พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย ม.3 สรุป

พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ไทย
สมัยประชาธิปไตย

พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตรยิ ์ทม่ี ตี ่อราษฎรและประเทศชาติ

ทั้งในเร่ืองของความอย่ดู ีกินดีของราษฎร การเป็นศูนยร์ วมจติ ใจ ทาให้ประเทศ
สามารถดารงอยไู่ ด้อยา่ งมั่นคงและปลอดภัย

การสร้างความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ

ในลกั ษณะทเี่ ปน็ ไปเพอื่ ผลประโยชน์ของประเทศชาตเิ ป็นสาคญั โดย
พยายามปรับให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ทเี่ ปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ

การมีทรพั ยากรธรรมชาตทิ ัง้ ทางบกและทางทะเล

ท้ังปา่ ไม้ แร่ธาตุ แกส๊ ธรรมชาติ สัตว์น้า รวมถงึ สภาพภูมศิ าสตรท์ ่เี หมาะแก่
การเพาะปลูกขา้ วสาหรับเลย้ี งชีพคนไทยท่ัวประเทศ

การมีแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

ทาให้การพัฒนาประเทศในดา้ นเศรษฐกิจและสงั คมดาเนนิ ไป
อยา่ งมรี ะบบ สง่ ผลให้การศกึ ษา สาธารณสขุ การคมนาคม และอ่ืนๆ
ขยายตวั

การเมอื งการปกครองภายใตก้ ารชีน้ าของคณะราษฎร

ส่งผลให้เกดิ การเปล่ียนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
มาเป็นระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข ภายใต้
รฐั ธรรมนญู ทเี่ ป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ

1. จะตอ้ งรกั ษาความเป็นเอกราชในทางการเมืองในทางศาล
ในทางเศรษฐกจิ ของประเทศใหม้ น่ั คง

2.จะตอ้ งรักษาความปลอดภยั ในประเทศ ใหก้ ารประทุษรา้ ย
หลกั 6 ต่อกนั ลดลงใหม้ าก
ประการ 3. จะตอ้ งบารุงความสขุ ของราษฎรในทางเศรษฐกจิ จะวางโครงการ
ของคณะ เศรษฐกจิ แหง่ ชาติ ไมป่ ล่อยใหร้ าษฎรอดอยาก
ราษฎร

4. จะตอ้ งใหร้ าษฎรมสี ทิ ธิเสมอภาคกนั

5.จะตอ้ งให้ราษฎรมีเสรีภาพ มคี วามเปน็ อสิ รภาพ โดยไม่ขดั ตอ่ หลกั
4 ประการข้างต้น
6.จะต้องให้การศกึ ษาอยา่ งเต็มทแ่ี ก่ราษฎร

การเมอื งการปกครองภายใตก้ ารรฐั ประหาร

การเมืองการปกครองภายใต้กระแสเรยี กรอ้ งความเป็นประชาธปิ ไตย

เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516

เกิดขนึ้ หลังจากจอมพลถนอม กติ ติขจร ใชก้ าลงั ทหารยึดอานาจตนเอง
ทาให้เกดิ กระแสตอ่ ตา้ น นาไปสูเ่ หตุการณ์ 14 ตุลา สิน้ สุดลงเมอ่ื จอมพลถนอม
จอมพลประภาส และพันเอกณรงค์ เดินทางออกนอกประเทศ

เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519

เกิดขนึ้ หลังจากจอมพลถนอม กติ ติขจร เดินทางเข้ามาในประเทศไทยอกี
ทาให้เกดิ การชมุ นมุ ประทว้ งของนิสติ นักศึกษา ทาให้เกดิ การสลายการชมุ นมุ

เหตุการณพ์ ฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535

มีการชมุ นุมประทว้ งการข้ึนดารงตาแหนง่ นายกรฐั มนตรขี องพลเอกสจุ นิ ดา
คราประยูร รัฐบาลใชก้ าลงั ปราบปรามผู้ชุมนุมอย่างรนุ แรง และเหตุการณ์สน้ิ สุด
ลง เมอื่ พลเอกสุจินดา ลาออกจากตาแหน่งนายกรฐั มนตรี

เศรษฐกจิ ไทยแบบทนุ นิยม

ในสมยั รัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดด้ าเนินนโยบายเศรษฐกจิ
แบบทุนนิยม และได้เน้นให้ประชาชนสนบั สนนุ งานของคนไทย โดยใชข้ องที่
ผลิตในประเทศไทย

โปสเตอรร์ ณรงคใ์ หป้ ระชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ของรฐั บาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม

เศรษฐกิจไทยภายใต้แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

รฐั บาลได้ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหง่ ชาติฉบับแรก ในพ.ศ. 2504
วัตถปุ ระสงคท์ ส่ี าคญั คอื การยกมาตรฐานการครองชพี ของประชาชนให้ดขี น้ึ โดย
ทุกๆ 5 ปีจะมีการประกาศแผนฉบบั ตอ่ ๆ มาจนถึงปัจจบุ ัน

ลักษณะสงั คมสมยั ประชาธิปไตย

มีอาชีพหลากหลายมากข้ึน ค่านิยมของคนในสังคม

เปน็ สงั คมเมอื งมากขน้ึ มีเทคโนโลยีการสอ่ื สาร
ท่ีเจรญิ กา้ วหนา้

เกดิ ปัญหาสงั คมมากข้ึน

ความสมั พันธส์ มัยประชาธปิ ไตย

ความสมั พันธ์ ความสัมพนั ธ์
สมัยกอ่ น สมัย
สงครามโลก
ครั้งท่ี 2 สงครามโลก
ครัง้ ที่ 2

ความสมั พันธ์ ความสัมพนั ธ์
สมัยสงคราม ภายหลงั
สงครามเย็น
เยน็

บทบาทไทยในเวทีโลก

• พ.ศ. 2489 เขา้ เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
• พ.ศ. 2493 รว่ มรบในสงครามเกาหลี
• พ.ศ. 2498 เป็นสมาชกิ ผรู้ ่วมก่อตง้ั องคก์ ารซโี ต
• พ.ศ. 2504 ร่วมจัดตั้งสมาคมอาสา
• พ.ศ. 2537 เข้าเปน็ สมาชิกองคก์ ารการคา้ โลก

ไทยกับการเขา้ รว่ มสงครามโลกครงั้ ที่ 2

พฒั นาการทีน่ าไปสู่
การเขา้ ร่วมสงคราม

พฒั นาการการ
เขา้ รว่ มสงคราม

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวอานันทมหิดล

พระราชประวัติ
ทรงเปน็ พระราชโอรสพระองค์แรกของ

สมเดจ็ ฯเจา้ ฟ้ามหิดลอดุลเดช เสด็จขน้ึ ครอง
ราชสมบตั ิเป็นพระมหากษัตรยิ ์พระองค์ที่ 8
ในราชวงศจ์ ักรี

พระราชกรณียกิจ
• เสดจ็ เยี่ยมประชาชนชาวไทย
• ทรงเปิดโรงพยาบาลอานันทมหิดล
• ทรงตรวจพลสวนสนามของกองทพั พันธมติ ร

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวภมู ิพลอดุลยเดช

พระราชประวัติ
ทรงเปน็ พระอนชุ าธริ าชในรชั กาลท่ี 8

เสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์สมบตั เิ ป็นพระมหากษตั ริย์
พระองค์ท่ี 9 ในราชวงศจ์ ักรี

พระราชกรณียกิจ
• โครงการทาฝนเทยี ม
• โครงการแก้มลงิ
• กงั หนั น้าชัยพัฒนา
• โครงการเขอื่ นป่าสกั ชลสิทธิ์
• ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
• ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาอันเนอื่ งมาจาก
พระราชดาริ

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

  การเมืองการปกครองของแต่ละรัฐย่อมต้องมีการปรับเปลี่ยน ปฏิรูปไปตามบริบทของสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก และการเรียกร้องจากกลุ่มบุคคลในรัฐ เพื่อให้รัฐนั้น ๆ สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและเจริญรุ่งเรือง

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

ส 4.1 ม.3/1 วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์

ส 4.1 ม.3/2 ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ที่ตนสนใจ

ส 4.3 ม.3/1 วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ในด้านต่าง ๆ

ส 4.3 ม.3/2 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์

ส 4.3 ม.3/4 วิเคราะห์บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. จากเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองหลัง พ.ศ. 2475 ตามที่กำหนดสามารถอธิบายสาเหตุของแต่ละเหตุการณ์ได้อย่างถูกต้องและครอบคลุมประเด็นสำคัญ

2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ผลกระทบของเหตุการณ์ทางการเมืองสมัยประชาธิปไตยแต่ละเหตุการณ์ตามที่กำหนดได้อย่างมีเหตุผล

3. นักเรียนสามารถนำเสนอแนวทางการแก้ไขสาเหตุของปัญหาทางการเมืองไทยได้อย่างเหมาะสม

4. จากเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองหลัง พ.ศ. 2475 ตามที่กำหนดนักเรียนสามารถสะท้อนความสำคัญของแต่ละเหตุการณ์ที่มีต่อพัฒนาการของสังคมไทยได้อย่างมีเหตุผล

การวัดผลและประเมินผล

  สังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรม