การปกครองท้องถิ่นกับรัฐ

ผู้แต่ง

  • ปฐวี โชติอนันต์ Faculty of Political Science, Ubonratchatani University

คำสำคัญ:

รัฐ, ท้องถิ่น, การกระจายอำนาจ, คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

บทคัดย่อ

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อวิเคราะห์ การเข้าควบคุม แทรกแซง และการขยายอำนาจลงสู่การปกครองท้องถิ่นของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ภายใต้บริบทของรัฐไทยที่มีการกระจายอำนาจ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการกระจายอำนาจภายใต้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) พ.ศ.2557-พ.ศ.2562

งานวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่า ภายหลังการรัฐประหารใน พ.ศ.2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ทำให้การปกครองท้องถิ่นกลายเป็นรัฐราชการ แทรกแซงและควบคุมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการใช้ระบบบริหารและนโยบายใหม่เพื่อควบคุมผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิสภาท้องถิ่นผ่านสิ่งที่เรียกว่า นโยบายประชารัฐและการบริหารส่วนภูมิภาค

คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้รวมศูนย์อำนาจและควบคุมท้องถิ่นโดยการใช้นโยบายสวัสดิการต่างๆ เช่น นโยบายประชารัฐ โครงการประชารักสามัคคี และโครงการการพัฒนาหมู่บ้านเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น. งานวิจัยชิ้นนี้พบว่า รัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติในนโยบายต่างๆ เหล่านี้โดยไม่ผ่านองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อทำให้ประชาชนในท้องถิ่นต้องพึ่งอำนาจและทรัพยากรของคณะรัฐบาลรักษาความสงบแห่งชาติ

Downloads

Download data is not yet available.

References

ภาษาไทย
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2562). กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและข้อหารือเกี่ยวกับการปฎิบัติงานตามกฎหมาย ประจำปี 2562 กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น. สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2019/12/2282_6119.pdf
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2560). โครงการตลาดประชารัฐท้องถิ่นสุขใจ. สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/upload/document/type2/2017/11/19043_1_1510030228415.pdf
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2561). โครงการประชารัฐสร้างสุข: พัฒนาวัดด้วยแนวทาง5ส.ที่ทุกคนมีส่วนร่วม. สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/upload/document/type2/2019/1/21095_1_1547450189081.pdf?time=1547459905598
คณะกรรมาธิการการปกครองท้องถิ่น สภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (ม.ม.ป.). รายงานพิจารณาการศึกษาระบบบริหารงาน ระบบบริหารงบประมาณ ระบบริหารงานส่วนบุคคลท้องถิ่นและระบบการจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้นจาก https://www.senate.go.th/document/Ext10281/10281492_0002.PDF
คณะกรรมาธิการการปกครองท้องถิ่น. (ม.ม.ป.). กำหนดการประชุม. สืบค้นจาก https://www.senate.go.th/view/25/%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1/TH-TH?cid=986&ctype=1
ชัชฎา กำลังแพทย์. (2561). พลวัตและการปรับตัวของรัฐราชการไทย: กรณีศึกษาเปรียบเทียบรัฐราชการสมัยสฤษดิ์และรัฐราชการสมัย คสช. (วิทยานิพนธ์มหาบัณทิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, การปกครอง. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฐกร วิทิตานนท์. (2561). การปกครองท้องถิ่นไทยภายใต้ระบอบ คสช. ใน ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (บ.ก.), ตุลาการธิปไตยและการรัฐประหาร, (น. 269-320). กทม บริษัทเฟิร์สออฟเซท (1993) จำกัด.
ธนบรรณ อู่ทองมาก (2560). รัฐราชการไทยภายหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2557. (วิทยานิพนธ์มหาบัณทิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะรัฐศาสตร์, การปกครอง. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนบัตร ศรีสวัสดิ์. (2563). ความสาเร็จในการบริหารโครงการเพื่อยกระดับศักยภาพหมู่บ้านตามนโยบายประชารัฐ, วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 7(1), 248-260.
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2548). รัฐศาสตร์ที่ยังมีลมหายใจ : แนวคิดประชาธิปไตย, การเมืองไทย และแผ่นดินแม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พิราบ.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2546). บทบาทอำนาจหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และการ
ปกครองท้องที่. รายงานวิจัยเสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
นักเรียนกฎหมาย. (2563). รวมกฎหมายใช้สอบ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 2563 (225 อัตรา). สืบค้นจาก https://www.นักเรียนกฎหมาย.com/2020/10/2563-225.html
บรรเจิด สิงคะเนติ, ดารุณี พุ่มแก้ว. (2560). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในมิติปัญหาทางการคลัง. วารสารรัฐประศาสนศาสตร, 15(2), 3-24.
ปฐวี โชติอนันต์. (2561). เหตุผล ความสำเร็จ และยุทธวิธีการผนวกเมืองอุบลราชธานีให้กลายเป็นจังหวัดหนึ่งของสยาม (ในช่วง 2425-2476). วารสารการบริหารการปกคคอง, 7(2), 214-355.
ประชาชาติธุรกิจ. (2561). ประชารัฐ-ไทยนิยม เหลี่ยมคูการเมือง “บิ๊กตู่”. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/politics/news-112060 2561
ประชาไทย. ปรี๊ดดด!: 4 ขวบ กปปส. 6 เรื่องปฏิรูปก่อนเลือกตั้งถึงไหนแล้ว. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2017/11/74369 2560
วุฒิสาร ตันไชย. (2547). การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น : ความก้าวหน้าหลังรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์. (2562). พลวัตการกระจายอำนาจในประเทศไทย จาก พ.ศ. 2535-2561. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สยามรัฐ. (2559). “ไทยเบฟ” สานพลัง ขับเคลื่อนประชารัฐ. สืบค้นจาก https://siamrath.co.th/n/3917
สำนักข่าวอิศรา. “กำนันสุเทพ” เรียกร้อง “3 ผบ.เหล่าทัพ” นำทหารป้องผู้ชุมนุม”. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/isranews-news/26838-ss_26838.html
หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ. “ม็อบนกหวีด” กับ 4 เรื่องหลังฉาก กปปส. สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-41804763 2560
อรทัย ก๊กพล. (2555). การบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2553. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
อรทัย ก๊กพล. (2546). Best practices ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2557). แปรถิ่น เปลี่ยนฐาน : สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานของประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Ilaw. (2559). มาตรา 44 กับอำนาจถอดถอน แต่งตั้ง โยกย้าย ระงับการทำงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ. สืบค้นจาก https://www.ilaw.or.th/node/4254
iLaw. (2559). สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน. สืบค้นจาก https://ilaw.or.th/node/4212
Ilaw. (2562). เลือกตั้ง 62: เปิดรายชื่อ 13 นักการเมืองท้องถิ่นพ้นตรวจสอบทุจริตหันหนุนพลังประชารัฐ. สืบค้นจาก https://www.ilaw.or.th/node/5116.
สัมภาษณ์
ธเนศวร์ เจริญเมือง. ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการปกครองท้องถิ่น. สัมภาษณ์, 8 ธันวาคม 2563
อนวัช โชควรกุล. นายกเทศมนตรี อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. สัมภาษณ์ 7 มกราคม 2564
ภาษาอังกฤษ
Cladio Sopranzetti. (2016). Thailand’s Relapse: The Implications of the May 2014 Coup. The Journal of Asian Studies, 75(2), 229-361.
Cladio Sopranzetti. (2017). The tightening authoritarian grip on Thailand. Current History, 116 (791), 230–234.
Francis Fukuyama . (2006). The end of history and the last man. New York : The Free Press.
Fred W. Riggs. (1966). Thailand: the modernization of a bureaucratic polity. Honolulu : East-West Centre.
Kasian Tejapira. (2016). The Irony of Democratization and the Decline of Royal Hegemony in Thailand. Southeast Asian Studies, 5(2), 219-237.
Natasha M.Ezrow and Erica Frantz. (2011). Dictators and Dictatorships: Understanding Authoritarian Regimes and Their Leaders. New York: The continuum International Publishing Group.
Samuel P.Huntington . (1993). The third wave : democratization in the late twentieth century. London: University of Oklahoma Press.
Tanet Charoenmuang. (2006). Thailand : A late decentralizing country. Chiang Mai: Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University.
World Bank. (2008). Decentralization in Client Countries: An Evaluation of World Bank Support, 1990-2007. Independent Evaluation Group, Washington, DC.

การปกครองท้องถิ่นกับรัฐ

How to Cite

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)