ความหมายของการปกครองท้องถิ่นไทย

��ǧ�� ���кص� (2539) ����ػ�Ǥ����Դ�ͧ�ѡ�Ԫҡ����йѡ����ͧ�������� �Ѻ��û���ͧ��ǹ��ͧ��������� �ӹ�����������¢ͧ��û���ͧ��ͧ��� ���ռ���������������ͤӹ������� ��ǹ�˭�����ѡ��÷���Ӥѭ����¤�֧�ѹ �е�ҧ����ӹǹ�����������´��ա���� �������ö�Ԩ�ó���ѧ���

����� �Է (Daniel Wit) �������� ��û���ͧ��ͧ��� ���¶֧ ��û���ͧ����Ѱ��š�ҧ ����ӹҨ���͡�Ш���ӹҨ����˹��¡�û���ͧ��ͧ��� �Դ�͡������ЪҪ� 㹷�ͧ��������ӹҨ㹡�û���ͧ�����ѹ������ �����繺ҧ��ǹ㹡�ú����÷�ͧ��� �����ѡ��÷����� ����ӹҨ��û���ͧ�Ҩҡ��ЪҪ�㹷�ͧ������� �Ѱ��Ţͧ��ͧ��� ���������Ѱ��Ţͧ��ЪҪ� �»�ЪҪ�������ͻ�ЪҪ�

��������� ��. ��������� (William V. Holloway) (1951 : 101-103) �������ҡ�û���ͧ��ͧ��� ���¶֧ ͧ���÷�����ҳ�ࢵ��͹ �ջ�Ъҡõ����ѡ����˹���� ���ӹҨ��û���ͧ���ͧ �ա�ú����á�ä�ѧ�ͧ���ͧ �������ҷ�ͧ��蹷����Ҫԡ���Ѻ������͡��駨ҡ��ЪҪ�

⨹ �. ����� (John J. Clarke) (1957 : 87-89) �������� ��û���ͧ��ͧ��� ���¶֧ ˹��¡�� ����ͧ�����˹�ҷ���Ѻ�Դ�ͺ����Ǣ�ͧ�Ѻ�������ԡ�û�ЪҪ��ࢵ��鹷��˹�觾�鹷��� ��੾�� ���˹��¡�û���ͧ �ѧ����ǹ��Ѵ����������㹤������Ţͧ�Ѱ��š�ҧ

����� ��. �͹�ҡ� (Haris G. Montagu) (1984 : 574) �������� ��û���ͧ��ͧ��� ���¶֧ ��û���ͧ���˹��¡�û���ͧ��ͧ������ա�����͡�����������������͡�������˹�ҷ������� ��û���ͧ��ͧ��� ���ӹҨ����о���������Ѻ�Դ�ͺ��觵�����ö���������»��Ȩҡ ��äǺ����ͧ˹��� ��ú������Ҫ�����ǹ��ҧ���������Ҥ ���駹��˹��¡�û���ͧ��ͧ��� �ѧ��ͧ��������� ���ѧ�Ѻ��Ҵ����ӹҨ�٧�ش�ͧ����� �����������Ѱ��������������ҧ�

������ �. �Ѵ��� (Emile J. Sady) �������� ��û���ͧ��ͧ��� ���¶֧ ˹��¡�û���ͧ �ҧ������ͧ���������дѺ��Өҡ�Ѱ ��觡�͵���¡����� ������ӹҨ���ҧ��§�ͷ��зӡԨ��� 㹷�ͧ�������µ��ͧ �������ӹҨ�Ѵ������ ���˹�ҷ��ͧ˹��¡�û���ͧ��ͧ��� �ѧ������Ҩ���Ѻ������͡��������觵���·�ͧ��蹡��� (�ط�� ���ѭ�, 2523 : 4)

��зҹ ��ķ���֡�ҡ� �������� ��û���ͧ��ͧ������к���û���ͧ����繼� �׺���ͧ�Ҩҡ��á�Ш���ӹҨ�ҧ��û���ͧ �ͧ�Ѱ ����¹�¹����Դͧ���÷�˹�ҷ�� ����ͧ��ͧ����¤�㹷�ͧ��蹹�� � ͧ���ù��Ѵ�����ж١�Ǻ������Ѱ��� ����� �ӹҨ㹡�á�˹���º����ФǺ�������ա�û�Ժѵ������仵����º�¢ͧ���ͧ

