บทค ดย อ โครงงานน ำม นหอมระเหยจากเปล อกส ม

เป็นโครงงานที่จัดท าขึ นเพื่อศึกษาหาวิธีการสกัดน ามันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน าร้อน การสกัดด้วยตัวท า

ื่ ละลายเอทานอล และน ามาเปรียบเทียบประสิทธิภาพเพอหาว่าการสกัดน ามันหอมระเหยด้วยวิธีใด จะท าให้

ได้น ามันหอมระเหยที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งผู้ที่ต้องการศึกษาสามารถศึกษาจากโครงงานที่คณะผู้จัดท า

ได้จัดท าขึ นได้

การจัดท าโครงงานในครั งนี ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ได้รับความอนุเคราะห์และการสนับสนุนด้วยดีจาก

คุณครูนพวรรณ แก้วโกสุม ครูที่ปรึกษา ที่ได้ให้ค าแนะน าต่างๆในการท าโครงงานเคมีให้ถูกต้องตามหลักการ

และขอขอบใจนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนทีปราษฎร์พทยา ที่ได้ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือให้ ิ

โครงงานส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

สุดท้ายนี ขออทิศความดีที่มีในการศึกษาโครงงานนี แด่ บิดา มารดา ครอบครัวของคณะผู้จัดท า และ ุ

ื่ ิ ขอขอบคุณเพอนนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนทีปราษฎร์พทยาทุกคน ที่ให้ความช่วยเหลือและให้

ก าลังใจมาโดยตลอด

คณะผู้จัดท า

สารบัญ

เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก

กิตติกรรมประกาศ ข

สารบัญ ค สารบัญตาราง ง

สารบัญภาพ จ บทที่ 1 บทน า 1

ที่มาและความส าคัญ 1

วัตถุประสงค์ 2 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 2

สมมติฐาน 2 ขอบเขตของโครงงาน 3

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3

นิยามศัพท์เฉพาะ 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4

ใบเตย 4

สารละลายเอทานอล 7 การสกัดน ามันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน าร้อน 8

การสกัดน ามันหอมระเหยด้วยตัวท าละลาย 9 บทที่ 3 วิธีด าเนินงานโครงงาน 10

วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 10

ขั นตอนการทดลอง 11 บทที่ 4 ผลการด าเนินงานโครงงาน 13

15

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง 15 15 อภิปรายผลการทดลอง

ข้อเสนอแนะ 16 ภาคผนวก 17

บรรณานุกรม 22

สารบัญตาราง

ตารางท ี่ หน้า

ตารางที่ 1 ตารางบันทึกผลจากการสอบถามน ้ามันหอมระเหยจากวิธีที่ท้าให้ได้กลิ่นหอมมากที่สุด 13

จากทั ง 2 วิธี หลังจากการทดลอง 1 วัน ของนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จ้านวน 10 คน

ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลจากการสอบถามน ้ามันหอมระเหยจากวิธีที่ท้าให้ได้กลิ่นหอมมากที่สุด 14

จากทั ง 2 วิธี หลังจากการทดลอง 7 วัน ของนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จ้านวน 10 คน

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการเตรียมใบเตย 17

ภาพที่ 2 ขั้นตอนเตรียมสารละลายละลายเอทานอล และน้้ากลั่น 17

ภาพที่ 3 ขั้นตอนการสกัดน้้ามันหอมระเหยด้วยตัวท้าละลายเอทานอล 18

ภาพที่ 4 ขั้นตอนการกรองน้้ามันหอมระเหยด้วยผ้าขาวบาง 18

ภาพที่ 5 น้้ามันหอมระเหยด้วยตัวท้าละลายเอทานอล 19

ภาพที่ 6 น้้ามันหอมระเหยด้วยตัวท้าละลายเอทานอลบรรจุในขวดแก้ว 19

ภาพที่ 7 ขั้นตอนการสกัดน้้ามันหอมระเหยด้วยวิธีการกลั่นด้วยน้้าร้อน 20

ภาพที่ 8 ขั้นตอนการกรองน้้ามันหอมระเหยด้วยผ้าขาวบาง 20

1

บทที่ 1

บทน ำ

ชื่อโครงงำน : เปรียบเทียบประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยจากการ

สกัดด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน และ สกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

ที่มำและควำมส ำคัญ

น ้ามันหอมระเหยเป็นน ้ามันที่สกัดมาจากพืชตามธรรมชาติจากพชหอม ที่มีกลิ่นหอม ซึ่งสารเหล่านี จะ ื

ถูกเก็บไว้ในเฉพาะต่อมบนผิวใบ บนเปลือก กลีบดอก เกสร ล้าต้น ยางจากเปลือกล้าต้น เป็นต้น ซึ่งภายใน

ต่อมน ้ามันเหล่านั นจะมีองค์ประกอบทางเคมีที่สลับซับซ้อนหลายร้อยชนิด น ้ามันที่สกัดออกมาได้จะเป็น

ของเหลว มีกลิ่นหอมธรรมชาติ และมีคุณสมบัติในเชิงบ้าบัดโรคได้ ซึ่งในน ้ามันแต่ละตัวนั นก็จะมีผลในการ

ั ู ื้ บ้าบัดแตกต่างกันออกไป อย่างช่วยฟนฟสภาพผิว ต้านอกเสบ หรือช่วยท้าให้ผ่อนคลายความตึงเครียดสะสม ท้าให้สดชื่น หรือท้าให้สงบ และมีสมาธิ ปัจจุบันนี น ้ามันหอมระเหยเป็นที่นิยมในบุคคลหลายกลุ่ม ไม่ว่าจะช่วง

อายุของวัยรุ่น หรือ วัยท้างาน เพราะคุณสมบัติที่ส้าคัญของน ้ามันหอมระเหย คือ กลิ่นหอม ที่ช่วยท้าให้รู้สึก

ผ่อนคลาย ท้าให้สดชื่น เพราะในแต่ละวัน ผู้คนต่างเจอเรื่องราวต่างๆที่ท้าให้เครียด น ้ามันหอมระเหยจึงเป็น

ื่ หนึ่งในตัวเลือกที่ผู้คนมักเลือก เพอท้าให้ตนเองรู้สึกผ่อนคลายจากสิ่งที่เจอมา แต่ในยุคสมัยนี น ้ามันหอม

ื่ ระเหยของแต่ละบริษัทก็มีกระบวนการในการผลิตที่แตกต่างกัน เพอให้ได้น ้ามันหอมระเหยที่มีกลิ่นหอมมากๆ

บางบริษัทจึงต้องใช้ส่วนผสมที่จะท้าให้น ้ามันหอมระเหยมีกลิ่นที่หอมและทน ซึ่งสิ่งที่จะเกิดตามมา คือ ราคาที่

ค่อนข้างสูง ซึ่งอาจท้าให้หลายๆคนเข้าถึงยาก

คณะผู้จัดท้าได้เล็งเห็นถึงปัญหาของน ้ามันหอมระเหยในปัจจุบัน ซึ่งนั่นก็คือราคาที่ค่อนข้างสูง

โดยคณะผู้จัดท้าจะสกัดน ้ามันหอมระเหยจากใบเตย เพราะใบเตยถือเป็นดอกไม้ที่มีกลิ่นหอม ใบออกง่าย แต่

ื่ ผู้คนไม่นิยมน้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ คณะผู้จัดท้าจึงเลือกใบเตยสกัดน ้ามันหอมระเหย และเพอให้ได้ผลิตภัณฑ์ น ้ามันหอมระเหย ที่ต้นทุนต่้า สามารถท้าได้ง่าย และมีขั นตอนที่ไม่ยุ่งยาก คณะผู้จัดท้าจึงจัดท้าโครงงาน เรื่อง

2

เปรียบเทียบประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยจากการสกัดด้วยการกลั่น

ื่ ด้วยน ้าร้อน และสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล เพอให้บุคคลที่มีความสนใจ ได้ท้าตามอย่างง่ายดาย โดยไม่

ื่ เสียค่าใช้จ่ายจ้านวนมาก และคณะผู้จัดท้าได้น้าการสกัดน ้ามันหอมระเหยทั ง 2 วิธีมาจัดท้าเป็นโครงงานเพอ

เปรียบเทียบหาวิธีที่จะให้น ้ามันหอมระเหยที่มีกลิ่นหอมและมีประสิทธิภาพมากที่สุด

วัตถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาวิธีการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน

2. เพื่อศึกษาวิธีการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

3. เพอเปรียบเทียบประสิทธิภาพกลิ่นของน ้ามันหอมระเหยของใบเตย จากการสกัดด้วยการกลั่นด้วย ื่

น ้าร้อน และการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง

ตัวแปรต้น : การสกัดน ้ามันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน

และการสกัดน ้ามันหอมระเหยด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

ตัวแปรตำม : ประสิทธิภาพกลิ่นของน ้ามันหอมระเหย

ตัวแปรควบคุม : ผู้ทดสอบกลิ่น ปริมาณของใบเตย ปริมาณของของเหลว

ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง

สมมติฐำน

1. หลังจากสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตย 1 วัน การสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยการกลั่น

