ใบงาน วัฏจักรของพืชดอก ป. 2 doc

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและส่ิงมชี ีวติ 112 เมล็ด → เมล็ดงอก → ต้นกล้า→ ต้นพืชท่ีเจริญเติบโตเต็มที่แต่ยัง ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ ไมม่ ดี อก → ต้นพืชที่ออกดอก → ดอกเปลย่ี นเปน็ ผล ในผลมเี มลด็ ) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 7.8 จากแผนภาพในข้อ 7.7 สามารถนำมาเขียนเช่ือมต่อกันเป็นวงได้ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน หรือไม่ อย่างไร (ได้ โดยเขียนลูกศรช้ีจากเมล็ดท่ีอยู่ในผลไปยังเมล็ด คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง ตอนเริ่มเพาะ ดงั รูป) อดทน และรับฟังแนวความคิด ของนักเรยี น 7.9 การเปล่ียนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืช สามารถสลับข้ันตอนได้ หรือไม่ (ไม่ได้) ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม 7.10 จากแผนภาพการเปล่ียนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืช แสดงว่ามี ครูสามารถดาวน์โหลดบัตรภาพ การเปลี่ยนแปลงเกิดขน้ึ ซ้ำเดมิ หรอื ไม่ (เกิดข้ึนซ้ำเดมิ ) ข อ งพื ช ทั้ ง 4 ช นิ ด ได้ โด ย สแกน QR code ในห นังสือ 7.11 การเปล่ียนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืชท่ีเกิดข้ึนซ้ำเดิมนี้เรียกว่า เรียน หน้า 33 และนำมาตัด อะไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ครูสามารถให้คำว่า วัฏจกั รชีวิต เป็ น บั ต ร ภ า พ เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย น ได้ที่ข้ันตอนน้ี และเขียนวัฏจักรชีวิตของพืชที่นักเรียนปลูกบน นำมาเรียงเป็นวัฏจกั ร กระดาน) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 8. ครูเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมช่วงนี้ไปสู่การสังเกตวัฏจักรชีวิต แ ล ะ ทั ก ษ ะ แ ห่ ง ศ ต ว ร ร ษ ที่ 21 ของพืชดอกชนิดอ่ืน ๆ โดยถามว่านอกจากต้นทานตะวันและต้นพริกแล้ว ทน่ี กั เรยี นจะได้ฝกึ จากการทำกิจกรรม นักเรียนคิดว่าพืชดอกชนิดอื่นมีแบบรูปการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโต เปน็ อย่างไร S6 เ รี ย ง บั ต ร ภ า พ ก า ร เปลย่ี นแปลงขณะเจริญเติบโตของ 9. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ข้อ 6 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปลำดับข้ันตอน S8, C4, C5 อภิปรายวัฏจักรชีวิต ในการทำกจิ กรรม ตามแนวคำถามดงั น้ี ของพืชดอก นำเสนอ 9.1 นักเรียนต้องทำสิ่งใดบ้าง (เรียงบัตรภาพการเปล่ียนแปลงขณะ เจรญิ เติบโตของพชื ) 9.2 นักเรียนต้องเรียงบัตรภาพของพืชชนิดใดบ้าง (มะม่วง มะพร้าว แตงกวา ข้าวโพด) 9.3 เรียงบัตรภาพแล้วต้องทำอะไรต่อไป (ร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับวัฏจักร ชวี ติ ของพืชดอก) 9.4 เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ข้อ 6 แล้ว ครูแจก บตั รภาพและใหน้ ักเรียนเรมิ่ ปฏิบัติตามขน้ั ตอน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

113 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและสงิ่ มีชีวติ 10. หลงั จากทำกจิ กรรมแลว้ นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายผลการทำกจิ กรรม ตาม ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ แนวคำถามดังน้ี คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 10.1 พื ช แ ต่ ล ะ ช นิ ด มี ก าร เป ล่ี ย น แ ป ล งข ณ ะเจ ริ ญ เติ บ โต เห มื อ น ห รื อ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน แตกต่างกัน อย่างไร (เหมือนกัน คือ มีการเปล่ียนแปลงจากเมล็ด คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง งอกเป็นต้นกล้า ตน้ กล้าเจริญเตบิ โตเป็นต้นพืชทีโ่ ตเต็มที่ ต้นพืชออก อดทน และรับฟังแนวความคิด ดอก ดอกมีการสบื พนั ธแ์ุ ละเจรญิ เติบโตไปเป็นผล ซึ่งในผลมเี มล็ด) ของนกั เรยี น 10.2เพราะเหตุใด การเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืชดอกจึงเป็น วัฏจักร (เพราะเป็นการเปล่ียนแปลงท่ีมีการหมุนเวียนเป็นแบบรูป คงทซ่ี ำ้ เดิมอย่างต่อเน่ือง) 10.3 วัฏจักรชีวิตของพืชดอกมีจุดเร่ิมต้นที่ระยะใด (วัฏจักรชีวิตของ พืชดอกเริ่มต้นท่ีระยะใดของการเจริญเติบโตก็ได้ ซ่ึงไม่ว่าจะเริ่มท่ี ระยะใด การเจริญเติบโตของพืชดอกน้ันจะมีการเปล่ียนแปลง ตามลำดับเปน็ แบบรปู ซ้ำเดิมตอ่ เน่ืองกันไป) 11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในส่ิงท่ีอยากรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับ วัฏจักรชีวิตของพืชดอก จากน้ันร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าการ เปล่ียนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืชดอกเป็นวัฏจักร มีการเปล่ียนแปลง ของเมล็ดขณะงอกเป็นต้นกล้า ต้นกล้าเจริญเติบโตต่อไปจนเป็นพืชท่ี เจริญเติบโตเต็มที่และสร้างดอกเพื่อสืบพันธุ์ หลังจากสืบพันธุ์จะเกิดผล ภายในผลมีเมล็ด เมล็ดจะงอกและเจริญเติบโตต่อไป การเปล่ียนแปลง ดังกล่าวมีการหมนุ เวียนเปน็ แบบรูปคงทซี่ ำ้ เดิมอยา่ งตอ่ เน่ือง (S13) 12. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพม่ิ เตมิ ในการอภปิ รายเพ่ือใหไ้ ด้แนวคำตอบทีถ่ ูกต้อง 13. นักเรยี นอ่าน ส่งิ ท่ไี ด้เรยี นรู้ และเปรียบเทยี บกบั ข้อสรปุ ของตนเอง 14. ครูชักชวนนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายคำถามชวนคิด ในหนังสอื เรียนหนา้ 35 โดยมอบหมายใหน้ ักเรียนไปสบื ค้นข้อมูลเพอื่ หาคำตอบ 15. ครกู ระตุน้ ให้นกั เรยี นฝึกตง้ั คำถามเกี่ยวกับเรือ่ งที่สงสยั หรืออยากรเู้ พ่มิ เติม ใน อยากรู้อีกว่า จากน้ันครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอคำถามของ ตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับคำถามท่ี นำเสนอ 16. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างในขั้นตอนใด 17. หลังจากทำกิจกรรมครูสามารถให้นักเรียนสังเกตวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เพม่ิ เตมิ ไดจ้ ากวดี ทิ ศั นห์ รือภาพถ่ายจากแหลง่ ข้อมลู ทีน่ า่ เชอ่ื ถอื ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 3 แสงและสิ่งมชี ีวติ 114 18. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หน้า 36 ครูนำ การเตรียมตัวล่วงหน้าสำหรับครู อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องน้ี จากนั้นครู เพ่อื จัดการเรยี นรใู้ นครงั้ ถัดไป กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเน้ือเรื่อง โดยให้นักเรียน ร่วมกันอภิปรายแนวทางการตอบคำถามทีละคำถาม ซ่ึงครูควรเน้นให้ ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้เรียน นกั เรียนตอบคำถามพร้อมอธิบายเหตผุ ลประกอบ ดังนี้ หน่วยที่ 4 ดิน บทท่ี 1 รู้จักดิน ครูควร 18.1 ถ้าเรานำเมล็ดพืชมาเก็บไว้โดยไม่นำไปปลูกต่อ จะมีผลต่อวัฏจักร เตรียมรูป หรือ ตัวอย่าง หิน ดิน ทราย ชีวิตของพืชน้ันหรือไม่ อย่างไร (ถ้าไม่นำเมล็ดไปปลูกต่อจะมีผล ผงฝุ่น ให้นักเรียนสังเกตเพ่ือตรวจสอบ ต่อวัฏจักรชีวิตของพืช เพราะเป็นการหยุดการเปล่ียนแปลงใน ความรู้เดิม วัฏจักรพืชไว้ทร่ี ะยะเมลด็ พืชน้ันจะไม่มโี อกาสงอกเป็นต้นใหม่ เพื่อ สบื พนั ธุใ์ ห้กำเนดิ พืชรุ่นตอ่ ไปได้) 18.2 นอกจากพืชจะได้รับธาตุอาหารจากดินแล้ว ดนิ ยงั มีประโยชน์อื่น ๆ อีก นักเรียนอยากรู้หรือไม่ว่าดินมีก่ีชนิด และแต่ละชนิดมีลักษณะ อยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ ดนิ มี 3 ชนิด แต่ละชนดิ จะใช้ประโยชนไ์ ดแ้ ตกตา่ งกนั ) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

115 คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยที่ 3 แสงและสงิ่ มีชีวติ แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม ปลกู และดูแลพชื ใหไ้ ด้รับนำ้ และแสงท่เี หมาะสมเพ่อื ให้พืชเจรญิ เตบิ โต สรา้ งแบบจำลองเพอ่ื บรรยายวฏั จักรชีวิตของพืชดอก ทานตะวนั /พริก (ขนึ้ อยูก่ ับการเลอื กของนักเรยี น) กระถาง หลังอาคารเรียน   07.30 น. การบันทกึ ขนึ้ อยู่กับการดูแลรักษาพชื ของนักเรยี น ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 3 แสงและสิง่ มชี ีวติ 116 ชนิดพืชข้ึนอยู่กับการเลือกของนักเรียน เชน่ ทานตะวนั เมลด็ งอก เปน็ ตน้ กลา้ มใี บเลย้ี ง 2 ใบ ตน้ กล้าเจริญเตบิ โตสูงขนึ้ มใี บเลีย้ ง 2 ใบ มใี บแท้ 2 ใบ ลำตน้ เจรญิ เติบโตสูงขน้ึ ใบแท้มีขนาดใหญ่ขึ้น มีใบ 2-4 ใบ ลำต้นสงู ข้ึน ใบเล้ียงเร่มิ เหีย่ ว ใบแทใ้ หญ่ขึ้น จำนวนใบเพิ่มข้ึน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

117 คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยที่ 3 แสงและส่งิ มีชีวติ ทานตะวนั ลำตน้ สงู และอวบข้ึน ใบเล้ยี งเหยี่ ว ใบแท้ใหญข่ ้นึ จำนวนใบเพ่ิมข้ึน ลำต้นสงู และอวบขึ้น ใบเลย้ี งเห่ียว ใบแท้ใหญข่ ้นึ จำนวนใบเพิ่มขึ้น ลำตน้ สูงและอวบข้ึน ใบเลี้ยงหลดุ รว่ งไป ใบแท้ใหญ่ข้นึ จำนวนใบเพ่ิมข้นึ ลำตน้ สงู และอวบขึ้น จำนวนใบเพิม่ ขนึ้ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสง่ิ มชี ีวติ 118 ทานตะวนั ลำต้นสูงและอวบข้ึน ใบแท้ใหญ่ข้ึน จำนวนใบ เพ่ิมขึ้น ท่ีปลายยอดเริม่ เห็นชอ่ ดอก ท่ี ป ล า ย ย อ ด เห็ น ช่ อ ด อ ก ชั ด เจ น ลักษณะคล้ายใบขนาดเล็กซ้อนกัน แนน่ ใบใหญข่ ้นึ ชอ่ ดอกขยายใหญข่ น้ึ ใบใหญข่ ้ึน ชอ่ ดอกขยายใหญข่ ้ึน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

119 คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสิง่ มีชีวติ ทานตะวนั ช่อดอกขยายใหญ่ขึ้น กลีบดอกเริ่มบานมีสีเหลืองอมเขียว และบาน เตม็ ท่สี ีเหลือง กลางชอ่ ดอกมดี อกขนาดเลก็ ไมม่ กี ลบี เรียงกันแนน่ ช่อดอกเจรญิ เตบิ โตเต็มที่ กลบี ดอกเริ่มเหีย่ วเปน็ สีน้ำตาล กลีบดอกเห่ียวมากขึ้น มีผลสเี ทาอยู่ตรงกลางช่อดอก ผลเป็นสเี ทาเขม้ ขึ้น ในผลมีเมล็ด ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 3 แสงและสง่ิ มีชวี ิต 120 ทานตะวัน สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

121 คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและสิง่ มีชีวติ รดนำ้ มีแสง ตน้ กล้า เมลด็ ผล ดอก เมล็ด เมล็ด ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสิง่ มีชีวิต 122 เป็นการเปลี่ยนแปลงที่มีการหมุนเวียนเป็นแบบรูปท่ีคงท่ีซ้ำเดิม และดำเนนิ ต่อเนอ่ื ง ทานตะวัน คงท่ีซำ้ เดิม วฏั จักร เมล็ดงอกเป็นต้นกล้า ต้นกล้าเจริญเติบโตเป็นต้นพืชที่โตเต็มท่ี ต้นพืชเม่ือ เจริญเติบโตเต็มที่จะออกดอก เมื่อดอกมีการสืบพันธ์ุจะเจริญเติบโตเป็นผล ซงึ่ ในผลมีเมล็ด เมล็ดจะงอกและเจริญเติบโตตอ่ ไปเปน็ วัฏจักร วัฏจักรชีวติ ของพืชดอก สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

123 คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต วัฏจักรชีวิตของพืชดอกไม่จำเป็นต้องเริ่มจากเมล็ด เพราะไม่ว่าจะเร่ิมที่ ระยะใดของการเจริญเติบโตจะมีการเปล่ียนแปลงตามลำดับต่อเน่ืองกัน ไปและวนกลับมาที่จุดเดิม เช่น เริ่มปลูกตั้งแต่ระยะต้นกล้า จากนั้นต้น กล้าจะเจริญเติบโตมีดอก มีผล และภายในผลมีเมล็ด ถ้านำเมล็ดมาปลูก กจ็ ะเจริญเติบโตเป็นตน้ กลา้ ได้อีก คำถามของนักเรยี นท่ตี ั้งตามความอยากร้ขู องตนเอง ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยที่ 3 แสงและสิง่ มีชวี ติ 124 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรู้ของนกั เรียนทำได้ ดงั น้ี 1. ประเมนิ ความร้เู ดิมจากการอภปิ รายในชั้นเรยี น 2. ประเมนิ การเรยี นรูจ้ ากคำตอบของนกั เรยี นระหว่างการจัดการเรียนรูแ้ ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรียน การประเมนิ จากการทำกิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรชวี ติ ของพชื ดอกเปน็ อย่างไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ รหัส ส่งิ ท่ีประเมนิ ระดบั คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S6 การจดั กระทำและสือ่ ความหมายข้อมลู S8 การลงความเห็นจากขอ้ มลู S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรุป S14 การสร้างแบบจำลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความร่วมมือ C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร รวมคะแนน สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

125 คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสิ่งมีชีวติ ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ามระดับความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี้ ทกั ษะ ระดบั ความสามารถ กระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) ทาง วทิ ยาศาสตร์ S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ ป ระสาท รายละเอียดข้อมูลการ เก็บรายละเอียดข้อมูลการ สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด เป ลี่ ย น แ ป ล งข ณ ะ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข ณ ะ ข้อมูลการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลการเปล่ียนแปลง เจริญเติบโตของพืช เจริญเติบโตของพืช ได้ ขณะเจริญเติบโตของ ขณะเจริญเติบโตของ ด้วยตนเอง โดยไม่เพิ่มเติม พืช ได้ จากการช้ีแนะ พื ช ได้เพี ยงบ างส่วน ความคดิ เหน็ ของครูหรือผู้อ่ืน หรือมี แม้ว่าจะได้รับคำชี้แนะ ก า ร เพิ่ ม เติ ม ค ว า ม จากครหู รือผอู้ น่ื คิดเห็น S6 ก า ร จั ด การนำข้อมูลที่ได้จาก สามารถนำเสนอขอ้ มูลทไี่ ด้ สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูล กระทำและสื่อ ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร จ า ก ก า ร สั ง เก ต ก า ร ท่ีได้จากการสังเกตการ ท่ีได้จากการสังเกตการ ค ว า ม ห ม า ย เป ลี่ ย น แ ป ล งข ณ ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข ณ ะ เป ล่ี ย น แ ป ล งข ณ ะ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ข ณ ะ ขอ้ มูล เจริญเติบโตของพืช มาจัด เจริญเติบโตของพืช มา เจริญเติบโตของพืช มา เจริญเติบโตของพืช มา ก ร ะ ท ำ โด ย ส ร้ า ง เป็ น จดั กระทำโดยสร้างเป็น จัดกระทำโดยสร้างเป็น จัดกระทำโดยสร้างเป็น แบบจำลองได้อย่างถูกต้อง แ บ บ จ ำ ล อ ง ได้ อ ย่ า ง แบ บจำลองได้อย่าง แบบจำลอง และสื่อให้ และสื่อความหมายให้ผู้อื่น ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ สื่ อ ถูกต้อง แต่ไม่สามารถ ผู้อื่นเข้าใจวัฏจักรชีวิต เข้าใจวัฏจักรชีวิตของพืช ความ ห ม าย ให้ ผู้ อ่ื น สื่อความหมายให้ผู้อ่ืน ของพชื ดอก ดอกไดช้ ดั เจน ดว้ ยตนเอง เข้าใจวัฏจักรชีวิตของ เข้าใจวัฏจักรชีวิตของ พืชดอกได้ชัดเจน จาก พชื ดอกได้ การช้ีแนะของครูหรือ ผู้อนื่ ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและส่งิ มีชีวติ 126 ทกั ษะ ระดบั ความสามารถ กระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) ทาง วทิ ยาศาสตร์ S8 ก า ร ล ง การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น ความเห็นจาก ข้อมูลได้ว่าพืชท่ีปลูกมี ข้อมูลได้อย่างถูกต้องด้วย จ า ก ข้ อ มู ล ได้ อ ย่ า ง จ าก ข้ อ มู ล ได้ แ ต่ ไม่ ขอ้ มลู การเปล่ียนแปลงขณะ ตนเองว่าพืชที่ปลูกมีการ ถูกต้อง จากการชี้แนะ ครบถ้วนสมบูรณ์แม้ว่า เจริญเติบโต โดยมีการ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข ณ ะ ของครูหรือผู้อื่นว่าพืช จะได้รับคำชี้แนะจาก เปลี่ยนแปลงของเมล็ด เจริญ เติบโต โดยมีการ ท่ี ป ลู ก มี ก า ร ครูหรือผู้อ่ืน ว่าพื ชที่ ข ณ ะ ง อ ก มี ก า ร เปล่ียนแปลงของเมล็ด เป ลี่ ย น แ ป ล งข ณ ะ ปลูกมีการเปลี่ยนแปลง เจริญ เติบโตเป็นต้น ข ณ ะ ง อ ก มี ก า ร เจริญเติบโต โดยมีการ ขณะเจริญเติบโต แต่ ก ล้ า ต้ น ก ล้ า จ ะ เจริญเติบโตเป็นต้นกล้า เปลี่ยนแปลงของเมล็ด บ อ ก ขั้ น ต อ น ก า ร เจริญเติบโตไปเป็นต้น ต้นกล้าจะเจริญเติบโตไป ข ณ ะ ง อ ก มี ก า ร เปล่ยี นแปลง พืชท่ีเจริญเติบโตเต็มที่ เป็นต้นพืชท่ีเจริญเติบโต เจริญ เติบโตเป็นต้น มีการสร้างดอก ดอก เต็ม ท่ี มี การส ร้างดอ ก ก ล้ า ต้ น ก ล้ า จ ะ เจริญเติบโตไปเป็นผล ดอกมีการสืบพันธ์ุและ เจริญเติบโตไปเป็นต้น ในผลมีเมล็ด และเมล็ด เจริญเติบโตไปเป็นผล ใน พืชที่เจริญเติบโตเต็มที่ จะงอกได้ ผลมีเมล็ด และเมล็ดจะ มีการสร้างดอก ดอกมี งอกได้ ก า ร สื บ พั น ธุ์ แ ล ะ เจริญเติบโตไปเป็นผล ในผลมีเมล็ด และเมล็ด จะงอกได้ S13 ก า ร การตีความหมายขอ้ มูล ส าม ารถ ตี ค วาม ห ม าย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย ตี ค วาม ห ม าย จากการสังเกตและการ ข้อมูลจากการสังเกตและ ข้อมูลจากการสังเกต ข้อมูลจากการสังเกต ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง เรียงบัตรภาพเก่ียวกับ การเรียงบัตรภาพเกี่ยวกับ และการเรียงบัตรภาพ และการเรียงบัตรภาพ ข้อสรปุ การเปล่ียนแปลงขณะ การเป ลี่ยน แป ลงขณ ะ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เจริญ เติบโตของพื ช เจริญเติบโตของพืช และ เป ล่ี ย น แ ป ล งข ณ ะ เป ล่ี ย น แ ป ล ง ข ณ ะ และลงข้อสรุปได้ว่าพืช ลงข้อสรุปได้ด้วยตนเองว่า เจริญ เติบโตของพื ช เจริญ เติบ โตของพื ช ดอกมีการเปลี่ยนแปลง พืชดอกมีการเปล่ียนแปลง และลงข้อสรุปได้โดย และลงข้อสรุป ได้ไม่ ข ณ ะ เจ ริ ญ เติ บ โ ต ขณะเจริญเติบโตเป็นวัฏ อาศัยการช้ีแนะของครู ครบถ้วนสมบูรณ์ว่าพืช เปน็ วัฏจักร จักร หรือผู้อ่ืนว่าพืชดอกมี ดอกมีการเปลี่ยนแปลง การเปล่ียนแปลงขณะ ข ณ ะ เจ ริ ญ เติ บ โ ต สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

127 ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสงิ่ มีชีวติ ทักษะ ระดับความสามารถ กระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) ทาง วทิ ยาศาสตร์ การสร้างแบบจำลอง เจรญิ เตบิ โตเปน็ วฏั จกั ร เป็นวัฏจักร แม้ว่าจะได้ บรรยายวัฏจักรชีวิต S14 การสร้าง ข อ ง พื ช ด อ ก ท่ี รับคำชี้แนะจากครูหรือ แบบจำลอง ป ระก อ บ ด้ วยก าร เปล่ียนแปลงในระยะ ผู้อน่ื ต่ า ง ๆ ข ณ ะ เจริญเติบโตของพืช สามารถสรา้ งแบบจำลอง ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง และระบุระยะเวลา ในการเปลี่ยนแปลง บรรยายวัฏจักรชีวิตของ แ บ บ จ ำ ล อ ง แ บ บ จ ำ ล อ ง จากระยะหนึ่งไปอีก ระยะหน่ึง พืชดอกท่ีประกอบด้วย บรรยายวัฏจักรชีวิต บรรยายวัฏจักรชีวิต ก ารเป ลี่ ย น แ ป ล งใน ข อ ง พื ช ด อ ก ท่ี ข อ ง พื ช ด อ ก ท่ี ร ะ ย ะ ต่ า ง ๆ ข ณ ะ ป ระก อ บ ด้ วยก าร ป ระ ก อ บ ด้ ว ย ก าร เจริญเติบโตของพืชและ เปลี่ยนแปลงในระยะ เปล่ียนแปลงในระยะ ระบุระยะเวลาในการ ต่ า ง ๆ ข ณ ะ ต่ า ง ๆ ข ณ ะ เปลี่ยนแปลงจากระยะ เจริญเติบโตของพืช เจริญเติบโตของพืช หนึ่งไปอีกระยะหน่ึง ได้ และระบุระยะเวลา แต่ไม่สามารถระบุ ถกู ตอ้ งด้วยตนเอง ในการเปล่ียนแปลง ร ะ ย ะ เว ล าใน ก า ร จากระยะหน่ึงไปอีก เป ล่ี ย น แ ป ล งจ า ก ระยะหนึ่งได้ถูกต้อง ระยะหน่ึงไปอีกระยะ จากการชี้แนะจากครู หนึ่ง แม้ว่าจะได้รับ หรือผอู้ ่ืน การชี้แนะจากครูหรือ ผูอ้ น่ื ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 3 แสงและส่งิ มชี วี ติ 128 ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี้ ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) C4 การส่อื สาร การนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูลจาก สามารถนำเสนอข้อมูล จากการสงั เกต และ จากการสังเกต และการ การสังเกต และการอภิปราย จากการสังเกต และการ ก า ร อ ภิ ป ร า ย อภิปรายเกี่ยวกับวัฏจักร เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของพืช อภิปรายเกี่ยวกับวัฏจักร เก่ยี วกบั วัฏจกั รชวี ิต ชีวิตของพืชดอก โดยใช้ ดอก โดยใช้แบบจำลอง ให้ ชีวิตของพืชดอก โดยใช้ ของพืชดอก โดยใช้ แบบจำลอง ให้ผู้อื่นเข้าใจ ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างถูกต้อง แ บ บ จ ำล อ ง ให้ ผู้ อ่ื น แบบจำลอง ให้ผู้อื่น ได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ด้ ว ย จากการชี้แนะของครูหรือผ้อู น่ื เข้าใจได้เพียงบางส่วน เขา้ ใจ ตนเอง แม้ว่าจะได้รับการช้ีแนะ จากครหู รอื ผอู้ ่ืน C5 ค ว า ม ทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนใน สามารถทำงานร่วมกับ ร่วมมือ ใน การป ลูก การ ผู้อื่นในการปลูก การดูแล การปลูก การดูแลพืช และ ผู้อืน่ ในการปลูก การดูแล ดูแลพืช และการ พื ช แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง การสร้างแบบจำลองวัฏจักร พื ช แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง สรา้ งแบบจำลองวัฏ แบบจำลองวัฏจักรชีวิต ชี วิต ข อ งพื ช ด อ ก รวม ท้ั ง แบบจำลองวัฏจักรชีวิต จัก รชี วิต ข อ งพื ช ข อ ง พื ช ด อ ก ร ว ม ท้ั ง ยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ืน ข อ งพื ช ด อ ก รว ม ท้ั ง ดอก รวมทงั้ ยอมรับ ยอมรับความคิดเห็นของ ในบางช่วงเวลาท่ที ำกจิ กรรม ยอมรับความคิดเห็นของ ความคิดเห็นของ ผอู้ ื่นต้ังแต่เรม่ิ ต้นจนสำเรจ็ ผู้อื่นบางช่วงเวลาที่ทำ ผอู้ น่ื กิจกรรม ท้ังน้ีต้องอาศัย การกระตุ้นจากครูหรือ ผู้อื่น C6 ก า ร ใ ช้ การสืบ ค้น ข้อมูล สามารถสืบค้นข้อมูลทาง สามารถสืบ ค้น ข้อมูลทาง สามารถสืบค้นข้อมูลทาง เ ท ค โ น โ ล ยี ทางอิน เท อร์เน็ ต อิ น เท อ ร์ เน็ ต เกี่ ย ว กั บ อินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับวิธีการ อิน เท อร์เน็ ต เก่ียวกับ สารสนเทศ เกี่ยวกับวิธีการปลูก วิธีการปลูกและดูแลรักษา ปลูกและดูแลรักษาพืชจาก วิธีก ารป ลู ก แ ล ะดู แ ล และดูแลรักษาพืช พื ช จ าก แ ห ล่ งข้ อ มู ล ที่ แหล่งข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือได้ รกั ษาพืชจากแหล่งข้อมูล จากแหล่งข้อมูลที่ นา่ เชื่อถอื ได้ ดว้ ยตนเอง จากการช้แี นะของครูหรอื ผู้อื่น ได้ แต่ไม่สามารถบอกได้ นา่ เชอื่ ถือ ว่าแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ หรือไม่ แม้ว่าจะได้รับคำ ชแ้ี นะจากครูหรือผูอ้ ่นื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

129 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสิง่ มีชีวติ กิจกรรมทา้ ยบทท่ี 2 ส่ิงมชี วี ิต (2 ชั่วโมง) 1. ครูให้นักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากบทน้ี ในแบบบันทึก กจิ กรรม หน้า 53 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ของตนเองโดยเปรียบเทียบกับ แผนภาพในหวั ข้อ รู้อะไรในบทนี้ ในหนังสอื เรยี น หน้า 37 3. นกั เรยี นกลับไปตรวจสอบคำตอบของตนเองในสำรวจความรู้ก่อนเรียน ใน แบบบันทึกกิจกรรม หน้า 24-27 อีกครั้ง ถ้าคำตอบของนักเรียนไม่ถูกต้อง ให้ขีดเส้นทับข้อความเหล่านั้น แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง นอกจากนี้ครูอาจนำ คำถามในรูปนำบทในหนังสือเรียน หน้า 18 มาร่วมกันอภิปรายคำตอบอีก ครัง้ ดงั นี้ “หุ่นยนต์เป็นส่ิงมีชีวิตหรือไม่ เพราะเหตุใด และรอบตัวเรามีอะไรบ้างเป็น สงิ่ มชี ีวิตและอะไรบ้างเป็นสิ่งไม่มชี ีวิต และส่งิ ตา่ ง ๆ ทีเ่ ราพบในโรงพยาบาล สิ่งใดเป็นส่ิงมีชีวิตและส่ิงใดเป็นส่ิงไม่มีชีวิต” ครูและนักเรียนร่วมกัน อภิปรายแนวทางการตอบคำถาม เช่น หุ่นยนต์เป็นสิ่งไม่มีชีวิต เพราะไม่ สามารถพูด กิน หายใจ สบื พันธุ์ ขบั ถ่าย ตอบสนองต่อสิง่ ต่าง ๆ ได้ รอบตัว เรามีหลายอย่างที่เป็นส่ิงมีชีวิต เช่น ครู นักเรียน พืช สุนัข แมว ปลา ยุง จิ้งจก กระต่าย และมีหลายอย่างท่ีเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เช่น โต๊ะ เก้าอ้ี หนังสือ สมดุ ดนิ สอ รองเท้า กระเป๋า 4. นักเรียนทำ แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 2 ส่ิงมีชีวิต ในแบบบันทึกกิจกรรมหน้า 54-55 จากน้ันนำเสนอคำตอบหน้าช้ันเรียน ถ้าคำตอบยังมีความ คลาดเคลื่อนไม่ถูกต้องครูควรนำอภิปรายหรือให้สถานการณ์เพ่ิมเติมเพื่อ แก้ไขแนวคิดคลาดเคลือ่ นให้ถูกตอ้ ง 5. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ร่วมคิด ร่วมทำ โดยร่วมกันคิดหาวิธีปลูกผักท่ี ตนเองชอบ โดยใช้พื้นที่จำกัดและใช้วัสดุเหลือใช้ท่ีสามารถหาได้จากบ้าน หรอื โรงเรียน 6. นักเรียนอ่านและอภิปรายเน้ือเร่ืองในหัวข้อวิทย์ใกล้ตัว ในหนังสือเรียน หน้า 39 โดยครูกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญของความรู้จากสิ่งที่ได้ เรียนรู้ในหน่วยนี้ ว่าสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร บา้ ง 7. นักเรียนร่วมกนั ตอบคำถามสำคัญประจำหน่วยอกี คร้ัง ดังน้ี - เรามองเหน็ สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างไร (เรามองเห็นสง่ิ ทเี่ ป็นแหล่งกำเนิด แสงได้เพราะมีแสงจากแหล่งกำเนิดแสงเข้าสู่ตาเราโดยตรง และ ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 3 แสงและส่ิงมีชีวิต 130 มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่เป็นแหล่งกำเนิดแสงได้เพราะมีแสงจาก แหล่งกำเนิดแสงมากระทบกบั สิ่งนัน้ แลว้ สะทอ้ นเข้าสตู่ า) - บอกได้อย่างไรว่าสิ่งใดเป็นสิ่งมีชีวิตและสิ่งใดเป็นสิ่งไม่มีชีวิต (ส่ิงมีชีวิตต้องการอาหาร หายใจ เจริญเติบโต ขับถ่าย เคล่ือนไหว ตอบสนองต่อสิ่งเร้า และสืบพันธ์ุได้ ส่วนสิ่งไม่มีชีวิตไม่มีลักษณะ เหล่านี)้ - การดูแลพืชดอกให้พืชเจริญเติบโตจนครบวัฏจักรชีวิตทำได้ อย่างไร (ต้องดูแลให้พืชได้รับแสง น้ำ อากาศ และธาตุอาหารท่ี เหมาะสม) ถ้าคำตอบยังไม่ถูกต้อง ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ คำตอบทถ่ี ูกต้อง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

131 คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยที่ 3 แสงและส่ิงมีชีวติ สรปุ ผลการเรยี นรขู้ องตนเอง รปู หรือข้อความสรุปสิ่งทไี่ ด้เรยี นรู้จากบทนต้ี ามความเข้าใจของนักเรยี น ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 3 แสงและส่ิงมชี วี ติ 132 แนวคำตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท มนษุ ย์ หญา้ นก ลูกบอล เมฆ ดวงอาทิตย์ หมวก เสื้อผา้ รองเทา้ เจรญิ เตบิ โต กนิ อาหาร หายใจ เคล่อื นไหว สืบพนั ธ์ุ ขับถา่ ย ตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ต่าง ๆ จากการสงั เกตพชื มีลำต้นสงู และใหญ่ข้ึน จำนวนใบเพ่ิมขึ้น ขนาดใบใหญ่ขึ้น มกี ารแตกกงิ่ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

133 คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและส่ิงมีชีวิต นำ้ เหีย่ วและตาย แสง ใบซดี ลำตน้ ยดื ยาว และตาย อากาศ แห้ง เห่ียว และตาย ธาตุอาหาร เปน็ โรค และตาย ต้นกล้ามะละกอจะเจรญิ เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนื่องจนเจริญเติบโตเต็มท่ีและมดี อก เมอ่ื ดอกสบื พนั ธ์ุ จะ เจรญิ เติบโตไปเปน็ ผล ในผลมเี มล็ด เมลด็ จะงอกและเจริญเติบโตเปน็ ต้นกล้าอกี ครั้ง และตน้ กลา้ จะเจรญิ เติบโดตต่อไป  มีการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตที่มีการหมุนเวียนเป็นแบบรูปท่ี คงที่ซ้ำเดิม และดำเนนิ ต่อเนื่อง ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 3 แสงและสงิ่ มีชวี ติ 134 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

135 คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและส่งิ มีชีวติ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและสิง่ มชี ีวติ 136 บรรณานกุ รม (หนว่ ยท่ี 3) Allen M. (2014). Misconcept in primary science: New York: McGraw-Hill Education Balzak, D., Chafiqi, F., & Kendil, D. (2009). Students misconceptions about light in Algeria. Retrived from https://spie.org/ETOP/2009/etop2009_4.7.35.pdf Barman, C., Stein, R. M., McNair, S., & Barman, N.S. (2006). Students’ ideas about plants and plant growth: The American Biology Teacher, 68(2), 73–79. BSCS, 2006. Investigating Life Cycles. BSCS Science Tracks: Connecting Science & Literacy. 2nd ed, Colorado, USA Enger E. D., Ross, F. C., & Bailey, D. B. (2012). Concepts in Biology (14th ed.), McGRAW-Hill International Edition, New York Ho, P. L., Yusoff, A. R., & Nanda, A. (2004). i-Science textbook 6. Singapore: SNP Panpac. Mader, S. S., & Windelspent, M. (2012). Biology (11sted.). New York: McGraw-Hill Higher Education Sampson, V., & Schleigh, S. (2013). Scientific argumentation in biology: 30 Classroom activities. Arlington, Virginia: NSTA Press. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

137 ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 ดินรอบตัวเรา หน่วยท่ี 4 ดนิ รอบตวั เรา ภาพรวมการจดั การเรียนรู้ประจำหนว่ ยท่ี 4 ดนิ รอบตวั เรา บท เรื่อง กจิ กรรม ลำดบั แนวคดิ ตวั ช้ีวัด บทที่ 1 รู้จักดิน เ รื่ อ ง ท่ี 1 ดิ น ใ น กจิ กรรมที่ 1.1 ดนิ มี ในการจดั การเรยี นรู้ ท้องถน่ิ ส่วนประกอบอะไรบ้าง • ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติ ว 3.2 กิจกรรมท่ี 1.2 ดินในท้องถิ่น มีลกั ษณะและสมบัติอยา่ งไร ที่พบไดท้ ั่วไป ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ เร่ืองที่ 2 ประโยชน์ กจิ กรรมที่ 2 ดนิ มีประโยชน์ • นักวิทยาศาสตร์จำแนกดิน ของดิน และจำแนก ของดิน อย่างไร ออกเป็นดินเหนียว ดินร่วน ชนิดของดิน โดยใช้ และดินทราย ลักษณะเนื้อดินและ • ดิ น ใน แ ต่ ล ะ ท้ อ งถ่ิ น มี การจบั ตัวเปน็ เกณฑ์ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ เห มื อ น กั น แต่สัดส่วนของส่วนประกอบ ไมเ่ ท่ากนั • ดินอาจมีลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการ อมุ้ น้ำแตกต่างกนั • เราสามารถระบุชนิดดินว่า เป็น ดินเห นียว ดินร่วน หรือดินท ราย จากการ ตรวจสอบลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการ อ้มุ น้ำของดิน • ประโยชนข์ องดิน ป.2/2 อธบิ ายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลท่ี รวบรวมได้ ร่วมคดิ รว่ มทำ

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ดินรอบตัวเรา 138 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

139 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ดนิ รอบตัวเรา บทท่ี 1 รจู้ ักดิน จดุ ประสงค์การเรยี นรปู้ ระจำบท เม่อื เรยี นจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ 1. ระบุส่วนประกอบของดิน 2. จำแนกชนดิ ของดินโดยใชล้ ักษณะเน้ือดิน สมบตั ิการ จบั ตัว และการอุ้มนำ้ ของดนิ เป็นเกณฑ์ 3. อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์จากดิน เวลา 12 ชวั่ โมง แนวคิดสำคญั บทนีม้ อี ะไร ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีพบได้ทั่วไป ดินตามที่ เร่อื งที่ 1 ดินในท้องถน่ิ ตา่ ง ๆ จะมีส่วนประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลกั ษณะและ กิจกรรมท่ี 1.1 ดินมีสว่ นประกอบอะไรบ้าง สมบัติแตกต่างกัน เม่ือใช้ลักษณะเน้ือดิน สมบัติการจับตัว กจิ กรรมที่ 1.2 ดินในท้องถ่ินมีลักษณ ะและสมบัติ และการอุ้มน้ำของดินเป็นเกณฑ์สามารถจำแนกดินได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซ่ึงดิน อย่างไร แต่ละชนิดสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม เร่ืองที่ 2 ประโยชน์ของดนิ ลักษณะ สมบตั แิ ละชนดิ ของดนิ กจิ กรรมท่ี 2 ดนิ มีประโยชนอ์ ย่างไร สอ่ื การเรยี นรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ หนา้ 40-63 หน้า 59-85 1. หนงั สอื เรียน ป.2 เล่ม 2 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.2 เล่ม 2 ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 ดนิ รอบตัวเรา 140 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 รหสั ทกั ษะ กจิ กรรมท่ี ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1.1 1.2 2 S1 การสงั เกต •• S2 การวัด S3 การใช้จำนวน S4 การจำแนกประเภท • • S5 การหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง  สเปซกับสเปซ  สเปซกบั เวลา S6 การจัดกระทำและส่อื ความหมายข้อมลู S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากข้อมูล ••• S9 การตัง้ สมมติฐาน S10 การกำหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร S11 การกำหนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ••• S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ • C3 การแก้ปัญหา C4 การสอ่ื สาร ••• C5 ความรว่ มมอื ••• C6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายเหตุ : รหัสทักษะที่ปรากฏนี้ ใช้เฉพาะหนังสือค่มู ือครูเล่มน้ี สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

