ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย PDF

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

Description: คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

Read the Text Version

No Text Content!

    Pages:

  • 1 - 13

คำยืมภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย กำรยืมภำษำ การยมื เป็นลกั ษณะของทุกภาษา ไม่วา่ ภาษาใดท่ีไม่มี ภาษาอื่นเขา้ มาปะปน เมื่อแต่ละชาติตอ้ งมีการติดต่อสมั พนั ธก์ นั มาต้งั แต่อดีตกาลจนเกิดการนาคาหรือลกั ษณะ ทางภาษาของอีกภาษาเขา้ ไปใชใ้ นภาษาของตน ประเภทของกำรยืม ๑ ยมื เนื่องจากวฒั นธรรม กลมุ่ ที่มีลกั ษณะทาง วฒั นธรรมดอ้ ยกวา่ จะรับเอาวฒั นธรรมจากกลุ่มท่ีมีความ เจริญมากกวา่ ๒ ยมื เน่ืองจากความใกลช้ ิด การท่ีสองกลุ่มใชภ้ าษ ต่างกนั ร่วมสงั คมเดียวกนั หรือมีอาณาเขตใกลช้ ิดกนั มีความสมั พนั ธ์กนั ๓ ยมื จากคนต่างกลุ่ม การยมื ภาษาเดียวกนั แต่เป็นภาษา ของผใู้ ชท้ ี่อยตู่ ่างสภาพกนั อทิ ธิพลของกำรยืม การยมื ทาใหภ้ าษาเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย มีอิทธิพลต่อคาศพั ท์ ซ่ึงการยมื ทาใหจ้ านวนศพั ทใ์ นภาษามีการเพม่ิ พนู เกิดการใชศ้ พั ทต์ ่าง ๆ กนั เป็นคาไวพจน์ คือ คาที่มีความหมายเดียวกนั แต่เราเลือกใชต้ ามโอกาสและตามความ เหมาะสมท้งั ยงั มีประโยชนใ์ นการแต่งบทร้อยกรองเพราะ มีหลายคา ประวตั ิศำสตร์กำรยืมของประเทศไทย ภาษาไทยมีการยมื จากภาษาต่างประเทศเขา้ มาปะปนเป็นเวลานานแลว้ แมใ้ นหลกั ศลิ าจารึกของพอ่ ขนุ รามคาแหงเม่ือ ปี พ.ศ. ๑๘๒๖ กย็ งั ปรากฏคายมื มาจากภาษาบาลีสนั สกฤต และเขมรเขา้ มาปะปนมากมาย ประเทศไทยมีการติดต่อกบัต่างชาติมาชา้ นานยอ่ มทาใหม้ ีภาษาต่างประเทศเขา้ มาปะปน อยใู่ นภาษาไทยเป็นจานวนมาก เช่น เขมร จีนชวา มลายู ญวน ญี่ป่ ุน เปอร์เซีย โปรตุเกส ฝรั่งเศส พม่า องั กฤษ สำเหตกุ ำรยืมของภำษำไทย ๑ ความสมั พนั ธ์ทางถิ่นฐาน การมีอาณาเขตติดตอ่ หรือ ใกลเ้ คียงกนั กบั มิตรประเทศ ๒ ความสมั พนั ธ์ทางการคา้ การติดต่อซ้ือขายแลกเปล่ียน สินคา้ กบั ต่างประเทศ ๓ ความสมั พนั ธ์ทางศาสนาและวฒั นธรรม การเผยแพร่ ศิลปะ วรรณคดี ของต่างประเทศสู่ประเทศไทย ๔ การศึกษาและการกีฬา การที่นกั เรียนไทยไปศึกษาที่ ต่างประเทศทาใหร้ ับวชิ าความรู้ และวทิ ยาการมากมาย ๕ ความสมั พนั ธ์ทางการทูต การเจริญสมั พนั ธไมตรีซ่ึง กนั และกนั ระหวา่ งไทยกบั ต่างประเทศ คาท่ีใชอ้ ยใู่ นภาษาไทย มีท้งั คาไทยท่ีคนไทยสร้างข้ึนมาเอง ซ่ึงเรียกวา่ “คาไทยแท”้ กบั คาที่ยมื มาจาก ภาษาต่างประเทศซ่ึงเรียกวา่ “คายมื ” นกั เรียนควรจาแนกคา ไทยออกจากภาษาต่างประเทศได้ เพอื่ เป็นพ้นื ฐานความ เขา้ ใจเร่ืองอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย และเป็ นประโยชน์ในการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรม ใหเ้ ขา้ ถึงสุนทรียรสและอรรถรสดว้ ย การจาแนกคาไทยออกจากภาษาต่างประเทศได้ นกั เรียน ตอ้ งเขา้ ใจลกั ษณะของคาไทยและลกั ษณะของคา ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่าง ๆ ที่ไทยยมื มาใชใ้ น ภาษาไทย ดงั น้ี มีคายมื บางคาท่ีมีลกั ษณะเหมือนคาไทยแท้ เช่น แสะ(มา้ ) บาย(ขา้ ว) ท้งั สองคาน้ีเป็นคายมื มาจากภาษาเขมร คายมื ลกั ษณะน้ีนกั เรียนจะตอ้ งจดจาเป็นพเิ ศษ เพราะไม่อาจจะ สังเกตจากลกั ษณะที่แตกต่างกนั ได้ กำรยืมคำท่ีมำจำกภำษำบำลี ภำษำสันสกฤต ภาษาบาลี หรือภาษามคธมีถิ่นกาเนิดในประเทศอินเดีย ตอนใต้ ส่วนภาษาสนั สกฤต มีถ่ินกาเนิดในประเทศอินเดีย ตอนเหนือ เป็นภาษาท่ีใชบ้ นั ทึกคมั ภีร์ต่าง ๆ ในศาสนาพราหมณ์ มีความเก่าแก่ และสลบั ซบั ซอ้ นมากกวา่ ภาษาบาลีในภาษาไทยนอกจากเราจะมีคาไทยแทใ้ ชแ้ ลว้ เรายงั นาคา มาจากภาษาบาลี สันสกฤต ใชใ้ นภาษาไทยมาก คาที่มาจากภาษาบาลี และสนั สกฤตน้นั จะมีความกลมกลืนกบั ภาษาไทยมาก บางคร้ังมกั จะเขา้ ใจผดิ คิดวา่ เป็นคา ไทยแท้ ข้อสังเกตคำทม่ี ำจำกภำษำบำลแี ละสันสกฤต มีดงั นี้ ภาษาบาลี และภาษสนั สกฤต เป็นภาษาท่ีไมม่ ีเสียง วรรณยกุ ตก์ ากบั ในแต่ละคา ดงั น้นั คาศพั ทท์ ี่มาจากภาษ บาลีและสนั สกฤตจึงไม่ใช่รูปวรรณยกุ ต์ แต่กจ็ ะมีเสียง วรรณยกุ ต์ จตั วา ตรี สามญั ตามลาดบั กำรสังเกตลกั ษณะคำภำษำบำลคี ำภำษำสันสกฤต ๑. สงั เกตจากพยญั ชนะตวั สะกดและตวั ตามตวั สะกด คือ พยญั ชนะท่ีประกอบอยขู่ า้ งทา้ ยสระประสมกบั สระและ พยญั ชนะตน้ เช่น ทุกข์ = ตวั สะกด “ก” ตวั ตาม “ข” ตัวตำม คือ ตวั ที่ตามหลงั ตวั สะกด เช่น สตั ย สจั จทุกข เป็นตน้ คาในภาษาบาลี จะตอ้ งมีตวั สะกดและ ตวั ตามเสมอโดยดูจากพยญั ชนะบาลี มี ๓๓ ตวั ก. พยญั ชนะตวั ท่ี ๑ , ๓ , ๕ เป็นตวั สะกดไดเ้ ท่าน้นั (ตอ้ งอยใู่ นวรรคเดียวกนั ) ข. ถา้ พยญั ชนะตวั ที่ ๑ สะกด ตวั ที่ ๑ หรือ ๒ เป็นตวั ตามได้ เช่น สกั กะ ทกุ ข สจั จ ปัจฉิม บุปผา เป็นตน้ ค. ถา้ พยญั ชนะตวั ที่ ๓ สะกด ตวั ท่ี ๓ หรือ ๔ เป็นตวั ตามไดใ้ นวรรคเดียวกนั เช่น อคั คี พยคั ฆ์ วชิ ชา อชั ฌา พทุ ธ ง. ถา้ พยญั ชนะตวั ที่ ๕ สะกด ทุกตวั ในวรรคเดียวกนั ตามได้ เช่น องค์ สงั ข์ สงฆ์ สมั ปทาน สมั ผสั สมั พนั ธ์ เป็นตน้ จ. พยญั ชนะบาลี ตวั สะกดตวั ตามจะอยใู่ นวรรค เดียวกนั เท่าน้นั จะขา้ มไปวรรคอ่ืนไม่ได้ ๒. สงั เกตจากพยญั ชนะ “ฬ” จะมีใชใ้ นภาษาบาลี ในไทยเท่าน้นั เช่น จุฬา ครุฬ อาสาฬห์ เป็นตน้ ๓. สังเกตจากตวั ตามในภาษาบาลี จะมาเป็นตวั สะกดในภาษาไทยโดยเฉพาะวรรค ฏ และวรรคอื่น ๆ บางตวั จะตดัตวั สะกดออกเหลือแต่ตวั ตามเม่ือนามาใชใ้ นภาษาไทย เช่น บำลี ไทย บำลี ไทย รัฎฐ รัฐ อฎั ฐิ อฐั ิ ทิฎฐิ ทิฐิ วฑั ฒนะ วฒั นะ ปุญญ บุญ วชิ ชา วชิ า กิจจ กิจ เขตต เขต สตั ต สตั เวชช เวช


Author

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย PDF

Top Search