น

ด้านสิ่ ง - พลาสติกชีวภาพ (Bioplastic) ที่สามารถย่อย -
แวดล้อม สลายได้ในธรรมชาติและเป็นปุ๋ยในดิน
- ลดขยะที่เกิดจากพลาสติกที่มีมากขึ้น

การตัดสิ นใจเลือกใช้เทคโนโลยี
/ เลือกใช้ o ไม่เลือกใช้
เหตุผล มีผลกระทบในทางบวกมากกว่าทางลบ และปัจจุบันมีปริมาณขยะจากถุงพลาสติกที่
มากขึ้น ซึ่งทำลายยาก รวมทั้งเป็นภัยต่อสัตว์โลกที่มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ทะเล

บรรณานุกรม

ฐปนี ย์ดา สัมฤทธิ์รินทร์. (2564). การออกแบบและเทคโนโลยี 2.
สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2565. จาก
https://nachuakpit.ac.th/online/lesson/3023/

Starfish Academy. (2564). Active Learning กับการประยุกต์
ใช้ในการสอนของเด็กๆ. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2565.
จาก https://shorturl.asia/hqUgr

ประวัติผู้จัดทำ

ชื่ อ - ส กุ ล น า ง ส า ว ธ นิ ษ ฐ า ปั ก ษี
ส า ข า วิ ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ศึ ก ษ า
ศึ ก ษ า อ ยู่ ที่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ภู เ ก็ ต
วั น เ ดื อ น ปี เ กิ ด 1 2 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 4 2
ช่ อ ง ท า ง ก า ร ติ ด ต่ อ
[email protected]