141 คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตวั เรา แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคิดคลาดเคล่ือนที่อาจพบและแนวคิดท่ีถูกตองในบทท่ี 1 รจู ักดิน มดี งั ตอไปนี้ แนวคิดคลาดเคล่ือน แนวคดิ ท่ีถูกตอง ดินในที่ตาง ๆ ลวนมีลักษณะเหมอื นกนั (Kusnick, J., 2002) ดินในทต่ี าง ๆ อาจมีลกั ษณะแตกตา งกนั ขึน้ อยูกับสภาพแวดลอ ม (Kusnick, J., 2002) สัตวทอี่ ยูในดินเปน สวนประกอบของดิน (Kusnick, J., 2002) สัตวท ีย่ งั มีชวี ติ ไมใชสวนประกอบของดิน โดยดนิ ประกอบดวย เศษหิน ซากพืช ซากสัตว น้ําและอากาศ (Kusnick, J., 2002) ดินสกปรกและไมมปี ระโยชน (Melanie D.G., 2010) ดินมปี ระโยชนม าก เชน การนําดินไปปลูกพชื ทําเคร่ืองปนดนิ เผา หรอื การกอสราง (Melanie D.G., 2010) ดนิ เปนของแข็ง (Melanie D.G., 2010) ดินไมไดเ ปนเพยี งของแขง็ เทา นัน้ แตดนิ ประกอบดวยของแขง็ และพน้ื ท่วี า งท่ไี มใชของแขง็ ซ่ึงชองวางระหวา งอนภุ าคของดินคอื ทีว่ า งสาํ หรับนํา้ อากาศ ซึง่ เปนสวนประกอบหนึง่ ของดนิ (Melanie D.G., 2010) ถาครูพบวา มแี นวคดิ คลาดเคลอ่ื นใดทย่ี งั ไมไดแกไ ขจากการทาํ กิจกรรมการเรียนรู ครูควรจัดการเรยี นรเู พิ่มเติมเพ่ือแกไข ตอ ไป  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 ดินรอบตัวเรา 142 บทนีเ้ ริม่ ต้นอย่างไร (1 ชั่วโมง) 1. ครูตรวจสอบความร้เู ดิมของนักเรยี นเก่ียวกับดิน โดยนำรูปหรือตัวอย่าง หนิ ดนิ ทราย และฝุ่น มาใหน้ ักเรียนสังเกตและใช้คำถามดังต่อไปนี้ หนิ ดนิ ทราย ฝุ่น ในการตรวจสอบความรู้เดิมครู รับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็นสำคัญ 1.1 วัสดุใดคือดิน เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน ตนเอง) ให้หาคำตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม ต่าง ๆ ในบทเรยี นนี้ 1.2 ดินมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ดินมีลักษณะเปน็ เม็ดเลก็ ๆ แข็ง ๆ มีเศษหินเล็ก ๆ มีสดี ำ นำ้ ตาล แดง และมเี ศษหญ้า ซากมดปนอยู่) 1.3 ดินมีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง เช่น ดินมีประโยชน์มาก ซึ่งเราใช้ประโยชน์จากดนิ ทั้ง ในการเกษตรกรรม การก่อสร้าง และอ่ืน ๆ) 2. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องดินรอบตัวเรา โดยให้อ่านช่ือหน่วย และอ่านคำถามสำคัญประจำหน่วยท่ี 4 คือ “การใช้ประโยชน์จาก ดินต้องพิจารณาอะไรบ้าง” ครูให้นักเรียนตอบคำถามน้ี โดยยังไม่ ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับมาตอบอีกครั้งหลังจาก เรยี นจบหน่วยนี้แลว้ 3. ครูให้นักเรียนอ่าน ช่ือบท และจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำบท ในหนังสอื เรียนหนา้ 41 จากนัน้ ครูใชค้ ำถาม ดังนี้ 3.1 บทน้ีจะได้เรียนเร่ืองอะไร (เรื่องส่วนประกอบของดิน ลักษณะ และสมบัตขิ องดนิ ประโยชน์ของดิน) 3.2 จากจุดประสงค์การเรียนรู้เม่ือเรียนจบบทน้ีนักเรียนสามารถ ทำอะไรได้บ้าง (สามารถระบุส่วนประกอบของดิน จำแนกชนิด สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

143 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ดนิ รอบตัวเรา ของดินโดยใช้ลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำ ของดินเป็นเกณฑ์ และอธบิ ายการใช้ประโยชน์จากดนิ ) 4. นักเรียนอ่านช่ือบท และแนวคิดสำคัญ ในหนังสือเรียนหน้า 42 จากน้ันครูใช้คำถามว่า จากการอ่านแนวคิดสำคัญ นักเรียนคิดว่า จะได้เรียนเก่ียวกับเรื่องอะไรบ้าง (จะได้เรียนเก่ียวกับเรื่อง ส่วนประกอบของดิน การจำแนกประเภทของดินโดยใช้ลักษณะเนื้อ ดิน สมบัติการจับตัวและการอุ้มน้ำของดินเป็นเกณฑ์ และการใช้ ประโยชนจ์ ากดนิ ) 5. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูป และอ่านเน้ือเร่ืองในหน้า 42 โดยครู ฝึกทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน ครูใช้คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดย ใชค้ ำถามดงั นี้ 5.1 จากรูป นักเรยี นคิดว่าจะพบดินบริเวณใดบ้าง (นักเรียนอาจชไ้ี ป ที่ภาพบริเวณท่ีมีเม็ดดินขนาดเล็กกระจัดกระจายอยู่เท่านั้น แต่ นักเรยี นอาจไม่สามารถตอบ จริง ๆ แล้ว ดินจะพบได้ต้ังแต่บริเวณที่มีการผุพังของภูเขาหิน คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ไปจนถงึ บริเวณทางน้ำ) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 5.2 บริเวณท่ีเขียนว่าภูเขาหินพบดินได้หรือไม่ (นักเรียนตอบได้ตาม คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง ความเข้าใจของตนเอง เช่น พบได้ โดยดินที่พบมักเป็นดินที่เกิด อดทน และรับฟังแนวความคิด จากการผุพังของหินบริเวณนั้น หรือนักเรียนอาจตอบว่าไม่พบ ของนักเรยี น เพราะบรเิ วณภูเขาหนิ ยังไมม่ ีการผพุ ังของหินไปเป็นตะกอนดิน) 5.3 จากรูป ลักษณะของวัตถุท่ีปกคลุมผิวโลกบริเวณภูเขาหิน ด้านบนและด้านล่างแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบ ไดต้ ามความเขา้ ใจของตนเอง เช่น แตกต่างกัน โดยบริเวณภูเขา หินจะพบเศษหินและเม็ดดินขนาดใหญ่ และบริเวณที่ต่ำลงมา ขนาดของเศษหินและเม็ดดินมักจะมีขนาดเล็กลง เนื่องจากการ ผุพงั ของหนิ หรอื ตะกอน) 6. ครชู ักชวนนักเรยี นตอบคำถามเก่ียวกับดิน ในสำรวจความร้กู ่อนเรยี น 7. นักเรียนทำสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 60-61 โดยนักเรียนอ่านคำถามแต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ดินรอบตัวเรา 144 ของนักเรียน จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทำได้ด้วยตนเอง จึงให้ การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรับครู นักเรียนตอบคำถาม โดยคำตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกันและ เพอ่ื จดั การเรียนรู้ในครัง้ ถัดไป อาจตอบถูกหรอื ผิดก็ได้ 8. ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบว่านักเรียนมี ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ แนวคิดเกี่ยวกับดินอย่างไร โดยอาจสุ่มให้นักเรียน 2-3 คน นำเสนอ เรียนเรื่องท่ี 1 ดิน ใน ท้องถ่ิน ซึ่ง คำตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียน เก่ียวข้องกับดินที่อาจพบในท้องถิ่น ยอ้ นกลับมาตรวจสอบอีกคร้ังหลังจากเรียนจบบทน้ีแล้ว ท้ังน้คี รูควร ต่าง ๆ ครูอาจเตรียมดินท่ีพบตาม บันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อนหรือแนวคิดท่ีน่าสนใจของนักเรียน แล้ว สถานที่ต่าง ๆ หรือรูปดินกับสถานท่ีท่ี น ำ ม า ใ ช้ ใน ก า ร อ อ ก แ บ บ ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น รู้ เพื่ อ แ ก้ ไข แ น ว คิ ด พบดินนั้น ๆ มาเพื่อให้นักเรียนเล่น คลาดเคลอื่ นให้ถูกต้อง และตอ่ ยอดแนวคดิ ท่ีน่าสนใจของนกั เรียน เกม ดินนี้ควรอยู่ที่ใด ในข้ันตรวจสอบ ความรูเ้ ดิมของนกั เรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

145 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ดนิ รอบตัวเรา แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม การสำรวจความรกู้ ่อนเรยี น นักเรยี นอาจตอบคำถามถกู หรือผิดก็ได้ข้นึ อยกู่ ับความรูเ้ ดิมของนักเรยี น แต่เม่ือเรยี นจบบทเรยี นแลว้ ใหน้ ักเรียนกลับมาตรวจสอบคำตอบอกี ครั้งและแก้ไขให้ถกู ต้อง ดงั ตัวอย่าง ✓✓✓ ✓✓ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ดินรอบตัวเรา 146 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