�ط�� ���ѭ� �������� ��û���ͧ��ͧ��� ��� ��û���ͧ����Ѱ����ͺ�ӹҨ����ЪҪ� 㹷�ͧ���㴷�ͧ���˹�觨Ѵ��û���ͧ��д��Թ��� �ҧ���ҧ �´��Թ��áѹ�ͧ ���ͺӺѴ������ͧ��âͧ�� ��ú����çҹ�ͧ��ͧ����ա�èѴ��ͧ���������˹�ҷ�� ��觻�ЪҪ����͡��駢���ҷ����� ���ͺҧ��ǹ ��駹���դ����������㹡�ú����çҹ ���Ѱ��ŵ�ͧ�Ǻ��������Ըա�õ�ҧ � �������������� �л��Ȩҡ��äǺ��� �ͧ�Ѱ����������С�û���ͧ��ͧ�������觷���Ѱ������Դ��� (�ط�� ���ѭ-�, 2523 : 2)

��������� ��. ��ͺ�ѹ (William A. Robson) �������� ��û���ͧ��ͧ��� ���¶֧ ˹��¡�û���ͧ����Ѱ��Ѵ��駢�����������ӹҨ����ͧ���ͧ (Autonomy) ���Է�Ե�������� (Legal Rights) ��е�ͧ��ͧ��÷�����㹡�û���ͧ (Necessary Organization) ���ͻ�Ժѵ�˹�ҷ�����������������¢ͧ��û���ͧ��ͧ��蹹�� � (William A. Robson, 1953 : 574)

�ҡ�������ҧ � ��ҧ������ö��ػ��ѡ��û���ͧ��ͧ�����������Ӥѭ �ѧ��� (��ǧ�� ���кص� : 2539)

  1. ��û���ͧ�ͧ�����˹�� ��觪��������ҹ���Ҩ�դ���ᵡ��ҧ�ѹ㹴�ҹ������ԭ �ӹǹ��Ъҡ����͢�Ҵ�ͧ��鹷�� �� ˹��¡�û���ͧ��ǹ��ͧ��� �ͧ�¨Ѵ�繡�ا෾��ҹ�� �Ⱥ�� ͧ���ú�������ǹ�ѧ��Ѵ ͧ���ú����� ��ǹ�Ӻ� ������ͧ�ѷ�ҵ���˵ؼŴѧ�����

  2. ˹��¡�û���ͧ��ͧ��蹨е�ͧ���ӹҨ����� (Autonomy) 㹡�û�Ժѵ�˹�ҷ�� �������������� ����Ǥ�� �ӹҨ�ͧ˹��¡�û���ͧ��ͧ��蹨е�ͧ�բͺࢵ�ͤ�� ��������Դ����ª���͡�û�Ժѵ�˹�ҷ��ͧ˹��¡�û���ͧ��ͧ������ҧ���ԧ �ҡ���ӹҨ�ҡ�Թ�����բͺࢵ ˹��¡�û���ͧ��ͧ��蹹�� ��С�����Ҿ�� �Ѱ͸Ի���ͧ �繼����µ�ͤ�����蹤��ͧ�Ѱ��� �ӹҨ�ͧ��ͧ��蹹���բͺࢵ ���ᵡ��ҧ�ѹ�͡� ����ѡɳФ�����ԭ��Ф�������ö�ͧ��ЪҪ�㹷�ͧ��蹹�� ���Ӥѭ �����駹�º�¢ͧ�Ѱ���㹡�þԨ�óҡ�á�Ш���ӹҨ���˹��¡�û���ͧ ��ͧ����дѺ� �֧���������

  3. ˹��¡�û���ͧ��ͧ��蹨е�ͧ���Է�Ե�������� (Legal Rights) ���д��Թ��� ����ͧ���ͧ �Է�Ե�������������� 2 ������ ���

    1. ˹��¡�û���ͧ��ͧ������Է�Է��е�ҡ�������������º��ͺѧ�Ѻ��ҧ � �ͧͧ���û���ͧ��ͧ��� ���ͻ���ª��㹡�ú����õ��˹�ҷ����� ������ѧ�Ѻ��ЪҪ�㹷�ͧ��蹹�� � �� �Ⱥѭ�ѵ� ��ͺѧ�Ѻ �آ��Ժ�� �繵�

    2. �Է�Է������ѡ㹡�ô��Թ��ú����÷�ͧ��� ��� �ӹҨ㹡�á�˹�������ҳ ���ͺ����áԨ��õ���ӹҨ˹�ҷ��ͧ˹��¡�û���ͧ ��ͧ��蹹�� �

  4. ��ͧ��÷�����㹡�ú�������С�û���ͧ���ͧ ͧ��÷����繢ͧ��ͧ��� �Ѵ�����ͧ���� ��� ͧ���ý��º��������ͧ���ý��¹ԵԺѭ�ѵ� �� ��û���ͧ ��ͧ���Ẻ�Ⱥ�Ũ��դ����������繽��º����� �������Ⱥ���繽��¹ԵԺѭ�ѵ� �����Ẻ��ҹ�� ��͡�ا෾��ҹ�è��ռ������Ҫ��á�ا෾��ҹ���繽��º����� ��ҡ�ا෾��ҹ�è��繽��¹ԵԺѭ�ѵ� �繵�

    การพัฒนาชุมชน เป็นกลไกอันสำคัญที่กำหนดทิศทาง นโยบาย แนวทางและกระบวนการในการพัฒนา เพื่อนำไปสู่จุดมุ่งหมายเบื้องหน้า คือ ชุมชน(ประชาชน)ที่สุขสมบูรณ์

    การพัฒนาชุมชน เป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกันอย่างเป็นระบบ อันประกอบด้วย ปัจจัยภายใน ได้แก่ สภาพทั่วไปของปัญหา ความต้องการ กระบวนการแก้ไขปัญหา และผู้เกี่ยวข้องในระบบ และปัจจัยภายนอก อันได้แก่ กระแสโลกาภิวัตน์ และการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ

    การพัฒนาชุมชน เป็นการบริหารจัดการชุมชนที่มีกลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาทั้งองคาพยพ อันมีองค์ประกอบ ทั้งภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคเอกชน และประชาสังคม โดยท้องถิ่น เป็นองค์กรหลัก และประชาสังคมเป็นผู้รับประโยชน์ที่สุขสมบูรณ์

    การพัฒนาชุมชน จึงเป็นภาระหน้าที่ของคนทุกคนที่จะต้องร่วมกันคิด ร่วมกันทำ และร่วมกันรับผิดชอบเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์สุขร่วมกัน

    การพัฒนา หมายถึง ความเจริญก้าวหน้าโดยทั่ว ๆ ไป เช่น การพัฒนาชุมชน พัฒนาประเทศ คือการทำสิ่งเหล่านั้นให้ดีขึ้น เจริญขึ้น สนองความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ให้ได้ดียิ่งขึ้น หรืออาจกล่าวได้ว่า “การพัฒนา”เป็นกระบวนการของการเคลื่อนไหวจากสภาพที่ไม่น่าพอใจไปสู่สภาพที่น่าพอใจ การพัฒนาเป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่หยุดนิ่ง การพัฒนามีความสัมพันธ์โดยตรงกับความเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ การพัฒนา หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไว้แล้ว คือการทำให้ลักษณะเดิมเปลี่ยนไปโดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้ามาแทนที่นั้นจะดีกว่าลักษณะเก่า สภาพเก่า แต่โดยธรรมชาติแล้วการเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดปัญหาในตัวมันเอง เพียงแต่ว่าจะมีปัญหามาก หรือปัญหาน้อย ถ้าหากตีความหมายการพัฒนา จะสามารถตีความหมายได้ 2 นัย คือ 1. “การพัฒนา” ในความเข้าใจแบบสมัยใหม่ หมายถึงการทำให้เจริญในด้านวัตถุ รูปแบบ และในเชิงปริมาณ เช่น ถนนหนทาง ตึกรามบ้านช่อง ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจ เป็นต้น 2. “การพัฒนา” ในแง่ของพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนทั้งในด้านร่างกายและจิตใจ โดยเน้นในด้านคุณภาพชีวิตและหลักของความถูกต้องพอดี ซึ่งให้ผลประโยชน์สูงสุด ความกลมกลืน และความเกื้อกูลแก่สรรพชีวิตโดยไม่เบียดเบียน ทำลายธรรมชาติและสภาพแวดล้อม

    ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุ่ม/องค์กรชุมชน และประชาชนที่อาศัยอยู่ในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐานที่สุด คือ หมู่บ้านหรือชุมชนในรูปแบบอื่น ๆ ที่มารวมกันเพื่อแก้ไขปัญหาเดียวกัน เช่น ชุมชนลุ่มน้ำ ชุมชนวัฒนธรรม เป็นต้น

    ชุมชนท้องถิ่น หมายถึง ถิ่นฐานอันเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ที่มีความเกี่ยวพันกับสภาพทางภูมิศาสตร์และระบบความสัมพันธ์ในสังคมซึ่งอิงอาศัยความเอื้ออาทร ความผูกพันธ์และการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันเป็นเครื่องดำเนินการเพื่อให้มีชีวิตที่ดีร่วมกัน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ชุมชนท้องถิ่น หมายถึง การรวมกันของกลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันทั้งความสัมพันธ์ใน เชิงพื้นที่และความสัมพันธ์ทางสังคม เป็นหน่วยพื้นฐานของการพึ่งพาและการจัดการตนเอง มีการเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมขบวนการขับเคลื่อนทางสังคม และหน่วยจิตวิทยาวัฒนธรรมอันเป็นคุณค่าที่บ่งบอกถึงความเป็นตัวตน(Indentity) ของชุมชนโดยเกี่ยวข้องกับอุดมการณ์ สิทธิ และอำนาจในการจัดการ

    การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จึงเป็นกระบวนการดำเนินงานที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของชุมชนท้องถิ่นในทางที่ดีขึ้น เจริญรุ่งเรืองขึ้น ในทุก ๆด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสามารถจัดการกับภาวะการณ์ของกระแสโลกาภิวัตน์เพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ (self-reliance) หรือช่วยตนเองได้ (relf-help)ในการคิดตัดสินใจและดำเนินการแก้ไขปัญหา ตลอดจนตอบสนองความต้องการของตนเองและส่วนรวม

    ดังนั้น ชุมชนท้องถิ่นจะพัฒนาได้หรือไม่ และดำเนินไปในทิศทาง จึงต้องมีองค์ประกอบของแนวคิดพื้นฐานการพัฒนาชุมชน หลักการพัฒนาชุมชน และการดำเนินงานพัฒนาชุมชน รวมทั้งการปรับตัวให้ทันต่อภาวการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม

    แนวความคิดพื้นฐานในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น สิ่งสําคัญของการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นที่จะสามารถทํางานกับประชาชนได้อย่างถูกต้อง และทําให้งานมีประสิทธิภาพ อันประกอบด้วยแนวคิดพื้นฐาน ในการพัฒนาชุมชนในระดับการปฏิบัติ มีดังนี้ 1. การมีส่วนร่วมของประชาชน (People Participation) เป็นหัวใจของงานพัฒนาชุมชน โดยยึดหลักของการมีส่วนร่วมที่ว่า ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจวางแผนงาน การปฏิบัติการและร่วมบํารุงรักษา

    2. การช่วยเหลือตนเอง (Aided Self - Help) เป็นแนวทางในการพัฒนาที่ยึดเป็นหลักการสําคัญประการหนึ่ง คือ ต้องพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นพึ่งตนเองได้มากขึ้น โดยมีรัฐคอยให้การช่วยเหลือ สนับสนุน ในส่วนที่เกินขีดความสามารถของประชาชน ตามโอกาสและหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม 3. ความคิดริเริ่มของประชาชน (Initiative) ในการทํางานกับประชาชนต้องยึดหลักการที่ว่า ความคิดริเริ่มต้องมาจากประชาชนในชุมชนท้องถิ่น ซึ่งต้องใช้วิถีแห่งประชาธิปไตย และหาโอกาสกระตุ้นให้การศึกษา ให้ประชาชนเกิดความคิด และแสดงออกซึ่งความคิดเห็นอันเป็น ประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น หมู่บ้าน ตําบล 4. ความต้องการของชุมชน (Felt - Needs) การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นต้องให้ประชาชน และองค์กรประชาชนคิดและตัดสินใจบนพื้นฐานความต้องการของท้องถิ่นเอง เพื่อให้เกิดความคิดที่ว่างานเป็นของประชาชน และจะช่วยกันดูแลรักษาต่อไป 5. การศึกษาภาคชีวิต (Life - Long Education) การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นถือเป็นกระบวนการให้การศึกษาภาคชีวิตแก่ประชาชน เพื่อนําไปสู่การพัฒนาคน พัฒนาท้องถิ่น การให้การศึกษา ต้องให้การศึกษาอย่างต่อเนื่องกันไป ตราบเท่าที่บุคคลยังดํารงชีวิตอยู่ในชุมชน

    หลักการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

    เป็นความจริงแห่งชีวิต ของการพัฒนาชุมชนซึ่งยึดถือเป็นสรณะ คือ ความเชื่อมั่นและครัทธาในมนุษยชาติ ว่ามนุษย์ทุกชีวิตมีคุณค่า และมีความหมาย มีศักดิ์ศรี และมีศักยภาพ

    กล่าวคือ มีฐานะแห่งความเป็นมนุษย์ที่ไม่ควรจะได้รับการเหยียบย่ำ ดูหมิ่น เหยียดหยามจากเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเอง มีความสามารถจากการเป็นมนุษย์ที่ควรได้รับการยอมรับและทำให้ปรากฎเป็นจริงในทางปฏิบัติจากเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเอง

    ดังนั้น การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นที่แท้จริง คือ หลักประชาชน หมายถึง

    1. เริ่มต้นที่ประชาชน โดยยืนจุดเดียวกับประชาชน มองโลก มองชีวิต มองปัญหา จาก

    ทัศนะของประชาชน เพื่อให้เข้าใจปัญหา ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อให้เข้าถึงชีวิต จิตใจ ของประชาชน

    2. ทำงานร่วมกับประชาชน โดยการคำนึงถึงการที่จำทำให้ประชาชนเข้าใจปัญหาของ

    ตนเองและของท้องถิ่น และมีกำลังใจลุกขึ้นต่อสู้กับปัญหา ช่วยกันคิด ช่วยกันแก้ไขปัญหานั้น ย่อมมีหนทางที่จะกระทำได้โดยไม่ยากหากเข้าใจปัญหาและเข้าถึงจิตในของประชาชน

    3. ยึดประชาชนเป็นพระเอก โดยประชาชนต้องเป็นผู้กระทำการพัฒนาด้วยตนเอง

    ไม่ใช่เป็นผู้ถูกกระทำ หรือเป็นฝ่ายรองรับข้างเดียว เพราะผลของการกระทำการพัฒนานั้น ตกอยู่ที่ประชาชนโดยตรง ท้องถิ่นโดยตรง ประชาชนเป็นผู้รับโชค หรือ เคราะห์จากการพัฒนา นั้น

    วัตถุประสงค์ในการพัฒนาชุมชน จึงมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 2 ประการ คือ

    1. เพื่อทำให้มนุษย์เข้าถึงศักยภาพสูงสุดที่ธรรมชาติให้มนุษย์บรรลุถึงขีด

    ความสามารถสูงสุดที่พึงมี

    2. เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของมนุษย์ให้ผาสุก ให้สุขสมบูรณ์

    เป้าหมายการพัฒนาชุมชน จึงอยู่ที่ การทำให้ชุมชน(ประชาชน) สุขสมบูรณ์ การทำให้

    ประชาชนพึ่งตนเอง ช่วยตนเองได้ในการแก้ไขปัญหาส่วนตัว และแก้ไขปัญหาส่วนรวมได้ รวมทั้งในการยังชีพตนเองหรือการมีงานทำ และยังประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นได้

    หลักการดําเนินงานพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จากแนวคิดพื้นฐาน หลักการพัฒนาได้นํามาใช้เป็นหลักในการดําเนินงานพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ดังต่อไปนี้ 1. ยึดหลักความมีศักดิ์ศรี และศักยภาพของประชาชน โดยการเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นใช้ศักยภาพที่มีอยู่ให้มากที่สุด และต้องเชื่อมั่นว่าประชาชนนั้นมีศักยภาพที่จะใช้ความรู้ ความสามารถที่จะปรับปรุงพัฒนาตนเองได้ จึงต้องให้โอกาสประชาชนในการคิด วางแผน เพื่อแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่นด้วยตัวของเขาเอง 2. ยึดหลักการพึ่งตนเองของประชาชน ยึดมั่นเป็นหลักการสําคัญว่าต้องสนับสนุนให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ โดยการสร้างพลังชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ส่วนรัฐบาลจะช่วยเหลือ สนับสนุนอยู่เบื้องหลัง และช่วยเหลือในส่วนที่เกินขีดความสามารถของประชาชน 3. ยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนในชุมชนร่วมคิด ตัดสินใจ วางแผน ปฏิบัติตามแผน และติดตามประเมินผลในกิจกรรม หรือโครงการใด ๆ ที่จะทําในชุมชนท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการดําเนินงาน อันเป็นการปลูกฝังจิตสํานึกในเรื่องความเป็นเจ้าของโครงการ หรือกิจกรรม 4. ยึดหลักประชาธิปไตย ในการทํางานพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จะต้องเริ่มด้วยการพูดคุย ประชุม ปรึกษาหารือร่วมกัน คิดร่วมกัน ตัดสินใจ และทําร่วมกัน รวมถึงรับผิดชอบร่วมกัน ภายใต้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามวิถีทางแห่งประชาธิปไตย

    ปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จากลำดับขั้นของกระบวนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ด้วยแนวคิดหลักการพื้นฐานการพัฒนา หลักการพัฒนาชุมชน และการดำเนินงานพัฒนาชุมชนของหลาย ๆ ชุมชนท้องถิ่นจากอดีต ถึงปัจจุบัน ทำให้หลาย ๆ ชุมชนเกิดการพัฒนาทั้งที่เกิดจากชุมชนเอง และความร่วมมือจากภาครัฐ ทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง และประชาชนในชุมชนท้องถิ่นอยู่ดีมีสุข มีความมั่นคงในชีวิต

    ในขณะเดียวกัน ในบางชุมชนท้องถิ่นกลับต้องพบกับปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ทั้งนี้ ด้วยมูลเหตุประการต่าง ๆ ดังนี้

    1. บริบทของชุมชนเมือง หรือกึ่งเมือง อันมีความหลากหลายของระบบทางสังคมหรือ

    พหุสังคม ทำให้กระบวนการการพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า ซึ่งแตกต่างจากระบบสังคมที่มีความเป็นเอกภาพที่สามารถพัฒนาไปได้อย่างรวดเร็ว

    2. วัฒนธรรมประชาธิปไตยที่เบ่งบาน ประกอบกับสื่อสารสนเทศที่ก้าวล้ำทำให้

    ประชาชนเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างเท่าทันกัน กลับก่อให้เกิดความแตกแยกขึ้นในสังคม เช่น เสื้อเหลือง เสื้อแดง หรือหน้ากากขาว ซึ่งส่งผลต่อกระบวนการการพัฒนาในทุกระดับ รวมทั้งในระดับท้องถิ่น

    3. ขาดอิสระเชิงอำนาจระหว่างราชการส่วนกลางกับท้องถิ่น อันผิดเพี้ยนไปจาก

    หลักการกระจายอำนาจ ที่จะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการบริหารราชการท้องถิ่นเอง

    4. ขาดกระบวนการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ในกระบวนการร่วมคิด ร่วม

    ทำ และร่วมกันรับผิดชอบ

    ดังนั้น ท่ามกลางกระแสสังคมโลกเปลี่ยนแปลงเร็ว เพราะความเจริญก้าว หน้าทาง

    เทคโนโลยี สภาพสังคมไทยก็ปรับตัวและเปลี่ยนแปลงเร็วตามไปด้วย กระบวนการการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ควรที่จะปรับตัวให้ทันยุค ทันแหตุการณ์และเปิดโลกทรรศน์ ให้กว้างขึ้นในประเด็นที่สำคัญ ดังนี้

    ๑.๑ ผู้จัดการชุมชนหรือสังคม หมายถึง ภาคการเมืองการปกครองซึ่งเป็นผู้นำสังคม ภาคราชการ องค์กรต่าง ๆ จำต้องปรับเปลี่ยนวิธีคิด กล่าวคือ

    ภาคการเมืองการปกครอง ต้องคิดในเชิงสร้างสรรค์ พัฒนาคุณภาพ

    ขีดความสามารถ มีความจริงใจ ซื่อสัตย์สุจริต โดยเอาผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ดูประชาชนให้ออก และรู้จักรับฟังประชาชน

    ภาคราชการ จะต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างจากแนวตั้ง(Vertical) มาเป็นโครง

    สร้างแบบแนวนอนหรือแนวราบ (Horizontal) และจะต้องเปลี่ยนจากการสั่งการ คิดแทนประชาชน มาเป็นการส่งเสริม สนับสนุน และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ให้โอกาสประชาชนได้เรียนรู้และพัฒนาตนเอง

    ๑.๒ บริบทอันหลากหลาย เช่น ระบบเศรษฐกิจ การศึกษา การสาธารณสุข และสวัสดิการสังคม เป็นต้น นอกจากต้องมีความเสมอภาคทั่ว ถึง และเท่าเทียม ในเรื่องของโอกาสแล้ว ต้องมีคุณภาพด้วย

    ระบบเศรษฐกิจ ควรเป็นเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง บนรากฐานศักยภาพแต่ละชุมชน ผลิตเพื่อบริโภคเองเป็นหลัก เหลือจึงจำหน่ายจ่ายแจก

    การศึกษา เน้นคุณภาพ คิดเป็น มีทักษะปฏิบัติได้จริง ทั้งทักษะอาชีพและทักษะ

    ชีวิต มีจิตวิญญาณของการเรียนรู้และพัฒนาตนเองตลอดชีวิต และมีความเสมอภาค มีความเท่าเทียมในโอกาส

    การสาธารณสุข ที่เน้นการป้องกันและสร้างสุขภาพ นำการซ่อมสุขภาพ มีการ

    บริการที่สะดวก รวดเร็ว และมีคุณภาพ

    สวัสดิการสังคม มีการกระจายรูปแบบให้หลากหลายมากขึ้น ไม่ใช่เพียงเรื่องของ

    การเจ็บป่วย เรื่องการประกันชีวิตการประกันภัย เรื่องการฌาปนกิจ หรืออื่นใดที่มีอยู่ในสังคมไทยขณะนี้เท่านั้น และส่งเสริม สนับสนุน ให้ชุมชนท้องถิ่นจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนด้วยกันเอง

    ๑.๓ ประชาชนและชุมชน เวลานี้ประชาชนและชุมชนก็ต้องปรับตัวเองด้วย และเป็นโอกาสที่จะปรับตัวเองได้ เพราะทุกฝ่ายเริ่มเห็นความสำคัญและพุ่งเป้าการพัฒนาไปที่ประชาชนและชุมชน

    ๑.๓.๑ การเรียนรู้ ประชาชนและชุมชนต้องเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเอง คือ จะต้องเพิ่มทักษะและความสามารถให้ตนเอง โดยเฉพาะทักษะและความสามารถในอาชีพ

    ๑.๓.๒ ความคิดพึ่งตนเองเป็นหลัก

    ๑.๓.๓ เป้าหมายชีวิตหรือเป้าหมายชุมชน การมีสุขภาพที่ดีเป็นเป้าหมายสูงสุด คือ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนและชุมชนต้องปรับเปลี่ยนเป้าหมายชีวิตให้ถูกทิศทาง

    ๑.๓.๔ การจัดการ จะต้องมองตนเอง (ทั้งประชาชนและชุมชน) ในเชิง บูรณาการทั้งหมด (Holistic) และมองให้ครบถ้วน มนุษย์มีความสัมพันธ์ทั้งร่างกายและจิตใจ อวัยวะทุกส่วนถ้าเกิดเหตุที่ใดก็จะกระทบทั้งหมด และมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของสังคม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันทั้งระบบจะแยกส่วนใดส่วนหนึ่งไม่ได้ เกิดเหตุที่ส่วนใดก็กระทบกระเทือนกันทั้งระบบ การจัดการจึงต้องจัดการให้ดีทุกภาคส่วนและทุกระบบ และประชาชนหรือชุมชนจะต้องจัดการด้วยตนเองเป็นหลัก

    สรุป การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จะเดินหน้าหรือก้าวไปในทิศทางใด จะต้องมี

    องค์ประกอบที่สำคัญ ด้วยแนวคิดพื้นฐานการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น หลักการพัฒนา กระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนา โดยมีกระแสการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ สิ่งแวดล้อม และรวมทั้งภาวะการณ์เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ที่เกิดการพลวัตตลอดเวลา เป็นตัวแปร