การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน
����ª�����Դ��鹨ҡ�������¹�ŧ�ͧ��ʴ� �������¹�ŧ�ͧ��ʴء������Դ����ª�����������ҡ��� ������ҧ ��

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน
�����������Ѻ������͹�Դ��������� �������ѧ�ҹ������͹
��Ҩ֧������ҷ��繿������������ԧ㹡���ا��������

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน
�Թ����ѹ���ʹԹ�˹��� ��������Ѻ�ç��з� �� �պ �Դ
�غ �Ѵ �֧ ���Դ�������¹�ŧ�ٻ��ҧ ��Ҩ֧�ӴԹ����ѹ���
�Թ�˹������������ٻ�ç��ҧ �
��Թ����ѹ��������Ѻ������͹���������ǹ�Թ�˹�����������Ѻ
������͹���������� ����Ҩ֧�����Թ�˹����һ���繼�Ե�ѳ���ҧ � ���ǹ�������ҷ���դ�����͹��������Ե�ѳ�췹�ҹ
������¡��� ����ͧ��鹴Թ��

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน
���ʵԡ��������Ѻ������͹����͹���ŧ ����ö���ҨѴ���ٻ��ҧ��ҧ � �������������Ѻ������͹�٧����������� ��������������
��Ե�ѳ���ҧ � ��

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน
������������Ѻ������͹����ö���ҵ����������ẹ �
���͹����մ�������� ���ʹѴ������ٻ��ҧ��ҧ � ��
�����������Ѻ������͹�٧����������¹���������繼�Ե�ѳ��
��������㹪��Ե��Ш��ѹ��

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน
���������û�д�ɰ�ͧ��� �ͧ��
�������ö����ʴ��һ�д�ɰ��繢ͧ������ͧ͢���ҧ � ��
���ͧ�ҡ��ʴ����ѡɳ�������ѵԷ��ᵡ��ҧ�ѹ �ѧ��� ����� ��ҨзӢͧ������ͧ͢�� �֧���繵�ͧ�ӹ֧�֧���ѵԢͧ��ʴع�� � �����������Ѻ�����ҹ
��駹�����ͧ͢������ͧ͢���鹨�����ҹ���  ������ҧ��û�д�ɰ�ͧ���ҧ � ����ҹ��������Ҫ�������ҹ  ���ͧ���Թ��  ö�ҡ �繵�

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

            วัสดุ หรือสิ่งของต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งที่เป็นของเล่นของใช้ รวมถึงสิ่งที่เรานำมารับประทาน ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่สำคัญในชีวิตประจำวัน
            วัตถุ คือ สิ่งของที่มีความแตกต่างกัน ทั้งรูปร่าง ขนาด น้ำหนัก สี กลิ่น ของเล่นของใช้ เช่น หนังสือ จักรยาน ดินสอ กระเป๋านักเรียน หุ่นยนต์ หมอน ตุ๊กตา เป็นต้น 
วัตถุต่างทำมาจากวัสดุหลายชนิด และวัสดุบางชนิดก็ทำมาจากธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ไม้ บางชนิดมนุษย์เป็นผู้ผลิตหรือทำขึ้น เช่น พลาสติก แก้ว โลหะ กระดาษ เป็นต้น

  วัสดุ คือ สิ่งที่นำมาใช้ทำของเล่นและของใช้ต่างๆ ดังนั้น พลาสติก ไม้ ผ้า ทราย โลหะ  จึงเป็นวัสดุ เพราะนำมาใช้ทำของเล่นของใช้  ของเล่นของใช้บางอย่างทำมาจากวัสดุเพียงอย่างเดียว เช่น ไม้บรรทัด ทำจากพลาสติก ลูกบอลทำมาจากหนัง ของเล่นบางอย่างทำมาจากไม้ ผ้าขนหนูทำจากผ้าของเล่นของใช้บางอย่างทำมาจากวัสดุหลายชนิดประกอบกัน เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น รองเท้าผ้าใบ ดินสอ กระเป๋า ที่นอน โทรศัพท์ เป็นต้น

ที่มาของวัสดุ

วัสดุแต่ละชนิดมีแหล่งที่มาแตกต่างกัน คือ

  • มาจากพืช เช่น ไม้ เส้นใยพืช ใบพืช เยื่อไม้ แผ่นยาง อื่นๆ
  • มาจากสัตว์ เช่น หนังสัตว์ เขาสัตว์ กระดูกสัตว์ เส้นไหม ขนสัตว์ อื่นๆ
  • มาจากธรรมชาติ เช่น หิน ดิน ทราย แร่ธาตุอื่นๆ
  • มาจากคนสร้างขึ้น เช่น แก้ว พลาสติก หนังเทียม ใยสังเคราะห์ อื่นๆ

สมบัติของวัสดุ

สี ต่างๆ ลักษณะผิวสัมผัส เช่น เรียบ ขรุขระ ความแข็ง หรือความอ่อนนุ่ม หนัก เบา  ยืดหยุ่นได้ เหล่านี้ เป็นสมบัติของวัสดุดังนั้นวัสดุแต่ละชนิดมีแหล่งที่มาที่ต่างกัน จึงมีสมบัติที่แตกต่างกันวัสดุที่นำมาทำของเล่นของใช้

           วัสดุที่นำมาทำเป็นของเล่นของใช้ เพื่อให้วัสดุเหล่านั้นมีความคงทนตามคุณสมบัติ โดยคำนึงถึงความเหมาะสม และความปลอดภัย ประโยชน์ของการใช้งานและความทนทานสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เช่น

โลหะ

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

              เป็นวัสดุที่แข็ง มีหลายชนิด เช่น เหล็ก อลูมิเนียม ทองแดง จะนำมาใช้ต่างกัน ส่วนเหล็กมีความแข็งแต่เป็นสนิม อะลูมิเนียม
แข็งน้อยกว่าเหล็กแต่เบาและไม่เป็นสนิม จึงใช้อลูมิเนียมทำภาชนะหุงต้มทองแดงเป็นโลหะที่แข็งเหมือนเหล็กแต่เบากว่ามากและดัดให้โค้งเป็นรูปต่าง ๆ ได้
             โลหะเป็นวัสดุที่มีลักษณะผิวมันวาว สามารถตีให้เป็นแผ่นเรียบ หรือดึงออกเป็นเส้นหรืองอได้โดยไม่หัก นำไฟฟ้า และนำความร้อน ได้ดี

ไม้

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

            ไม้ มีลักษณะแข็ง บางชนิดมีความทนทาน สามารถนำมาประดิษฐ์ดัดแปลง ทำที่อยู่อาศัย เฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือเครื่องใช้อื่น ๆ
เยื่อไม้นำมาทำกระดาษ เช่น สมุด หนังสือ หนังสือพิมพ์
กระดาษเนื้อเยื่ออ่อน

แก้ว

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

             แก้วเป็นของแข็ง โปร่งใส ผิวเรียบ ทนต่อการขูดขีดและความร้อนแต่แตกหักง่าย ส่วนใหญ่จะนำมาทำ แก้วน้ำ ขวด กระจก อุปกรณ์ในห้องทดลอง  นอกจากนั้นยังมีการผลิตแก้วให้มีคุณสมบัติพิเศษเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง เช่น เลนส์แว่นตา เลนส์แว่นขยาย กระจกเงา กระจกนิรภัย เป็นต้น

พลาสติก

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน


        พลาสติกเป็นวัสดุสังเคราะห์ ที่ได้จากจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี(อุตสาหกรรมการผลิตน้ำมัน) มีน้ำหนักเบา ไม่นำความร้อน ไม่นำไฟฟ้า น้ำซึมผ่านไม่ได้ ไม่แตกหักง่ายบางชนิดมีความแข็ง บางชนิดสามารถยืดหยุ่นได้ นำมาทำของเล่นของใช้ได้หลากหลาย เพราะกรรมวิธีในการผลิตไม่ซับซ้อนและทำให้มีสีต่าง ๆ ได้

ยาง

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

             ยาง ทำมาจากยางของต้นยางพารา มีความยืดหยุ่นดี ใช้ทำยางรถยนต์ ยางลบ ลูกโป่ง พื้นรองเท้า เป็นต้น

เซรามิก 

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน

              เซรามิก เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากดิน หิน หรือแร่ธาตุอื่นๆ ที่ไม่ใช่โลหะ โดยทำเป็นรูปทรงต่างๆ แล้วผ่านการให้ความร้อนที่อุณหภูมิสูงมาก ๆ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมีความแข็ง แต่เปราะต่อแรงกระแทก ทนต่อสารเคมี ทนต่อสภาพอากาศและความชื้น มีสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้า นิยมทำเป็นของประดับบ้าน และใช้ทำเป็นวัตถุทนไฟในอุปกรณ์ไฟฟ้

ผ้า

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ ให้ ความร้อน


              ทำมาจากเส้นใยธรรมชาติ และเส้นใยสังเคราะห์   เส้นใยธรรมชาติ เป็นเส้นใยที่ได้จากพืชและสัตว์ ผ้าที่ผลิตจากเส้นใยที่ได้จากพืช ได้แก่ ผ้าฝ้าย ผ้าลินิน ผ้าใยสับปะรด และผ้าป่าน ผ้าที่ผลิตจากเส้นใยที่ได้จากสัตว์ ได้แก่ ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์
             เส้นใยสังเคราะห์ เป็นเส้นใยที่ผลิตจากสารเคมี ผ้าผลิตจากเส้นใยสังเคราะห์ ได้แก่ ผ้าไนลอน พอลิเอสเทอร์ และอะไครลิค มีสมบัติไม่ค่อยยับ ซักง่าย แห้งเร็ว ไม่ดูดซึมเหงื่อ เพราะไม่มีช่องระบายอากาศ จึงไม่นิยมนำมาใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มในบ้านเราเนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อน

การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

วัสดุต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา เมื่อถูกกระทำ เช่น บีบ ทุบ ดึง ดัด เป่า จะทำให้วัสดุมีการเปลี่ยนแปลงสภาพ หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่างดังนี้

  • การบีบ การทำให้วัสดุหดหรือลดขนาด เช่น บิดผ้า บีบฟองน้ำ เป็นต้น
  • การบิด คือ การทำให้วัสดุ บิดเบี้ยว เช่น บิดผ้า บิดลวด เป็นต้น
  • การทุบ คือ การทำให้วัสดุแตกหรือยุบด้วยแรงกระแทก เช่น ทุบกระป๋อง ทุบกะลามะพร้าว เป็นต้น
  • การดัด คือ การทำให้วัสดุโค้งงอได้ตามต้องการ เช่น ดัดเหล็กประตูหน้าต่าง เป็นต้น
  • การดึง คือ การทำให้วัสดุยืดขยายขึ้น เช่น การดึงยางรัดของ เป็นต้น
  • การทำให้ร้อนขึ้น หรือทำให้เย็นลงจะทำให้ลักษณะและรูปร่างของวัสดุเปลี่ยนแปลงไป เช่น การทอดไข่  การทำน้ำแข็ง

ประโยชน์และอันตรายจากของเล่นของใช้

1.      ของเล่นและของใช้ต่างๆ มีทั้งประโยชน์และโทษ เช่น

จานชาม ทำมาจาก พลาสติก แก้ว อลูมิเนียม ใช้ประโยชน์ในการใส่อาหาร ภาชนะที่มีสีไม่ควรนำมาใช้ เพราะสีที่อยู่ในภาชนะไม่ปลอดภัยจะผสมละลายปนเปื้อนออกมาเมื่อได้รับความ ร้อน ส่วนภาชนะที่ทำจากแก้ว พลาสติก กระเบื้อ เป็นวัสดุที่แตกหักง่ายสมุดหนังสือ ทำมาจากกระดาษใช้ประโยชน์ในการเรียน แต่โทษของหนังสือนั้นเราจะต้องรู้จักเลือกประเภทของหนังสือที่นำมาอ่าน จะต้องเลือกหนังสือประเภทที่อ่านแล้วประเทืองปัญญา ให้ความรู้ และมีสาระของเล่น ของเล่นที่ทำด้วยผ้า พลาสติก เช่น ตุ๊กตา หรือของเล่นที่เป็นหุ่นยนต์หรือรถยนต์ มีประโยชน์คือ ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน หลังจากใช้แล้วต้องรู้จักเก็บให้เป็นระเบียบ เพราะอาจทำให้เหยียบลื่นหกล้มเกิดอันตรายได้ของใช้ที่เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า ควรระวังการใช้งาน เวลาที่จะเสียบปลั๊กมือและร่างกายต้องแห้งเสมอ มิฉะนั้นจะเกิดไฟดูด เกิดอันตรายได้

                                                                                                                    ที่มา :  https://sites.google.com/site/withyasastrp2/home/hnwy-thi6