147 คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ดินรอบตัวเรา เรื่องท่ี 1 ดินในท้องถน่ิ ในเร่ืองน้ีนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบ และลักษณะของดินตามสภาพแวดลอ้ มในแตล่ ะทอ้ งถิ่น จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สอื่ การเรียนร้แู ละแหลง่ เรียนรู้ หน้า 44-54 หน้า 62-77 1. สังเกตและระบสุ ่วนประกอบของดินจากแหล่งต่าง ๆ 1. หนงั สือเรียน ป.2 เล่ม 2 2. สังเกตและเปรียบเทียบลักษณะเนื้อดินของดินเหนียว 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 ดินรว่ น ดินทราย และดนิ ในท้องถนิ่ 3. สังเกตและเปรียบเทียบการจับตัวและการอุ้มน้ำของ ดนิ เหนยี ว ดินร่วน ดินทรายและดินในทอ้ งถ่ิน 4. ระบุชนิดของดินในท้องถิ่น โดยเปรียบเทียบกับ ลักษณะเน้ือดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของ ดินเหนียว ดนิ ร่วน และดนิ ทราย เวลา 7 ช่วั โมง วัสดุ อปุ กรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม จานกระดาษหรือภาชนะใส่ดิน แก้วพลาสติกใส ไม้หรือ ตะเกียบไม้สำหรับเข่ียดิน แว่นขยาย ช้อนพลาสติก ถงุ พลาสตกิ ใส ยางรัดของ น้ำ ชุดทดลองการอุ้มน้ำของดิน ช้อนสำหรับตักดิน ช้อนโต๊ะ ปากกาเคมี ตัวอย่างดินจาก แหล่งต่าง ๆ ในท้องถ่ิน ตัวอย่างดินเหนียว ดินร่วน และ ดนิ ทราย สีเมจกิ หรือปากกาเคมี ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ดนิ รอบตัวเรา 148 แนวการจดั การเรยี นรู้ (60 นาที) ขั้นตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับดิน โดยใช้คำถามว่า ในการตรวจสอบความรู้ ครู เคยสังเกตดินตามท่ีต่าง ๆ หรือไม่ ดินตามที่ต่าง ๆ ท่ีเคยสังเกตมี เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ ลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกัน (นักเรียนตอบได้ตามความเข้าใจของ ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน ตนเอง แต่ควรมีเหตุผลประกอบ) ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง จากน้ันครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่อง ดินใน จากการอา่ นเน้ือเรอื่ ง ทอ้ งถิ่น โดยใช้คำถามว่า รู้หรือไม่ว่าดินตามที่ต่าง ๆ มีลกั ษณะอย่างไรบ้าง เราจะไปเรียนรกู้ นั ขน้ั ฝกึ ทกั ษะจากการอ่าน (35 นาท)ี นั ก เ รี ย น อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ต อ บ คำถามหรอื อภปิ รายได้ตามแนวคำตอบ 2. นักเรยี นอา่ นช่ือเรอ่ื ง และคำถามในคิดกอ่ นอ่าน ในหนังสือเรยี นหน้า ค รูค วรให้ เวล านั กเรีย น คิ ด อ ย่าง 44 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพ่ือหาแนวคำตอบตามความเข้าใจ เหมาะสม รอคอยอย่างอดทน และรับ ของกลุ่ม ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบ ฟงั แนวความคิดของนักเรียน กับคำตอบภายหลงั การอา่ นเนอ้ื เรอ่ื ง 3. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากน้ันครูชักชวนให้นักเรียน อธบิ ายความหมายของคำสำคัญจากเนื้อเรอื่ งที่จะอา่ น 4. นักเรียนอ่านเน้ือเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 44-45 โดยครูฝึกทักษะ การอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครใู ชค้ ำถามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใชค้ ำถามดังน้ี ย่อหน้าที่ 1 4.1 ดินคอื อะไร (วตั ถุท่ีปกคลุมผิวโลก) 4.2 หินต้นกำเนิดคืออะไร (หินที่จะผุพังแล้วทำให้เกิดตะกอนดิน ลกั ษณะต่าง ๆ) 4.3 นกั วิทยาศาสตร์จำแนกดินออกเปน็ กี่ชนิด อะไรบ้าง (3 ชนิด คือ ดินเหนียว ดินรว่ น และดนิ ทราย) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

149 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ดนิ รอบตัวเรา 4.4 ดินแต่ละชนิดแตกตา่ งกนั เพราะอะไร (ดินแต่ละชนดิ แตกต่างกนั ความรเู้ พิ่มเติมสำหรบั ครู เพราะดินเกิดจากหินต้นกำเนิดทแี่ ตกต่างกนั และสภาพแวดล้อม ในอดตี และปัจจบุ ันของแต่ละทอ้ งถ่นิ แตกตา่ งกนั ) ดินมีต้นกำเนิดหลักคือหิน (หินต้น กำเนิด) ซึ่งเม่ือหินผุพังออกมาเป็นตะกอน ยอ่ หนา้ ที่ 2 ดนิ ซ่งึ ตะกอนดนิ เหล่านั้นก็คือแร่ตา่ ง ๆ ท่ี 4.5 บริเวณป่าชายเลนมีลักษณะเป็นอย่างไร และมักพบดินชนิดใด อยู่ในหินต้นกำเนิดเกิดการผุพัง โดย ตัวอย่างแร่ที่อยู่ในหินต้นกำเนิดและผล (บริเวณป่าชายเลนมีลักษณะเป็นพื้นที่ที่น้ำทะเลท่วมถึง มักพบ จากการผพุ ัง ดังตาราง ดินที่มีความเคม็ สูง สว่ นใหญ่เปน็ ดนิ เหนียว) ยอ่ หน้าท่ี 3 แร่ ผลจากการผพุ ัง 4.6 บริเวณพื้นท่ีลาดเชิงเขามีลักษณะเป็นอย่างไร และมักพบดิน แร่เฟลด์สปาร์ แรด่ ินขาว ชนิดใด (บริเวณพื้นที่ลาดเชิงเขามีลักษณะเป็นพื้นที่ลาดที่มี แร่ควอตซ์ เมด็ ทราย การชะล้างพังทลายได้ง่าย ดินมักขาดความอุดมสมบูรณ์ ถ้า หินต้นกำเนิดเป็นหินทรายดินบริเวณน้ีมักจะเป็นดินทราย) เมือ่ หินชนดิ ตา่ ง ๆ ผุพังหรอื แตกออก 4.7 นักเรียนคิดว่า เพราะเหตุใดดินบริเวณท่ีลาดเชิงเขาส่วนใหญ่ถึง แร่ที่อยู่ในเนื้อหินก็จะมีการเปล่ียนแปลง มักขาดความอุดมสมบูรณ์ (เพราะดินบริเวณน้ีมีการชะล้าง ซ่ึงอาจเปล่ียนแปลงเฉพาะทางกายภาพ พังทลายได้ง่าย) คือมีขนาดเล็กลง หรือเปลี่ยนแปลงทาง ยอ่ หนา้ ท่ี 4 เคมีคือเปลี่ยนชนิดของแร่ โดยดินที่พบ 4.8 ดินท่ีพบบริเวณท่ีราบมีลักษณะเป็นอย่างไร และมักพบดินชนิดใด ส่วนมากจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทาง (ดินที่พบบริเวณท่ีราบส่วนใหญ่เป็นแอ่งสะสมตะกอนซากพืช ซาก กายภาพของหินต้นกำเนิด ซึ่งดินที่เกิด สัตว์ เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยจะจัดเป็นดินชนิดใดขึ้นอยู่ จากหินที่แตกออกน้ี เน้ือของดินจะมี กับหินต้นกำเนดิ โดยสว่ นใหญม่ กั พบเปน็ ดินรว่ น) ลักษณะคล้ายคลงึ กับหินนั้น และเม่ือเวลา 4.9 นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดดินบริเวณท่ีราบหรือแอ่งสะสม ผ่านไป ดินที่มีลักษณะคล้ายหินต้นกำเนิด ตะกอนดินส่วนใหญ่จงึ มีความอุดมสมบูรณ์ (เพราะเป็นบริเวณท่ี อ า จ จ ะ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ไป ต า ม ส ภ า พ ข อ ง มกี ารสะสมตวั ของซากพืช ซากสตั ว)์ ภูมิอากาศหรอื ปัจจัยดา้ นอ่ืน ๆ ได้ ยอ่ หนา้ ที่ 1-4 4.10 เราสามารถพบดินเหนียว ดินทราย หรือดินร่วนที่บริเวณอื่น นอกจากท่ีกล่าวมาแล้วได้หรือไม่ อย่างไร (เราสามารถพบดิน เหนยี วในบรเิ วณอืน่ ได้ เนือ่ งจากการจะบอกวา่ เป็นดนิ ชนิดใดแต่ ละชนิดข้ึนอยู่กับหินต้นกำเนิดและสภาพแวดล้อมในอดีตและ ปจั จบุ ัน) ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 ดนิ รอบตัวเรา 150 ขัน้ สรปุ จากการอา่ น (15 นาที) 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า นักวิทยาศาสตร์ การเตรยี มตัวลว่ งหนา้ สำหรับครู จำแนกดินออกเป็นดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซ่ึงแต่ละบริเวณ เพือ่ จัดการเรยี นรูใ้ นคร้งั ถัดไป อาจพบดินที่เหมือนหรือแตกต่างกันข้ึนอยู่กับลักษณะของหินต้น กำเนดิ และสภาพแวดล้อมท้ังในอดีตและปจั จุบัน ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ท ำ กิจกรรมท่ี 1.1 ดินมสี ่วนประกอบอะไรบ้าง 6. นักเรียนตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านในรู้หรือยัง ในแบบบันทึก กิจกรรม หนา้ 62 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมยางรัด ของ ถุงพลาสติก และดินในท้องถิ่น ครูให้ 7. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคำตอบของนกั เรียน นักเรียนระบุแหล่งที่เก็บตัวอย่างดิน โดยดิน ท่ีนำมาจะต้องไม่เป็นดินท่ีใส่ถุงขาย และครู ในรู้หรือยัง กับคำตอบท่ีเคยตอบและบันทึกไว้ในคิดก่อนอ่าน บอกวิธีเก็บตัวอย่างดิน โดยต้องขุดดินลึกลง จากนั้นให้นักเรียนฝึกเขียนคำว่า ดิน ในเขียนเป็น ในแบบบันทึก ไปประมาณ 10-15 เซนติเมตร จากนั้นจึง กิจกรรม หน้า 62 เก็บดินที่ก้นหลุมข้ึนมาประมาณ 25 กำมือ 8. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามท้ายเร่ืองท่ีอ่าน คือ ดินแต่ละชนิดท่ี แบ่งดินเป็นสองส่วน ส่วนแรก 10 กำมือ นกั วทิ ยาศาสตรจ์ ำแนกไว้มีส่วนประกอบ ลกั ษณะ และสมบัติเหมอื น เพ่ือใช้ในกิจกรรมท่ี 1.1 และส่วนท่ีสอง 15 ห รือ แตกต่ างกัน จะจำแน กช นิ ดดิ น ที่ พ บ ใน ท้ องถ่ิน แบ บ กำมือ เพ่ือใช้ในกิจกรรมที่ 1.2 ซ่ึงนักเรียน นักวิทยาศาสตรไ์ ด้อย่างไร ครูบนั ทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดาน ต้องนำดินส่วนที่ 2 ไปตากแดดให้แห้งและ โดยยังไม่เฉลยคำตอบ แต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ ทุบให้ละเอียด แล้วร่อนด้วยมุ้งไนลอน (ผ้า กจิ กรรม ตาข่ายสีฟ้าท่ีใช้ในงานก่อสร้าง) ก่อนที่จะ นำมาใชใ้ นกิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

