สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
การปกครองแบบจตุสดมภ์เป็นการปกครองที่เริ่มในสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ได้ปรับปรุงระบอบการปกครองในส่วนกลางเสียใหม่ตามแบบอย่างของขอม โดยมีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง และมีเสนาบดี 4 ฝ่าย คือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง ขุนนา
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
ในขณะที่การปกครองหลังมีการปฏิรูปขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอันเป็นรูปแบบการปกครองที่ใช้ มาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น มีลักษณะเป็นแบบ “นายกรัฐมนตรี 2 คน” มากกว่า
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
รูปแบบการปกครองนี้ถูกใช้ตั้งแต่ต้นราชอาณาจักรอยุธยาไปสิ้นสุด เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูปการปกครอง โดยยกเลิกจตุสดมภ์และสถาปนากระทรวง 12 กระทรวงในวันที่ 1 เมษายน 2435

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1

จตุสดมภ์แบ่งออกเป็น 4 กรม มีหัวหน้าเรียกว่า ขุน ฐานะเทียบเท่าเสนาบดี แบ่งออกเป็น

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
- กรมเวียง ความสงบบ้านเมือง
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
- กรมวัง ดูแลพระราชสำนัก
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
- กรมคลัง ดูแลพระราชทรัพย์
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
- กรมนา ดูแลไร่ที่ดิน

สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
ต่อมาสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีการจัดตั้งกรมขึ้นสองกรม ได้แก่ กรมมหาดไทย ซึ่งดูแลกิจการพลเรือน โดยมีสมุหนายกเป็นอัครเสนาบดีดูแล และกรมกลาโหม ซึ่งดูแลกิจการทหาร โดยมีสมุหพระกลาโหมดูแล จตุสดมภ์นั้นให้มาขึ้นกับกรมมหาดไทย แล้วมีการเปลี่ยนชื่อและเพิ่มหน้าที่
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
- กรมเวียง เปลี่ยนชื่อเป็น กรมพระนครบาล มีพระยายมราชเป็นเสนาบดี ทำหน้าที่ปราบปรามโจรผู้ร้าย รักษาความสงบภายใน ดับเพลิงในพระนคร และตัดสินคดีความร้ายแรง
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
- กรมวัง เปลี่ยนชื่อเป็น กรมธรรมาธิบดี มีพระยาธรรมาศรีสุริยวงศ์อัครมหาอุดมบรมวงษาธิบดี หรือพระยาธรรมาธิบดีเป็นเสนาบดี ทำหน้าที่ดูแลงานในพระราชสำนัก งานธุรการ ตัดสินคดีความ และแต่งตั้งยกกระบัตรไปดูแลหัวเมืองต่าง ๆ
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
- กรมคลัง เปลี่ยนชื่อเป็น กรมโกษาธิบดี มีพระยาศรีธรรมราชเดชาชาติอำมาตยานุชาติพิพัทรัตนราชโกษาธิบดี หรือเรียกสั้นว่า พระยาโกษาธิบดี เป็นเสนาบดี ทำหน้าที่เกี่ยวกับพระราชทรัพย์ การค้ากับต่างประเทศ บัญชีวัสดุและอาวุธของราชการ พระคลังหลวง การรับรองทูตต่างประเทศ และการตัดสินคดีความของคนต่างชาติ
สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ
- กรมนา เปลี่ยนชื่อเป็น กรมเกษตราธิบดี มีพระยาพลเทพราชเสนาบดีเป็นเสนาบดี ทำหน้าที่ตรวจตราและส่งเสริมการทำนา เก็บข้าวไว้เป็นเสบียงยามสงคราม ตัดสินคดีความเกี่ยวกับที่นา ออกกรรมสิทธิ์ที่นาแก่ราษฎร

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ

https://th.wikipedia.org/wiki/จตุสดมภ์

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ

          

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ

สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๐๓๑)

การเมืองการปกครอง

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถมีพระประสงค์ที่จะดึงอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางหรือราชธานี  จึงลดบทบาทของเจ้านายลงและเพิ่มอำนาจให้ขุนนาง  เพื่อป้องกันการแย่งชิงอำนาจจากเชื้อพระวงศ์ เช่น

 - การแบ่งงานฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือนออกจากกันอย่างชัดเจน ให้สมุหพระกลาโหมดูแลฝ่ายทหาร และให้สมุหนายกดูแลฝ่ายพลเรือน รวมทั้งจตุสดมภ์ในราชธานี

