วิจัย ถ่านอัดแท่งจาก ผักตบชวา

ชื่อเรื่อง

การศึกษาการทำเชื้อเพลิงอัดแท่งแบบเพลเลทจากวัชพืชบางชนิด

ประเภทเอกสาร

หนังสือ/เอกสาร

หน่วยงานจัดพิมพ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวน

หมวดหลัก

P06-พลังงานหมุนเวียน

ดรรชนี-ไทย

หญ้าฟาง;ไมยราบ;โคกกระสุน;ผักตบชวา;เชื้อเพลิงอัดแท่ง;วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร;ประสิทธิภาพ;คุณภาพ

บทคัดย่อ

เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีวัชพืชและเศษวัสดุเกษตรเหลือทิ้งจำนวนมาก หากนำสิ่งเหล่านี้มาอัดเป็นแท่งเชื้อเพลิงใช้ในครัวเรือนและอุตสาหกรรมก็จะช่วงทดแทนน้ำมันปิโตเลียมเชื้อเพลิงหมัก ซึ่งนับวันจะมีราคาสูงขึ้นเรื่อย ๆ และเป็นการสร้างงานในชนบทด้วย การศึกษาคุณภาพเชื้อเพลิงอัดแท่งแบบเพลเลทจากวัชพืช 4 ชนิด คือ หญ้ายาง โคกกระสุน ไมยราบ ผักตบชวา และศึกษาประสิทธิภาพของเตา/เชื้อเพลิง เปรียบเทียบกับฟืนและถ่านจากไม้นนทรี ผลปรากฏว่า ค่าความร้อนของไมยราบ โคกกระสุน หญ้ายาง ผักตบชวาและฟืนนนทรี มีค่าใกล้เคียงกันและต่ำกว่าถ่านประมาณเท่าตัว ถ่านมีค่าความร้อน 7067.66 แคลอรี่ต่อกรัม ในขณะที่เชื้อเพลิงจากวัชพืชที่ทดลองมีค่าความร้อนระหว่าง 3825.49 ถึง 3096.03 แคลอรี่ต่อกรัม ส่วนค่าประสิทธิภาพการใช้งาน (เตา/เชื้อเพลิง) ของผักตบชวาให้ค่าสูงสุดเท่ากับ 30.23 เปอร์เซ็นต์ นอกนั้นจะลดหลั่นกันไปตามลำดับเชื้อเพลิงทั้งสี่แสดงค่าประสิทธิภาพสูงกว่าฟืนและถ่าน ถ่านให้ค่าประสิทธิภาคต่ำสุดเท่ากับ 13.77 เปอร์เซ็นต์ และต่ำกว่าฟืน

ผู้แต่ง (สังกัด)

[1] ผดุงเกียรติ แซ่ลิ้ม

APA


ผดุงเกียรติ แซ่ลิ้ม. (2528). การศึกษาการทำเชื้อเพลิงอัดแท่งแบบเพลเลทจากวัชพืชบางชนิด. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวน.


Chicago


ผดุงเกียรติ แซ่ลิ้ม. การศึกษาการทำเชื้อเพลิงอัดแท่งแบบเพลเลทจากวัชพืชบางชนิด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวน, 2528.


MLA


ผดุงเกียรติ แซ่ลิ้ม. การศึกษาการทำเชื้อเพลิงอัดแท่งแบบเพลเลทจากวัชพืชบางชนิด. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวน, 2528.


Vancouver


ผดุงเกียรติ แซ่ลิ้ม. การศึกษาการทำเชื้อเพลิงอัดแท่งแบบเพลเลทจากวัชพืชบางชนิด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวน; 2528.


จำนวนการเข้าชมและการดาวน์โหลด

จำนวนผู้เข้าชม
765
วันนี้0
สัปดาห์นี้5
เดือนนี้21

Cited by Google Scholar
-

ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-

• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม

ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ปี 2558

ในการวิจัยมีวัตถุประสงค์คือ ศึกษาความพึงพอใจต่อความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์ผลงาน ศึกษาความพึงพอใจเกี่ยวกับความน่าสนใจของผลิตภัณฑ์ ศึกษาความพึงพอใจเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสมสามารถใช้งานได้จริง ศึกษาความพึงพอใจเกี่ยวกับการเลือกใช้วัสดุมีความเหมาะสม ศึกษาความพึงพอใจเกี่ยวกับความเป็นไปได้เชิงพาณิชย์ กลุ่มตัวอย่างรวม 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามความพึงพอใจ ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่าผลการประความพอใจทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาง วิจิตรา ใยขาว
2. นาง ภัทรวดี โสมรักษ์
3. นาง เด่นนภา ดัสกรณ์

• ความร่วมมือที่แสวงหา :

ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

• วันที่เผยแพร่ผลงาน :

15 กันยายน 2564

• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :

TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว

• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :

Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

• ราคาของผลงานนวัตกรรม :

ยังไม่ได้กำหนดราคา

สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+

ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+

รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+

ถ่านอัดแท่งจากผักตบชวา

วิจัย ถ่านอัดแท่งจาก ผักตบชวา

• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา


• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :

“ถ่านอัดแท่งจากผักตบชวา” เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการนำผักตบชวา ซึ่งเป็นวัชพืช มีการขยายพันธ์อย่างรวดเร็ว ทำให้แม่นำลำคลองตื้นเขิน ผู้ประดิษฐ์จึงคิดค้นนำผักตบชวามาผลิตเป็นถ่านเพื่อใช้ในหุงต้ม


วิจัย ถ่านอัดแท่งจาก ผักตบชวา

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา


• ประเภทผลงานนวัตกรรม :

ผลงานนวัตกรรม

• หมวดหมู่นวัตกรรม :

อื่นๆ


• ระดับนวัตกรรม :

TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว

• ความร่วมมือที่แสวงหา :

ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

• ความต้องการจำหน่าย :

Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น


วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564

|

ผู้เยี่ยมชม: 317