151 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 ดินรอบตัวเรา แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม 3 ดินเหนียว ดนิ ร่วน และดนิ ทราย ดนิ ท่พี บในบรเิ วณตา่ ง ๆ มักจะเปน็ ดินต่างชนดิ กัน ซึ่งขึ้นอยกู่ ับ หินต้นกำเนิด สภาพแวดล้อมในอดีตและปจั จุบนั ของท้องถิ่นนั้น ๆ ดนิ ดนิ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 ดินรอบตัวเรา 152 กิจกรรมท่ี 1.1 ดินมสี ว่ นประกอบอะไรบ้าง กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้สังเกตส่วนประกอบของดิน ในท้องถ่ินของตนเอง โดยสังเกตด้วยตาเปล่า การสัมผัส และการใช้แว่นขยาย เพื่อระบุส่วนประกอบของดินจาก แหล่งต่าง ๆ เวลา 2 ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สงั เกตและระบสุ ว่ นประกอบของดินจากแหลง่ ต่าง ๆ วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรับทำกจิ กรรม สิ่งท่ีครตู อ้ งเตรยี ม/กลุ่ม 1. ไม้หรอื ตะเกียบสำหรับเขี่ยดิน ตามจำนวนนกั เรยี น 2. แว่นขยาย 2-3 อัน 3. น้ำ ½ แกว้ ส่ิงท่นี กั เรยี นตอ้ งเตรยี ม/กลมุ่ ส่อื การเรยี นร้แู ละแหล่งเรียนรู้ 1. ตัวอยา่ งดนิ ในท้องถน่ิ ประมาณ 100 กรัม 1. หนังสอื เรยี น ป.2 เล่ม 2 หนา้ 46-48 2. ถุงพลาสติกใส 1 ใบ 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม่ 2 หนา้ 63-67 3. ยางรัดของ 1 วง 3. วดี ิทศั น์ตัวอยา่ งการปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตรส์ ำหรับครู 4. ชอ้ นพลาสติก 1 อนั เรอื่ ง ดินมีอะไรเปน็ สว่ นประกอบบา้ ง 5. จานกระดาษหรือภาชนะใสด่ นิ ตามจำนวนนกั เรยี น http://ipst.me/9446 6. แกว้ พลาสติกใส 1 ใบ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรุป ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การสอื่ สาร C5 ความรว่ มมือ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

153 ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 ดนิ รอบตัวเรา แนวการจดั การเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับส่วนประกอบของดิน โดยใช้คำถามว่า ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน ดินแต่ละชนิดมีส่วนประกอบเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร (นักเรียน ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง ตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ ดินทุกชนดิ มีสว่ นประกอบเหมือนกัน จากการอ่านเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย เศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ น้ำและอากาศ แต่จะมีปริมาณ เศษหนิ ซากพชื ซากสตั ว์ นำ้ และอากาศแตกต่างกันไปในดนิ แต่ละบริเวณ) ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 1.1 โดยใช้คำถามว่า ครูสามารถวางแผนในการแบ่งเวลาการจัด อยากรู้หรือไม่ว่า ดินตามท่ีต่าง ๆ ในท้องถ่ินมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ไป กจิ กรรมการเรยี นการสอนของตนเองได้ ทำกิจกรรมกนั 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น ในหนังสือเรียน หน้า 46 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ในการทำ กิจกรรม โดยครใู ชค้ ำถามดงั นี้ 3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เรยี นร้เู กี่ยวกับเรื่องอะไร (ส่วนประกอบของดิน จากแหลง่ ต่าง ๆ) 3.2 นกั เรยี นจะไดเ้ รียนรเู้ รือ่ งนดี้ ว้ ยวิธีใด (การสงั เกต) 3.3 เม่ือเรยี นรแู้ ล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (ระบสุ ่วนประกอบของดินได)้ 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 63 และอ่าน สงิ่ ที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม ซ่ึงครูอาจนำวัสดุอุปกรณ์ที่นักเรียนไม่รูจ้ ักมา แสดงใหน้ กั เรยี นดู 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไรทีละข้อ และครูถามนักเรียนว่ามีคำศัพท์ ใดบ้างท่ีไม่เข้าใจเพ่ือครูจะได้ช่วยอธิบาย จากน้ันร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทำกิจกรรมอย่างไร จนนักเรียน เขา้ ใจลำดับการทำกิจกรรม โดยอาจใชค้ ำถามดงั น้ี ทำอย่างไร ขอ้ ท่ี 1 5.1 นักเรียนเก็บตัวอย่างดินมาจากที่ใดบ้าง (คำตอบขึ้นอยู่กับ แหล่งดินที่เก็บตัวอย่างดินมาทำกิจกรรม เช่น สวนหลังบ้าน สวนสาธารณะ แปลงผกั ในโรงเรยี น) 5.2 นักเรียนเก็บตัวอย่างดินมาอย่างไร (คำตอบขึ้นอยู่กับวิธีการที่ นักเรียนใช้ในการเก็บตัวอย่างดิน ซึ่งนักเรียนควรตอบ คล้ายคลึงกับวิธีเก็บตัวอย่างดินท่ีแนะนำไว้ในการเตรียมตัว ล่วงหน้าสำหรับครูในเรื่องที่ 1 เช่น ขุดดินจากสวนหลังบ้าน ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 ดนิ รอบตัวเรา 154 โดยขุดดินลึกลงไปประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร แล้วเก็บดิน มาประมาณ 25 กำมอื ) 5.3 ในข้ันตอนแรกนักเรียนต้องทำอะไร (ตักดินใส่ภาชนะ และ สังเกตลักษณะของดนิ อย่างละเอียด) 5.4 วิธีการสังเกตดินอย่างละเอียดทำอย่างไร (ใช้ตาเปล่าสังเกต ก่อน จากน้นั ใชม้ อื บดี้ ิน) 5.5 การสัมผัสดินโดยใช้มือบ้ีดิน จะพบอะไรบ้าง (ความหยาบหรือ ความละเอียดของดนิ ดินแหง้ หรือชื้น และสง่ิ ต่าง ๆ ทอ่ี ย่ใู นดิน) 5.6 นักเรียนต้องใช้แว่นขยายในข้ันตอนใด (ใช้ในการสังเกตเน้ือ ดิน หลังจากที่สงั เกตดินด้วยตาเปลา่ แล้ว) ครูแนะนำวิธีการใช้แว่นขยายที่ถูกต้องให้กับนักเรียน และบอก กับนักเรยี นวา่ จะให้แวน่ ขยายกบั นักเรียน หลังจากท่นี กั เรยี นบนั ทกึ ผล การสังเกตดนิ ดว้ ยตาเปลา่ แล้วกอ่ นอภิปรายขอ้ ต่อไป ทำอยา่ งไร ข้อท่ี 2-6 5.7 นักเรียนตอ้ งแบง่ ดนิ ในภาชนะออกเปน็ ก่ีสว่ น (สองส่วน) ข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ 5.8 ดินส่วนที่หนึ่งต้องนำไปทำอะไร (นำไปใส่ในถุงพลาสติกและ ในข้ันตอนการตักดินลงในน้ำของ รดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ ) กิจกรรมที่ 1.1 ครูย้ำให้นักเรียนตักก้อน 5.9 กอ่ นจะนำถุงพลาสติกท่ีใสด่ ินไปวางกลางแดดนักเรียนต้องทำ ดินลงในน้ำอย่างช้า ๆ สังเกตส่ิงท่ีเกิดขึ้น อย่างละเอียด จากนั้นจึงเติมดินเพิ่มอีก 1 อะไร (บันทึกผลการสังเกตว่าพบอะไรบ้างภายในถุงพลาสติก ชอ้ น แล้วใช้ชอ้ นคนดิน ทใี่ ส่ดนิ ) 5.10เม่ือนำถุงพลาสติกวางกลางแดดครบ 10 นาที นักเรียนต้อง สังเกตอะไร (การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นภายในถุงพลาสติกที่ ใส่ดนิ ) 5.11ดินในส่วนที่สองต้องนำไปทำอะไร (ตักดินที่เป็นก้อนจากดิน ส่วนที่สองใส่ลงในแกว้ พลาสตกิ ใสทีม่ นี ้ำอยคู่ ร่ึงแก้ว) 5.12เมื่อตกั กอ้ นดินใส่ในแก้วน้ำ นักเรียนต้องสังเกตภายในแก้วน้ำ ทันทีหรือไม่ อย่างไร (ต้องสงั เกตทันทีและสังเกตก้อนดินที่ใส่ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