ด้วยน ้าร้อนจะได้กลิ่นที่ชัดเจนกว่าการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

2. หลังจากสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตย 7 วัน การสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยการกลั่น

ด้วยน ้าร้อนจะได้กลิ่นที่หอมกว่าการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

3

ขอบเขตของโครงงำน

ใช้วิธีการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตย 2 วิธี

1. การสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน

2. การสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

1. ได้ศึกษาหาวิธีการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน

2. ได้ศึกษาหาวิธีการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

3. ได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพกลิ่นของน ้ามันหอมระเหยของใบเตย จากการสกัดด้วยการกลั่นด้วยน ้า

ร้อน และ การสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

นิยำมศัพท์เฉพำะ

ั ื 1. น ำมนหอมระเหย คือ เป็นน ้ามันที่สกัดได้มาจากพชเช่น ส่วนดอก ใบ ผล ล้าต้น มีกลิ่นหอมของ สารหอมในพืช

ื 2. กำรกลั่น คือ น ้าร้อนหรือไอน ้าเข้าไปแยก "น ้ามันหอมระเหย" ออกมาจากพช โดยการแทรกซึมเข้า ไปในเนื อเยื่อพืช

3. กำรสกัด คือ เป็นกระบวนการที่แยกองค์ประกอบที่มีในวัตถุดิบหรือสารออกมา

4. ประสิทธิภำพกลิ่น คือ ความหอมของกลิ่นของน ้ามันหอมระเหย ที่วัดจากความพึงพอใจ

ของกลุ่มตัวอย่าง

ุ่ 5. ใบเตย เป็นพืชใบเลี ยงเดี่ยวลักษณะแตกกอเป็นพมขนาดเล็ก ล้าต้นเป็นข้อ ใบออกเป็นพมบริเวณ ุ่ ปลายยอด

6. สำรละลำยเอทำนอล คือ เป็นสารแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งที่ผลิตได้จากการน้าพืชผลทางการเกษตร

จ้าพวกแป้งและน ้าตาล

4

บทที่ 2

เอกสำรที่เกี่ยวข้อง

ในการจัดท้าโครงงานเคมี เรื่อง เปรียบเทียบการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยจากการสกัด ด้วย

การกลั่นด้วยน ้าร้อน และ สกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล คณะผู้จัดท้าโครงงานได้ศึกษาเอกสารจากเว็บไซต์

ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี

1. ใบเตย

1.1) ประโยชน์และสรรพคุณของใบเตย

2. สารละลายเอทานอล

2.1) ลักษณะเฉพาะของสารละลายเอทานอล

2.2) ประโยชน์ของสารละลายเอทานอล

3.การสกัดน ้ามันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน

4.การสกัดน ้ามันหอมระเหยด้วยตัวท้าละลาย

1. ใบเตย

จัดเป็นไม้ยืนต้นพมเล็ก ขึ นเป็นกอ มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับเวียนเป็นเกลียวจนถึงยอดใบ ลักษณะ ุ่

ของใบเป็นทางยาว สีเขียวเป็นมัน ใบค่อนข้างแข็ง มีขอบใบเรียบ เราสามารถน้าใบเตยมาใช้ได้ทั งใบสดและใบ

แห้ง ในใบเตยจะมีกลิ่นหอมของน ้ามันหอมระเหย (Fragrant screw pine) โดยกลิ่นหอมของใบเตยนั นมาก

ั จากสารเคมีที่ชื่อว่า 2-acetyl-1-pyrroline ซึ่งเป็นกลิ่นเดียวกันกบที่ได้ใน ข้าวหอมมะลิ ขนมปังขาว และดอก

ี ชมนาด นอกจากนี ใบเตยยังประกอบด้วยวิตามินและแร่ธาตุส้าคัญอกหลายชนิด โดยใบเตยหอม 100 กรัมนั น

จะมีเบต้าแคโรทีน 3 ไมโครกรัม, วิตามินซี 8 มิลลิกรัม, วิตามินบี 2 0.2 มิลลิกรัม, วิตามินบี 3 1.2 มิลลิกรัม,

5

ธาตุแคลเซียม 124 มิลลิกรัม, ธาตุเหล็ก 0.1 มิลลิกรัม, ธาตุฟอสฟอรัส 27 มิลลิกรัม นอกจากนี ยังมี

คาร์โบไฮเดรต 4.6 กรัม, โปรตีน 1.9 กรัม และให้พลังงานถึง 35 กิโลแคลอรี่

 เตย หรือ เตยหอม ชื่อสามัญ Pandan leaves, Fragrant pandan, Pandom wangi

้  เตย ชื่อวิทยาศาสตร์ Pandanus amaryllifolius Roxb. (ชื่อพองวิทยาศาสตร์ Pandanus

odorus Ridl.) จัดอยู่ในวงศ์เตยทะเล (PANDANACEAE)

สมุนไพรเตย มีชื่อท้องถิ่นอน ๆ ว่า ใบส้มม่า (ระนอง), ส้มตะเลงเครง (ตาก), ส้มปู (แม่ฮองสอน), ส้ม ื่ ่ พอดี ผักเก็งเค็ง (ภาคเหนือ) เป็นต้น

ใบเตยเป็นพชที่คนไทยทุกคนต่างก็รู้จักกันดี เนื่องจากมีการน้ามาใช้กันอย่างหลากหลายตั งแต่สมัย ื

โบราณแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน้ามาปรุงแต่งอาหารอย่างขนมไทยให้มีกลิ่นหอม อร่อย และยังให้สีสันน่า

รับประทานอีกด้วย

1.1) ประโยชน์และสรรพคุณของใบเตย

1. ช่วยบ้ารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น และช่วยลดอตราการเต้นของหัวใจ (น ้าใบเตย) ั

2. การดื่มน ้าใบเตยจะช่วยดับกระหายคลายร้อนได้เป็นอย่างดี เพราะใบเตยมีกลิ่นหอมเย็น ดื่มแล้วจึง

รู้สึกสดชื่น ผ่อนคลาย

3. รสหวานเย็นของใบเตยช่วยชูก้าลัง

4. การดื่มน ้าใบเตยช่วยแก้อาการออนเพลียของร่างกายได้ ่

5. ช่วยปรับสมดุลในร่างกาย

6. ผู้ที่มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุไฟนั น การรับประทานอาหารที่ปรุงจากใบเตยจะช่วยท้าให้รู้สึกเย็นสบายสด

ชื่นได้

6

7. ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ช่วยควบคุมระดับน ้าตาลในเลือด ซึ่งตามต้ารับยาไทยได้มีการน้าใบเตยหอม

32 ใบ, ใบของต้นสัก 9 ใบ น้ามาหั่นตากแดด แล้วน้ามาชงเป็นชาดื่มอย่างน้อย 1 เดือน หรือจะใช้ราก

ประมาณ 1 ก้ามือน้ามาต้มกับน ้าดื่มเช้าเย็นก็ได้เหมือนกัน (ใบ, ราก)

8. ช่วยลดความดันโลหิต (สารสกัดน ้าจากใบเตย)

9. ช่วยป้องกันการแข็งตัวของหลอดเลือด

10. ช่วยบรรเทาอาการอาการและดับพษไข้ได้ ิ

11. ช่วยดับพิษร้อนภายในได้เป็นอย่างดี

12. ใช้รักษาโรคหืด (ใบ)

13. ใช้เป็นยาแก้กระษัย (ต้น, ราก)

14. ใช้เป็นยาขับปัสสาวะด้วยการใช้ต้น 1 ต้น หรือจะใช้รากครึ่งก้ามือก็ได้ น้ามาต้มกับน ้าดื่ม (ราก, ต้น)

15. ใช้รักษาโรคหัดได้

16. ใบเตยสดน้ามาต้าใช้พอกรักษาโรคผิวหนังได้

17. มีการน้าใบเตยมาใช้แต่งกลิ่นอาหารอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นของหวานต่าง ๆ อย่างเช่น ขนม

ลอดช่อง ขนมชั น รวมไปถึงเค้กและสลัด เป็นต้น

18. มีการน้าใบเตยมาทุบพอแตก น้าไปใส่ก้นลังถึงส้าหรับนึ่งขนม จะท้าให้ขนมที่สุกแล้วมีกลิ่นหอมน่า

รับประทานมาก

19. ใช้ใบเตยรองก้นหวดส้าหรับนึ่งข้าวเหนียว เมื่อข้าวสุกแล้วจะท้าให้มีกลิ่นหอมมาก

ิ 20. สีเขียวของใบเตยเป็นสีของคลอโรฟลล์ สามารถน้ามาใช้แต่งสีขนมได้

21. ใช้ใบเตยสดใส่ลงไปในน ้ามันที่ใช้แล้ว ตั งไฟให้ร้อนแล้วค่อยตักใบเตยขึ น จะท้าให้น ้ามันไม่มีกลิ่นเหม็น

หืน ท้าให้น ้ามันที่ใช้ทอดมีกลิ่นเหมือนน ้ามันใหม่

7

22. ประโยชน์ของใบเตยกับการน้ามาใช้ท้าเป็นทรีตเมนต์สูตรบ้ารุงผิวหน้า ด้วยการใช้ใบเตยล้างสะอาด

หั่นเป็นชิ นเล็ก ๆ น้ามาปั่นรวมกับน ้าสะอาดจนละเอยด จะได้ครีมข้นเหนียวแล้วน้ามาพอกหน้าทิ งไว้ ี

ประมาณ 20 นาที

2. สำรละลำยเอทำนอล

เอทานอล (Ethanol) หรือ เอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol) เป็นแอลกอฮอล์ปฐมภูมิ สูตร

สามารถผลิตได้จากกระบวนการสังเคราะห์ทางเคมี และกระบวนการหมักวัตถุดิบจ้าพวกแป้ง

และน ้าตาลด้วยจุลินทรีย์ นิยมน้ามาใช้เป็นสารตั งต้นส้าหรับผลิตสารเคมีอนๆหรือน้ามาใช้ประโยชน์โดยตรง ื่

เช่น ใช้เป็นตัวท้าละลาย เครื่องดื่ม และเชื อเพลิง เป็นต้น

2.1) ลักษณะเฉพำะของสำรละลำยเอทำนอล

สถานะ : ของเหลวใส ไม่มีสี ระเหยง่าย และมีกลิ่นเฉพาะตัว

สูตร :

น ้าหนักโมเลกุล : 46.07 กรัม/โมล

จุดเยือกแข็ง : -114.1 องศาเซลเซียส

จุดเดือด : 78.32 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิวิกฤต : 243.1 องศาเซลเซียส

ความดันวิกฤต 6383.48 kpa

ความหนาแน่น : 0.7893 กรัม/มิลลิลิตร

การละลายน ้า : ละลายได้ดีมาก

8

2.2) ประโยชน์ของสำรละลำยเอทำนอล

2.2.1) ใช้เป็นสารตั งต้นหรือตัวท้าละลาย เช่น การผลิตเครื่องส้าอาง ยา น ้าหอม เป็นต้น

2.2.2) เป็นส่วนผสมของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่างๆ

2.2.3) ใช้ส้าหรับการฆ่าเชื อหรือล้างแผล เช่น แอลกอฮอล์ 75%

2.2.4) ใช้ส้าหรับการท้าความสะอาด และฆ่าเชื อในส่วนผสมของน ้ายาฆ่าเชื อ

3.กำรสกัดน ำมันหอมระเหยด้วยกำรกลั่นด้วยน ำร้อน

การกลั่นด้วยน ้าร้อน (Water distillation & Hydro-distillation) เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดของการกลั่น

ื น ้ามันหอมระเหย การกลั่นโดยวิธีนี พนที่กลั่นต้องจุ่มในน ้าเดือดทั งหมด อาจพบพชบางชนิดเบา หรือให้ท่อไอ ื น ้าผ่านการกลั่น น ้ามันหอมระเหยนี ใช้กับของที่ติดกันง่ายๆ เช่น ใบไม้บางๆ กลีบดอกไม้อ่อนๆ

ข้อควรระวัง ในการกลั่นโดยวิธีนี คือ พชจะได้รับความร้อนไม่สม่้าเสมอ ตรงกลางมักจะได้ความร้อน ื

มากกว่าด้านข้าง จะมีปัญหาในการไหม้ของตัวอย่าง กลิ่นไหม้จะปนมากับน ้ามันหอมระเหยและมีสารไม่พง ึ

ประสงค์ติดมาในน ้ามันหอมระเหยได้ วิธีแก้ไข คือ ใช้ไอน ้า หรืออาจใช้ closed steam coil จุ่มในหม้อต้ม แต่

การใช้ steam coil นี ไม่เหมาะกับดอกไม้บางชนิด เพราะเมื่อกลีบดอกไม้ถูก steam coil จะหดกลายเป็น

glutinous mass จึงต้องใช้วิธีใส่ลงไปในน ้า กลีบดอกไม้จะสามารถหมุนเวียนไปอย่างอสระในการกลั่น เปลือก ิ

ไม้ก็เช่นกัน ถ้าใช้วิธีกลั่นด้วยน ้า น ้าจะซึมเข้าไปและน้ากลิ่นออกมา หรือกลิ่นจะแพร่กระจายออกจากเปลือกไม้

ได้ง่ายขึ น ดังนั น การเลือกใช้วิธีการกลั่นจึงขึ นกับชนิดของพืชที่น้ามากลั่นด้วย

9

4.กำรสกัดน ำมันหอมระเหยด้วยตัวท ำละลำย

ุ การสกัดด้วยตัวท้าละลาย (sovent extraction) เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ในอตสาหกรรม เช่น

ื การสกัดน ้ามันพืชเพื่อใช้ประกอบอาหาร โดยน้าวัตถุดิบมาจากเมล็ดของพชชนิดต่าง ๆ ได้แก่ เมล็ดทานตะวัน

ถั่วเหลือง ปาล์ม ถั่วลิสง ข้าวโพด เมล็ดบัว งา และร้าข้าว ในการสกัดน ้ามันพืชนิยมใช้เฮกเชนเป็นตัวท้าละลาย

ื ื หลังการสกัดจะได้สารละลายที่มีน ้ามันพชละลายอยู่ในเฮกเซน จากนั นน้าไปกรองเอากากเมล็ดพชออก แล้ว ื่ ื น้าสารละลายไปกลั่นแยกล้าดับส่วนเพอแยกเฮกเซนจะได้น ้ามันพช ซึ่งต้องน้าไป ฟอกสี ดูดกลิ่น และก้าจัด สารอน ๆ ออกก่อน จึงจะได้น ้ามันพชส้าหรับใช้ปรุงอาหาร ทั งนี การสกัดด้วยตัวท้าละลาย เป็นวิธีการแยก ื่ ื สารที่ใช้มากในชีวิตประจ้าวัน เป็นการแยกสาร ที่ต้องการออกจากส่วนต่าง ๆ ของพชหรือจากของผสมต้อง ื

เลือกตัวท้าละลายที่เหมาะสมในการสกัดสารที่ต้องการ

10

บทที่ 3

วิธีด ำเนินงำนโครงงำน

ในการจัดท้าโครงงาน เรื่อง เปรียบเทียบการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยจากการสกัดด้วยการ

ั กลั่นด้วยน ้าร้อน และสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล ซึ่งมีวิธีด้าเนินงานโครงงาน ตามขนตอน ดังต่อไปนี

1. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในกำรทดลอง

1.1) กำรสกัดน ำมันหอมระหำยของใบเตยด้วยกำรกลั่นด้วยน ำร้อน

ใบเตย 30 กรัม

น ้ากลั่น 60 มิลลิลิตร

แท่งแก้วคนสาร 1 แท่ง

บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 1 ใบ

เครื่องให้ความร้อน 1 เครื่อง

เทอร์โมมิเตอร์ 1 อัน

เครื่องพ่นไอน ้าขนาด 30 มิลลิลิตร 1 เครื่อง

1.2) กำรสกัดน ำมันหอมระหำยของใบเตยด้วยตัวท ำละลำยเอทำนอล

ใบเตย 30 กรัม

น ้ากลั่น 30 มิลลิลิตร

เอทานอล 30 มิลลิลิตร

แท่งแก้วส้าหรับคน 1 แท่ง

ขวดรูปชมพขนาด 500 มิลลิลิตร 1 ใบ ู่

เครื่องพ่นไอน ้าขนาด 30 มิลลิลิตร 1 เครื่อง

11

2. ขั นตอนกำรทดลอง

ตอนที่ 1 กำรสกัดน ำมันหอมระเหยของใบเตยด้วยกำรกลั่นด้วยน ำร้อน

  1. เตรียมใบเตยสะอาดมาหั่นเป็นชิ นเล็กๆ จ้านวน 30 กรัม
  1. น้าน ้ากลั่น60 มิลลิตรใส่ลงในบีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิตร
  1. น้าบีกเกอร์ที่มีน ้ากลั่นขึ นเครื่องให้ความร้อนโดยใช้ความแรงของไฟที่ 3 และรอให้น ้าเดือด โดยใช้

เทอร์โมมิเตอร์วัดอณหภูมิของน ้า ุ

  1. เมื่อน ้าเดือดให้น้าใบเตยที่เตรียมไว้ใส่ลงในบีกเกอร์ แล้วใช้แท่งแก้วคนสาร คนใบเตยที่ใส่ลงใน

บีกเกอร์โดยใช้ระยะเวลา 15 นาที

  1. ปิดเครื่องให้ความร้อน พกให้ใบเตยที่ได้ต้มไป อุณหภูมิเย็นลง
  1. น้าตัวทดลองที่ได้มากรองของเหลวออกด้วยผ้าขาวบาง
  1. น้าของเหลวที่ได้ ใส่ในเครื่องพ่นไอน ้าขนาด 30 มิลลิตร
  1. ท้าความสะอาดสถานที่และอปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองทั งหมด ุ

ตอนที่ 2 กำรสกัดน ำมันหอมระเหยของใบเตยด้วยตัวท ำละลำยเอทำนอล

  1. เตรียมใบเตยสะอาดมาหั่นเป็นชิ นเล็กๆ จ้านวน 30 กรัม
  1. น้าใบเตยที่หั่นแล้วใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 500 มิลลิตร
  1. เทสารละลายเอทานอล 30 มิลลิตร และน ้ากลั่น 30 มิลลิลิตร ลงในขสดรูปชมพู่ที่มีใบเตย
  1. ใช้แท่งแก้วคนสาร คนเป็นเวลา 15 นาที
  1. น้าตัวทดลองที่ได้มากรองของเหลวออกด้วยผ้าขาวบาง
  1. น้าของเหลวที่ได้ ใส่ในเครื่องพ่นไอน ้าขนาด 30 มิลลิตร

  1. ท้าความสะอาดสถานที่และอปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองทั งหมด

12

ตอนที่ 3 เปรียบเทียบประสิทธิภำพกลิ่นของน ำมันหอมระเหยจำกกำรสกัดด้วยกำรกลั่น

ด้วยน ำร้อน และกำรสกัดด้วยตัวท ำละลำย

  1. น้าน ้ามันหอมระเหยที่ได้ท้าการทดลองจากทั ง 2 วิธี ให้กลุ่มตัวอย่าง หรือนักเรียนชั นมัธยมศึกษา

ปีที่ 6/1 ของโรงเรียนทีปราษฏร์พิทยา จ้านวน 10 คน ทดสอบกลิ่น โดยให้ทดสอบกลิ่นจาก

ตัวเครื่องพ่นไอน ้าทั งสองเครื่อง

  1. รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสอบถามโดยตรงกับกลุ่มตัวอย่าง
  1. บันทึกผลข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง แล้วน้ามาบันทึกลงในรูปเล่มรายงานในบทที่ 4

13

บทที่ 4

ผลกำรด ำเนินงำนโครงงำน

จากการศึกษาค้นคว้า และจัดท้าโครงงาน เรื่อง เปรียบเทียบการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยจาก

การสกัดด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน และสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาวิธีการสกัด ื่

น ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน เพื่อศึกษาวิธีการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยด้วยตัว

ท้าละลายเอทานอล และเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพกลิ่นของน ้ามันหอมระเหยของใบเตย จากการสกัดด้วย

การกลั่นด้วยน ้าร้อน และการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

ั น ำมันหอมระเหยของใบเตยหลังจำกท ำกำรทดลอง 1 วน นักเรียนชั นมัธยมศึกษำปีที่ 6/1 สกัดจำกกำรกลั่นด้วยน ำร้อน สกัดด้วยตัวท ำละลำยเอทำนอล

นายรณกร พันชั่ง / นางสาวกนกพร ชูนวลศรี /

นางสาวจิดาภา ขวัญเมือง /

์ นางสาวณัฐธิดา พงษพานิช / นางสาวธิติมา ทองรอด /

นางสาวนนทรีย์ ค้าวันสา /

นางสาวพิชชาภา บุญศรี / นางสาวศศิวิมล สุติราช /

นางสาวศุภิสรา แพกุล /

นางสาวอริสรา หวลคนึงคิด /

ตารางที่ 1 ตารางบันทึกผลจากการสอบถามน ้ามันหอมระเหยจากวิธีที่ท้าให้ได้กลิ่นหอมมากที่สุด

จากทั ง 2 วิธี หลังจากการทดลอง 1 วัน ของนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จ้านวน 10 คน

14

ั น ำมันหอมระเหยของใบเตยหลังจำกท ำกำรทดลอง 7 วน นักเรียนชั นมัธยมศึกษำปีที่ 6/1 สกัดจำกกำรกลั่นด้วยน ำร้อน สกัดด้วยตัวท ำละลำยเอทำนอล นายรณกร พันชั่ง /

นางสาวกนกพร ชูนวลศรี /

นางสาวจิดาภา ขวัญเมือง / ์ นางสาวณัฐธิดา พงษพานิช / นางสาวธิติมา ทองรอด /

นางสาวนนทรีย์ ค้าวันสา / นางสาวพิชชาภา บุญศรี /

นางสาวศศิวิมล สุติราช /

นางสาวศุภิสรา แพกุล / นางสาวอริสรา หวลคนึงคิด /

ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลจากการสอบถามน ้ามันหอมระเหยจากวิธีที่ท้าให้ได้กลิ่นหอมมากที่สุด

จากทั ง 2 วิธี หลังจากการทดลอง 7 วัน ของนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จ้านวน 10 คน

จากตารางบันทึกผลจากการสอบถามน ้ามันหอมระเหยของใบเตยจากวิธีที่ท้าให้ได้กลิ่นหอมมากที่สุด

จากการกลั่นด้วยน ้าร้อนและตัวท้าละลายเอทานอล หลังจากการทดลอง 1 วันและหลังจากการทดลอง 7 วัน

คณะผู้จัดท้าได้ พบว่าในวันที่1 หลังจากท้าการทดลองของน ้ามันหอมระเหย ที่ได้จากกลั่นด้วยน ้าร้อนจะมี

ั ความหอมมากกว่าจากการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล อตราส่วนของผู้ทดสอบกลิ่นน ้ามันหอมระเหยจาก

กลั่นด้วยน ้าร้อนต่อการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอลเป็น 8 : 2 แต่ในวันที่ 7 หลังจากท้าการทดลองน ้ามัน

ั หอมระเหยที่ได้จากการกลั่นน ้าร้อนจะมีความหอมน้อยกว่าจากการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล อตราส่วน ของผู้ทดสอบกลิ่นน ้ามันหอมระเหยจากกลั่นด้วยน ้าร้อนต่อการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอลเป็น 2 : 8 หรือ

สรุปได้ว่า น ้ามันหอมระเหยที่ได้จากกลั่นด้วยน ้าร้อน เมื่อทิ งไว้หลายวัน กลิ่นหอมจะลดลง และน ้ามันหอม

ระเหยที่ได้จากตัวท้าละลายเอทานอล เมื่อทิ งไว้หลายวัน กลิ่นจะยังคงมีความหอมคงเดิม

15

บทที่ 5

สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ

สรุปผลกำรทดลอง

จากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยด้วยการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยจาก

การกลั่นด้วยน ้าร้อน และจากการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล ปรากฎว่าการกลั่นด้วยน ้าร้อนจากการต้ม

และการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอลสามารถท้าน ้ามันหอมระเหยออกมาได้จริงและสามารถน้าไปใช้งานได้

จริงในชีวิตประจ้าวัน

อภิปรำยผลกำรทดลอง

จากผลการทดลองที่คณะผู้จัดท้าได้บันทึกผลจากกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จ้านวน

10 คน ผลการทดลองไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ เนื่องจากพบว่าการสกัดน ้ามันหอมระเหยของใบเตยจากการกลั่น

ด้วยน ้าร้อน หากผ่านไป 1 วัน กลิ่นที่ได้จะหอมกว่าน ้ามันหอมระเหยที่สกัดจากตัวท้าละลายเอทานอล และ

เมื่อผ่านไป 7 วัน กลิ่นที่ได้จากการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล จะมีกลิ่นที่หอมมากกว่าน ้ามันหอมระเหยที่

สกัดด้วยการกลั่นด้วยน ้าร้อน เนื่องจากในใบเตย 3-methyl-2(5H)-furanone ซึ่งพบเป็นร้อยละ 73 เป็นสาร

ที่ท้าให้เกิดกลิ่นฉุน หรือกลิ่นคล้ายยา เนื่องจากในใบเตยมีสารเหล่านี ในปริมาณที่มาก จึงท้าให้ในการต้มไม่ได้

ก้าจัดสารนี ออกไปได้ทั งหมด เมื่อมีการทิ งน ้ามันหอมระเหยไว้หลายวัน สารตัวนี จะเกิดการรวมตัวกันภายใน

ภาชนะจัดเก็บ จึงท้าให้มีกลิ่นที่ฉุนและไม่หอมเท่าเมื่อท้าการทดลอง และการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

วิธีนี จะได้น ้ามันหอมระเหยที่มีกลิ่นคงเดิม เนืองจากสารละลายเอทานอลที่ใส่ลงไปมีความคงที่ ดังนั นเมื่อเวลา

ผ่านไป 7 วันน ้ามันหอมระเหยยังมีกลิ่นหอมคงเดิม จึงสรุปได้ว่าวิธีการสกัดและระยะเวลาในการจัดเก็บน ้ามัน