- การปกครองในส่วนภูมิภาค ได้ยกเลิกระบบการปกครองหัวเมืองต่าง ๆ ลดฐานะเมืองลูกหลวง เมืองหลานหลวงลงเป็นเมืองชั้นจัตวาและส่งขุนนางไปปกครองแทนเจ้านาย

สำหรับการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้จัดเป็นหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้านปกครองดูแล ตำบล มีกำนันเป็นหัวหน้า แขวง มีหมื่นแขวงเป็นหัวหน้า

 - มีการแต่งตั้งตำแหน่งข้าราชการ ให้มี บรรดาศักดิ์ตามลำดับ จากต่ำสุดไปสูงสุด

คือ ทนาย พัน หมื่น ขุน ยาหลวง พระ และ เจ้าพระยา มีการกำหนดศักดินา

เพื่อ เป็นค่าตอบแทนการรับราชการ และได้อาศัยใช้เป็นเกณฑ์

กำหนดการมีที่นาและการปรับไหมตามกฎหมาย

เศรษฐกิจ

สินค้าในอาณาจักรอยุธยามีที่มา ๒ ทาง คือ

๑. สินค้นภายใน

๒. สินค้าภายนอก

สภาพสังคม

     โครงสร้างชนชั้นของคนในสังคมยังคงแบ่งเป็น ๕ กลุ่ม นั่นคือ พระมหากษัตริย์ มูลนายหรือ เจ้านาย ได้แก่ พระสงฆ์ ทาสและข้า แต่ได้มีดารจัดระบบไพร่ควบคุมกำลังคนผ่านระบบกรมกองกล่าวคือ ทุกกรมกองจะเป็นหน่วยที่ ทำหน้าที่ควบคุมกำลังคนและมีโครงสร้างคล้ายคลึงกัน ประกอบด้วยข้าราชการอย่างน้อย ๓ ตำแหน่ง ได้แก่ 

๑. เจ้ากรม เป็นหัวหน้าสูงสุดของกรมอื่น ๆ 

๒. ปลัดกรม เป็นผู้ช่วยเจ้ากรม 

๓. สมุห์บัญชี ทำหน้าที่รักษาบัญชีไพร่พลที่ขึ้นสังกัดต่อกรม

ผลจากการปฏิรูป

ทำให้อยุธยาเป็นราชอาณาจักรที่มีระเบียบแบบแผน อำนาจการปกครองถูกรวมมาไว้ที่องค์ พระมหากษัตริย์ ซึ่งประทับอยู่ที่เมืองหลวง คือ พระนครศรีอยุธยา เป็นรูปแบบที่เรียกว่า "สมบรูณาญาสิทธิราชย์" สมบรูณ์แบบที่สุดในระบบที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

        

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ ถึงการเสียกรุงครั้งที่ ๑               (พ.ศ. ๒๐๓๑-๒๑๑๒)

๑. สภาพเหตุการณ์หลังปฏิรูปการปกครอง

     ๑) การเมืองการปกครอง

     หลังรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ การเมืองของอยุธยาดูจะสงบและปราศจากการแย่งชิงอำนาจอยู่ระยะหนึ่ง พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาทุกฉบับกล่าวตรงกันว่า ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ เป็นยุคที่มีความเจริญและปราศจากการทำสงครามทั้งภายในและภายนอก เป็นยุคที่มีการสร้างระเบียบแบบแผนภายในอาณาจักรหลายอย่าง เช่น การทำตำราพิชัยสงคราม เป็นต้น นอกจากนี้ยังทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดินพระองค์แรกที่กำหนดให้มีพิธีการฉลองวันการละเล่น ขึ้นในประเทศ ซึ่งในรัชสมัยของพระเจ้าปราสาททองก็ได้ทรงฟื้นฟูเรื่องนี้ใหม่อีกครั้ง       

    นอกจากนี้ ยังเป็นสมัยที่โปรตุเกสซึ่งเป็นชาวตะวันตกชาติแรก ที่เข้ามาใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เข้ามาขอเจริญสัมพันธ์ไมตรีทางการทูตจองไทยอีกด้วย  

     ๒) สังคมและเศรษฐกิจ

          การเข้ามาของโปรตุเกส มีความสำคัญ คือ 

         - ทำให้การค้าของอยุธยาทางฝั่งตะวันตกเพิ่มความสำคัญมากขึ้น 

         - การมีอาวุธแบบสมัยใหม่ ได้แก่ ปืนและกระสุนสินค้าโดยพวกโปรตุเกสได้นำมาถวาย และในภายหลังยังเข้ามาเป็นทหารอาสาและช่วยฝึกวิธีใช้อาวุธแบบตะวันตกอีกด้วย 

๒.  สมัยพระรัษฎาธิราช (พ.ศ. ๒๐๗๖-๒๐๗๗)

      พระรัษฎาธิราชเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔  ตามพงศาวดารระบุว่าทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุได้ ๕ พรรษา หลังปกครองบ้านเมืองได้เพียง ๕ เดือน ก็ถูกพระไชยราชา ซึ่งเป็นพระญาติห่าง ๆ ลอบปลงพระชนม์ หลังจากนั้นเป็นต้นมาการแย่งชิงราชสมบัติก็เกิดขึ้นเกือบทุกรัชกาล

๓. สมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. ๒๐๗๗-๒๐๘๙)

     สมัยนี้ถือได้ว่าอยุธยาประสบความสำเร็จในการขยายอำนาจไปทางเหนือ แต่ก็ประสบปัญหาในเมื่อ ท้าวศรีสุดาจันทร์ได้วางแผนปลงพระชนม์พระองค์และให้ขุนชินราช (ขุนวรวงศา) ขึ้นเป็นกษัตริย์

๔. สมัยขุนวรวงศา (พ.ศ. ๒๐๙๑-๒๐๙๑) 

     พระราชพงศาวดารกรุงเก่ากล่าวว่า ขุนวรวงศาปกครองอยู่เพียง ๔๒ วัน ก็ถูกพระเทียรราชากับขุนนางร่วมกันวางแผนปลงพระชนม์ แล้วขึ้นครองราชสมบัติแทน ทรงพระนามว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

๕. สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ. ๒๐๙๑-๒๑๑๑)

     สมัยนี้ปัญหาใหญ่สำคัญในรัชกาลนี้ คือ การเผชิญกับกษัตริย์พม่าในสมัยราชวงศ์ตองอู การขยายอำนาจของพม่าเกิดขึ้นเมื่อพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ แห่งราชวงศ์ตองอู สามารถผนวกรัฐล้านนา และมอญเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพม่าได้สำเร็จ และขยายเมืองหลวงมายังหงสาวดี ทำให้อาณาเขตพม่าอยู่ติดกับอาณาจักรอยุธยา และเป้าหมายของพม่าอยู่ที่เมืองท่าตะนาวศรี มะริด และทวาย 

     แม้ว่าในที่สุดพม่าจะยึดอยุธยา ได้สำเร็จแต่ประวัติศาสตร์ชาติไทย ต้องจารึกไว้ว่ามีวีรกษัตริย์ไทยพระองค์หนึ่ง คือ สมเด็จพระสุริโยทัย พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรรดิ ได้ทรงพลีพระชนม์เพื่อรักษาชาติบ้านเมืองไว้

        

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ

สภาพสังคมและเศรษฐกิจหลังการเสียกรุงครั้งที่ ๑

     ๑. เป็นระยะที่ราชอาณาจักรอยุธยาต้องประสบปัญหาต่าง ๆ มากมาย เช่น การสูญเสียกำลังคน เนื่องจากปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักก่อนการเสียกรุง นอกจากนี้การทำศึกสงครามกับ พม่าอย่างต่อเนื่องเป็นผลทำให้เขมรถือโอกาสยกทัพเข้ามาตามชายแดนและกวาดต้อนผู้คนไป

     ๒. ปัญหาเศรษฐกิจ การทำสงครามยืดเยื้อกับพม่าทำให้ละเลยเรื่องการเพาะปลูก ซึ่งเป็นพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่สำคัญ

     ๓. ปัญหาภัยธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ได้จารึกว่าในช่วง พ.ศ. ๒๑๑๔-๒๑๑๖ กรุงศรีอยุธยา ต้องประสบกับปัญหาความแห้งแล้ง พ.ศ. ๒๑๑๗ ต้องประสบกับปัญหาน้ำท่วม และใน พ.ศ. ๒๑๓๒ ราคาข้าวแพงขึ้น

                                                                                     

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ

         

สาเหตุ ที่ มีการ เปลี่ยนแปลง การเมือง การปกครองใน สมัย พระบาท สมเด็จ พระบรม ไตร โลกนาถ