155 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ดนิ รอบตัวเรา ลงไปในน้ำอย่างต่อเนื่อง เพื่อดูว่าภายในแก้วน้ำมีการ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทนี่ ักเรียนจะได้ เปล่ียนแปลงอยา่ งไรบ้าง) ฝกึ จากการทำกิจกรรม 5.13 หลังจากใส่ดินเพิ่มอีก 1 ช้อน นักเรียนทำอย่างไรต่อไป (ใช้ไม้คนดิน S1 สังเกตสว่ นประกอบของดิน S8, C4, C5 นำเสนอผลการสังเกต จากนั้นวางตัง้ ไวส้ กั ครู่ แล้วสังเกตส่ิงท่ีพบตง้ั แตผ่ วิ นำ้ ลงไปจนถงึ ก้นแก้ว) และอภปิ รายสว่ นประกอบของดนิ 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ครูแจกวัสดุ นั ก เรี ย น อ า จ ไม่ ส า ม า ร ถ ต อ บ อุปกรณ์ และให้นักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอนที่กล่าวมา โดนการแจก ค ำถ าม ห รื อ อ ภิ ป ร าย ได้ ต าม แ น ว อุปกรณ์จะยกเว้นแว่นขยายท่ีครูจะแจกให้เมื่อนักเรียนสังเกตเนื้อดินด้วย คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด ตาเปลา่ และบ้ีดิน พรอ้ มบันทึกผลเรียบรอ้ ยแลว้ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน และรบั ฟังแนวความคิดของนักเรยี น 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม ดงั นี้ 7.1 เมื่อสังเกตดินของตนเองในจานกระดาษโดยใช้ไม้เขี่ยดิน พบ อะไรบ้าง (คำตอบข้ึนอยู่กับผลการทำกิจกรรม เช่น การสังเกตดิน โดยการใช้ไม้เขี่ยดินในจานกระดาษ จะพบเศษหิน ซากพืช ซาก สัตว์ นักเรียนบางกลุ่มอาจพบส่ิงมีชีวิต เศษกระดาษ และเศษ พลาสติก หรืออื่น ๆ การบ้ีดินทำให้พบว่า ดินหยาบหรือละเอียด และเนือ้ ดินช้นื หรอื แหง้ ) 7.2 เมื่อนำดินที่ใส่ถุงพลาสติกแล้วไปวางไว้กลางแดดแล้วสังเกตภายใน ถุง นอกจากดินแล้วยังพบอะไรอีกบ้าง (จะเห็นละอองน้ำจับอยู่ ภายในถงุ พลาสตกิ เป็นฝ้าขาว ๆ ) 7.3 เม่ือใส่ก้อนดินลงในน้ำ สังเกตทันที นักเรียนจะพบอะไรบ้าง (มีฟองแก๊สลอยขึน้ ส่ผู ิวนำ้ และบางส่วนเกาะอยู่ทีก่ ้อนดิน) 7.4 จากส่ิงท่ีสังเกตได้ เมื่อใส่ก้อนดินลงในน้ำ นักเรียนคิดว่าเป็น ส่วนประกอบใดของดิน เพราะเหตุใด (นักเรียนอาจตอบว่า สิ่งที่ สังเกตได้เป็นฟองแก๊ส คิดว่าเป็นอากาศ เพราะเม่ือผ่านไปสักพัก ฟองแกส๊ บางส่วนจะจะแตกและลอยหายไปในอากาศ) ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบได้ ครูอาจให้นักเรียนลองแตะท่ีฟองแก๊ส นั้นแลว้ สงั เกตการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงจะเห็นว่าฟองแก๊สนั้น ๆ จะแตกและ ลอยหายไป ซ่ึงเมื่อแก๊สหายไปแล้วครูอาจเว้นช่วงให้นักเรียนลองคิดว่า ทำไมแก๊สท่ีเคยกองอยู่กับก้อนดินจึงหายไป ทำไมเราถึงมองไม่เห็น ซ่ึง เด็กอาจตอบได้วา่ แกส๊ ทีล่ อยไปในอากาศกค็ ืออากาศ เราจึงมองไม่เห็น 7.5 เม่ือใช้ไม้คนดินให้เข้ากับน้ำ วางต้ังไว้สักครู่ จะพบอะไรบ้าง (จะเห็น เศษใบไม้ เศษหญ้า ซากสัตว์ เช่น ซากมด ลอยขึ้นมา และอาจเห็น ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 ดินรอบตัวเรา 156 เศษหินหรือกรวดทรายจมอยู่ก้นภาชนะ และเนื้อดินบางส่วน การเตรยี มตัวล่วงหน้าสำหรับครู กระจายอยใู่ นน้ำ) เพื่อจดั การเรยี นรู้ในครง้ั ถดั ไป 7.6 พบอะไรในดินบ้าง (นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตได้ เช่น เศษ กระดาษ เศษหิน ซากพืชหรือซากสตั ว์ ต้นไม้ ไส้เดือนดิน มด แมลง ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมท่ี น้ำ และอากาศ) 1.2 ดินในท้องถิ่นมีลักษณะและสมบัติอย่างไร 7.7 เมื่อสังเกตตัวอย่างดินของนักเรียนเปรียบเทียบกับตัวอย่างดินของ โดยครเู ตรียมการจดั กจิ กรรม ดงั นี้ กลุ่มอื่น นักเรียนคิดว่าดินตามที่ต่าง ๆ มีส่วนประกอบของอะไร 1. ครูเตรียมดินเหนียว ดินร่วน ดินทราย โดย เหมือนกันบ้าง และรู้ได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความจริง เช่น เหมือนกัน จากการเปรียบเทียบผลการสังเกตส่วนประกอบดินของ ก าร ห าจ าก ท้ อ งถิ่ น ห รื อ ซ้ื อ ดิ น เห ล่ าน้ี กลุ่มต่าง ๆ มีซากพืชซากสัตว์ มีเศษหินหรือกรวดทราย น้ำ และ จากน้ันนำดินทั้งสามชนิดไปตากแดดให้ อากาศ แต่ส่วนประกอบของดินบางกลุ่มแตกต่างกับเพ่ือนได้บ้าง แห้งและทุบให้ละเอียด แล้วร่อนด้วยมุ้ง เช่น อาจไมพ่ บซากสัตว์) ไนลอน (ผา้ ตาขา่ ยสีฟา้ ทใ่ี ชใ้ นงานก่อสร้าง) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับ 2. ครูเตรียมชดุ ทดลองการอุ้มน้ำของดินดังน้ี ส่วนประกอบของดิน จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าดินแต่ละ 2.1 เตรียมขวดพลาสติกใสขนาดประมาณ แหล่งประกอบด้วยเศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ น้ำและอากาศ ซึ่งดินแต่ละ แหล่งอาจมสี ว่ นประกอบของดินแต่ละอย่างในปริมาณท่ีแตกตา่ งกัน (S13) 600 มิลลิลิตร 1 ขวดตอ่ กลมุ่ ครูอาจให้ความรู้เพิ่มเติมกับนักเรียนว่า ดินเกิดจากเศษหิน ซากพืช ซาก 2.2 ตัดขวดเป็น 2 สว่ น โดยตัด สัตว์ มีการผุพังและย่อยสลายปะปนกันจนเป็นเนื้อเดียว มีน้ำและอากาศ แทรกอยู่ตามช่องว่างของเม็ดดิน สำหรับสิ่งมีชีวิตท่ีอยู่ในดิน เช่น พืชที่ปลูก แบง่ ตรงกลางขวด บนดินและไส้เดือนดิน ใช้ดินเป็นท่ีอยู่อาศัยจึงไม่ได้จัดเป็นส่วนประกอบของ ดิน แต่เม่ือตายและถูกย่อยสลายแล้วจะถือว่าเป็นซากพืช ซากสัตว์ในดิน 2.3 หุ้มปากขวด (ด้านที่เป็นกรวยของส่วน ส่วนเศษวัสดุ เช่น ขยะต่าง ๆ พลาสติกท่ีอาจพบได้ในดินบางแห่ง ไม่จัดเป็น ที่ 1) ดว้ ยผ้าพันแผลที่ทบกัน 2 ชน้ั เพื่อ ส่วนประกอบของดนิ เพราะเศษวัสดุเปน็ สงิ่ ท่มี นุษยส์ รา้ งขึน้ ไมใ่ หด้ นิ หลน่ ไปขา้ งลา่ ง 9. นกั เรยี นตอบคำถาม ฉันรอู้ ะไร ในแบบบนั ทึกกิจกรรม หน้า 65 – 67 10.นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบในฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คำถามเพิ่มเติม 2.4 เจาะรูบรเิ วณด้านบนของขวดพลาสติก ในการอภปิ รายเพื่อให้ได้แนวคำตอบที่ถูกต้อง ใสสว่ นล่าง เพอ่ื ระบายอากาศ 11.นักเรียนอ่านส่ิงท่ีได้เรียนรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของดิน และเปรียบเทียบ กบั ขอ้ สรุปท่ไี ดจ้ ากการอภิปราย 2.5 ใส่ดินลงในกรวยส่วนที่ 1 แล้วนำไป 12.ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีสงสัยหรืออยากรู้เพ่ิมเติมใน วางประกอบกับอกี สว่ น อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอคำถามของตนเอง หนา้ ชน้ั เรียน และให้นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเกยี่ วกบั คำถามที่นำเสนอ 13.ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในขั้นตอนใดบ้าง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

157 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ดินรอบตัวเรา แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม สงั เกตและระบุส่วนประกอบของดนิ จากแหล่งตา่ ง ๆ นกั เรยี นตอบตามส่ิงทีส่ ังเกตพบ เช่น ในดนิ มี เศษรากไม้และใบไม้ นกั เรียนตอบตามส่ิงทีส่ ังเกตพบ เช่น ดินแตก ออกเปน็ เมด็ ๆ มเี ม็ดทรายติดน้ิว เนือ้ หยาบ หรอื ละเอยี ด นักเรยี นตอบตามสิ่งทส่ี ังเกตพบ เชน่ มีซากมด และขาแมลง ซากพชื ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 ดนิ รอบตัวเรา 158 นักเรยี นตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน่ พบว่าใน ถงุ มีแต่ดนิ นักเรียนตอบตามสง่ิ ทสี่ ังเกตพบ เช่น ดนิ มีลักษณะ เหมอื นเดิม แตท่ ่ีถุงด้านในมีละอองน้ำมาเกาะเปน็ ฝา้ สขี าว นกั เรยี นตอบตามสง่ิ ทส่ี ังเกตพบ เช่น พบว่ามีฟองอากาศ ลอยข้นึ มา บางส่วนเกาะอยทู่ ีก่ ้อนดิน นกั เรียนตอบตามส่งิ ท่สี ังเกตพบ เชน่ พบวา่ มีรากต้นไม้ ซาก มด ขาแมลงลอยขน้ึ มา และที่ก้นภาชนะมีตะกอนดินและ ทราย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

159 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 ดนิ รอบตัวเรา นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน่ เศษรากตน้ ไม้ เศษใบไม้ ซากมด ขาแมลง เม็ดทรายหรอื เศษหินในดิน นำ้ ละอองนำ้ เกาะอยทู่ ผ่ี ิวด้านในของ ถงุ พลาสตกิ อากาศ ฟองอากาศลอยขึน้ มาและบางสว่ นเกาะอยู่ทีก่ ้อนดิน ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 ดนิ รอบตัวเรา 160 รากไม้ ซากแมลง เศษหนิ และทราย รากไม้ และซากแมลง ตะกอนดนิ เศษหนิ หรือทราย ✓ เมอื่ สงั เกตดนิ ทุกแหลง่ จะพบ เศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ นำ้ และอากาศ นักเรยี นตอบตามสิ่งท่สี ังเกตพบ เช่น นำ้ อากาศ เศษรากต้นไม้ ใบไม้ ซากมด ขาแมลง ตะกอนดนิ และ อาจมเี ศษหนิ หรือทราย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

161 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 ดินรอบตัวเรา ดินทุกแหลง่ มีสว่ นประกอบเหมือนกนั คอื เศษหนิ ซากพืช ซากสัตว์ นำ้ และอากาศ คำถามของนักเรยี นทต่ี ั้งตามความอยากรขู้ องตนเอง ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี