วัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงิน คืออะไร

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

1. เพื่อเป็นกำหนดวิธีการปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน และสัญญาซื้อหรือขายรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงินบางประเภท

2. เพื่อเป็นกำหนดหลักการสำหรับการรายงานทางการเงินสำหรับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินเพื่อเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินในการประเมินถึงจำนวนเงิน จังหวะเวลา และความไม่แน่นอนของกระแสเงินสดในอนาคตของกิจการ

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 นั้นได้มีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน ดังต่อไปนี้ (สรุปโดยย่อ)

1. การจัดประเภทและการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน (Classification & Measurement)

ข้อกำหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 นั้นจะมีการแบ่งประเภทและวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงินตามโมเดลธุรกิจซึ่งเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ในการถือครองสินทรัพย์ทางการเงินนั้น และตามลักษณะของกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงิน โดยข้อกำหนดส่วนใหญ่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปจากมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ฉบับที่ 39 เรื่องการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน

2. การรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของเครื่องมือทางการเงิน (Impairment Loss)

ข้อกำหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 การรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตไม่จำเป็นต้องรอให้เกิดเหตุการณ์ด้านเครดิตขึ้นก่อน แต่กิจการจะบันทึกผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ของ TFRS 9 / IFRS 9 นั้น เรียกชื่อเต็มเป็นภาษาอังกฤษว่า  Expected Credit Loss ซึ่งสามารถเรียกเป็นภาษาทั่วไปได้ว่าเป็นการตั้งสำรองการโดนเบี้ยวหนี้ (หรือค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) จากเครื่องมือทางการเงินต่างๆ โดยเป็นการนำสถิติในอดีตมาจำลองอนาคตถึงความเป็นไปได้ที่จะโดนเบี้ยวหนี้ในกิจกรรมอะไรก็ตามที่บริษัทมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ เพื่อให้งบการเงินมีความเหมาะสมและสะท้อนภาพความเป็นจริงมากขึ้น ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงินที่แท้จริง โดยเฉพาะกับยุคเศรษฐกิจที่ผันผวนอยู่ตลอดเวลาอย่างนี้

Necessary cookies are required to help a website usable by enabling core functions and access to secure areas of the website. The website cannot be function properly without these cookies and they are enabled by default and cannot be disabled.


Analytics cookies help website to understand how visitors interact through the website. These cookies help to improve user experiences by collecting and reporting information.


Marketing cookies are used to track visitors across websites to display relevant advertisements for the individual user and thereby more valuable for publishers and third party advertisers.

โดยปกติแต่ละบริษัทต้องจัดทำบัญชีอยู่แล้ว เมื่อครบงวด เช่น งวดปี (ระยะเวลา 1 ปี) ก็นำข้อมูลบัญชีเหล่านี้มาจัดทำเป็น งบการเงิน เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปใช้งานต่อ หรือวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน และ ฐานะของบริษัท

ดังนั้น งบการเงิน ก็คือ สรุปบัญชีในรอบที่ผ่านมา นั่นเอง

ทำให้ทราบว่ามีผลการดำเนินงานดีหรือไม่ และฐานะการเงินเป็นอย่างไร นั่นเอง

จุดมุ่งหมายของ งบการเงิน

  1. เพื่อนำเสนอฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินของกิจการ
  2. ทราบถึงผลการบริหารของฝ่ายบริหารว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด บรรลุเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่
  3. ให้ข้อมูลแสดงผลกระทบทางการเงินจากเหตุการณ์ในอดีตและผลกระทบที่จะเกิดในอนาคต

 

ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินกลุ่มต่างๆ เช่น ผู้ลงทุนหรือผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ ผู้บริหาร ลูกจ้าง ลูกค้า รัฐบาล เป็นต้น


งบการเงิน ทำให้ทราบถึงสภาพของ กิจการ ซึ่งเป็นข้อมูล ณ ปัจจุบันและอดีตที่ผ่านมา

แต่ในอนาคตอาจจะดีหรือแย่กว่านี้ก็เป็นได้เช่น หาก กิจการ ยังมีรายได้น้อยกว่าค่าใช้จ่าย ถ้าทำการปรับปรุงการจัดการให้ดีขึ้น ลดค่าใช้จ่าย ก็จะกลับมามีกำไรได้

วัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงิน คืออะไร


ผู้ใช้ประโยชน์จากงบการเงิน

ผู้ใช้งบการเงินหรือผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) มีอยู่หลากประเภท จุดมุ่งหมายในการใช้งบการเงินก็แตกต่างกันออกไป เช่น

นักลงทุน หรือ ผู้ถือหุ้น

เป็นเจ้าของเงินทุน เป็นผู้รับได้ผลตอบแทนจากการลงทุน รวมทั้งยังต้องรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น งบการเงินทำให้ผู้ลงทุนทราบถึงผลการดำเนินธุรกิจของกิจการเป็นว่าอย่างไร สามารถคาดการณ์ถึงปันผลที่จะได้รับ และมูลค่าของกิจการ

เจ้าหนี้

เช่น เจ้าหนี้การค้า ผ่อนชำระเช่าซื้อ เงินให้กู้ ทั้งให้กู้ระยะสั้น และให้กู้ระยะยาว โดยวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานจากงบการเงิน ช่วยให้เจ้าหนี้ประเมินความสามารถในการชำระหนี้ ว่าหนี้สินจะได้รับชำระหนี้ครบตามกำหนดและดอกเบี้ยหรือไม่

ผู้บริหาร

มีหน้าที่ในการบริหารงานให้กิจการดำเนินงานตามเป้าหมาย ใช้งบการเงินเพื่อตัดสินใจเรื่องต่างๆ การวางแผนล่วงหน้าทั้งระยะสั้นและระยะยาว การควบคุม การจัดการ และติดตามการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงิน คืออะไร

 

ถึงแม้ข้อมูลใน งบการเงิน จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต แต่ก็พอบอกอนาคตบางอย่างได้

เช่น ถ้ากิจการมีหนี้สินจากการกู้ยืม พอให้เราคาดได้ว่า ต่อจากนี้กิจการต้องมีค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย และมีภาระในการคืนเงินที่กู้ยืมมา