เฉลยโครงงานวิทยาศาสตร์ 2000-1306

Science project from kanjana2536

            การจัดทำเว็บไซด์ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ รหัส 2000-1306 เพื่อให้ครู และนักศึกษาได้เรียนรู้ร่วมกันตลอดเวลา และในเว็บไซด์นี้ ประกอบด้วย การศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และขั้นตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ 

            มีการทำแบบทดสอบออนไลน์เพื่อให้ผู้สอนและผู้เรียน ได้มีการตรวจสอบการเรียนรู้ร่วมกัน

เฉลยโครงงานวิทยาศาสตร์ 2000-1306


3 กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 8 / 18, คาบที่ 15- 16-/ 36) 1 ครูทบทวนเกี่ยวกับทักษะขั้นขั้นบูรณการ 2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่ 3. 4 4 ขณะนักเรียนทำกิจกรรมครูจะสังเกตการทำงานกลุ่ ม สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยที่ 3 เรื่องทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมที่ 3. 1 - 3.. 4 แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยที่ 3 2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสาร เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอินเทอร์เน็ต การวัดและการประเมินผล 1. การวัดผลและการประเมินผล 1. 1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 1. 2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน 1. 3 สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม 1. 4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝึกหัด 2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 2. 1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2. 2 แบบทดสอบหลังเรียน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 6 0 ผ่านเกณฑ์ 2. 3 แบบประเมินพฤติกรรมปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 6 0 ผ่านเกณฑ์ 2.

เฉลย โครง งาน วิทยาศาสตร์ 2000 136 du 21

4 ใบกิจกรรมต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 2. 5 แบบฝึกหัดต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 6 0 ผ่านเกณฑ์ งานที่มอบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทบทวนเนื้อหารวมทั้งความสมบูรณ์ของแบบฝึกหัดและใบกิจกรรม ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเร็จของผู้เรียน 1. ผลการนำเสนองานจากใบกิจกรรม คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน ( Post–test) หน่วยที่ 2 เอกสารอ้างอิง หนังสือเรียนวิชาโครงการ วิทยาศาสตร์ ( 2000–1306) เว็บไซต์และสื่อสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรียนรู้
แบบฐานสมรรถนะอาชพี และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั 2000-1306 รายวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ประเภทวชิ า ช่างอุตสาหกรรม,พาณิชยกรรม

จัดทาโดย
นางสาวสนุ ิษา ธิอามาตย์

แผนกวิชาสามัญสมั พันธ์

วิทยาลัยการอาชีพขุนหาญ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ

บันทึกการขออนุมัตกิ ารใช้แผนการจัดการเรียนรู้
ภาคเรยี นท่ี 1/2564

รหสั 20000-1306 วิชา โครงงานวทิ ยาศาสตร์
หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562

ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม , พาณิชยกรรม

ขออนุมัติการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้
ลงชื่อ................................................ครผู ู้สอน
(นางสาวสนุ ิษา ธิอามาตย์)

ความเหน็ หัวหน้าแผนกวชิ า
...........................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ................................................หวั หนา้ แผนกวชิ าสามญั สมั พนั ธ์
(นายธนวิน สายนาค)

ความเหน็ ของหัวหนา้ งานพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอน
............................................................................................................................. .............................................

ลงชอ่ื ................................................หัวหนา้ งานหลกั สูตรฯ
(นายธนวิน สายนาค)

ความเหน็ ของรองผ้อู านวยการฝ่ายวิชาการ
 เหน็ ควรพจิ ารณาอนุมตั ิ ให้ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนได้

ลงช่ือ................................................รองผ้อู านวยการฝา่ ยวชิ าการ
(นายชาตรี สารบี ตุ ร)

ความเห็นของผู้อานวยการ
 อนมุ ัติ
 ไมอ่ นุมตั ิ เพราะ..................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................
(นายลาปาง พนั ธเ์ พชร)

ผู้อานวยการวิทยาลัยการอาชีพขนุ หาญ

คานา

แผนการจัดการเรียนรู้วิชา โครงงานวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา 20000-1306 ฉบับน้ี ใช้ประกอบการเรียน
การสอน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ และใช้เป็นคู่มือในการจัดการเรียนการสอนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ด้านอาชีวศึกษา
และอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ให้แก่ผู้เรียน ครูผู้สอน และผู้สนใจ สาหรับนาไปใช้ศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติได้ด้วย
ตนเอง ตามหลักวชิ าการได้เป็นอย่างดีย่ิง ท้งั นี้เนื่องจากผู้เขียนได้เรียบเรียงข้ึนจากความรู้ และประสบการณ์จริง
ในการจัดการเรียนการสอนด้านโครงงานวิทยาศาสตร์ สิ่งประดิษฐ์ การวิจัยในชุมชน และการเป็นวิทยากรการ
เขียนผลงานวิชาการประเภทต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน และคณะครู มาเป็นเวลานานว่า 20 ปี นับว่ามีคุณค่าสาหรับ
ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน และการพัฒนาความคดิ เชงิ ระบบดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

เน้ือหารายวิชา ครอบคลุมตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา
ประกอบด้วย 6 หน่วย ได้แก่ หน่วยท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ หน่วยท่ี 2
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หน่วยท่ี 3 ข้ันตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 4 การเขียนรายงาน
โครงงานวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 5 การจัดแสดงนิทรรศการโครงงานวิทยาศาสตร์ และ หน่วยที่ 5 การนาเสนอ
ผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยวาจา โดยที่เนื้อหาในแต่ละหน่วยมุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติแบบบูรณาการหลักคิด
และหลักปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นโดยภาพรวมของหนังสือเล่มน้ีจะได้ทั้งองค์ความรู้
การฝึกทักษะตา่ ง ๆ ของการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีด้วยหลักคุณธรรมนา
ความรู้ อนั จะนาไปสกู่ ารมีทกั ษะชีวติ ที่ดขี องผู้เรียนในการอยู่ร่วมกันในสังคมปจั จบุ ัน

สุนษิ า ธอิ ามาตย์
ครจู ้างสอนประจารายเดอื น

สารบญั

หวั เรอื่ ง หน้า

คานา (ก)
จดุ ประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคาอธิบายรายวชิ า (ข)
การวิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา (ค)
การวิเคราะห์หลกั สตู ร (ง)
การวิเคราะห์หน่วยการเรียน (จ)
โครงการจัดการเรียนรู้ (ฉ)
หน่วยท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ ในการจดั ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1
หน่วยท่ี 2 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 12
หนว่ ยท่ี 3 ขน้ั ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ 24
หน่วยที่ 4 การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ 35
หนว่ ยท่ี 5 การจัดแสดงนิทรรศการโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 47
หนว่ ยท่ี 6 การนาเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตรด์ ว้ ยวาจา 58

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 หน่วยที่ 1
ชอื่ วชิ า โครงการวทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา 20000-1306 เวลาเรียนรวม 36
คาบ
ช่ือหน่วย ความรูเ้ ก่ยี วกบั โครงงานวิทยาศาสตร์ สอนคร้ังที่ 1–2 /18
ช่ือเร่ือง ความรเู้ กีย่ วกบั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ จานวน 4 คาบ

หวั ข้อเร่ือง
1.1 ความหมาย ของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
1.2 หลักการของกจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตร์
1.3 จุดม่งุ หมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
1.4 ลักษณะของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
1.5 คณุ ค่าของโครงงานวิทยาศาสตร์

แนวคิดสาคญั
โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วย

ตนเองตามขั้นตอนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยมีครูหรือผู้เชี่ยวชาญเป็นท่ีปรึกษาการทากิจกรรมโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ ผ้เู รียนมโี อกาสในการศกึ ษา และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองทาให้ได้รับประสบการณ์ตรง และยังได้ฝึก
ให้ผู้เรียนมีความรู้ความชานาญ และมีความมั่นใจในการนาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา
ประดิษฐค์ ิดคน้ หรือคน้ ควา้ หาความรู้ ตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจในวิทยาศาสตร์ และช่วย
พัฒนาคุณลักษณะอื่น ๆ ให้กับผู้เรียน เช่น การสังเกต มีวินัย มีความซื่อสัตย์ ความละเอียดรอบครอบ และมี
ความรับผิดชอบ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน มีเจตคติท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความ
อดทนและเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ดีข้ึน
สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้และปฏิบัติเก่ียวกับความรเู้ บื้องต้นโครงงานวทิ ยาศาสตร์
จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ
1. บอกความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
2. บอกจดุ มงุ่ หมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
3. อธิบายองคป์ ระกอบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
4. บอกคุณค่าของโครงงานวิทยาศาสตร์
ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แสดงออกดา้ นความสนใจใฝร่ ู้ การตรงตอ่ เวลา ความซ่ือสัตย์ สุจริต มีความรับผดิ ชอบ อดทน
ความมนี า้ ใจและแบ่งบัน ความรว่ มมือ/ยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของผู้อนื่

เนื้อหาสาระ
กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 1/18, คาบที่ 1–2/36)
1. ครชู ีแ้ จงรายละเอียดเกยี่ วกับคาอธิบายรายวิชา จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ โครงงานวิทยาศาสตร์ การวัดผลและ
ประเมินผลการเรียน คุณลกั ษณะนิสยั ท่ีต้องการใหเ้ กิดขน้ึ และขอ้ ตกลงในการเรียน
2. นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 1ความรู้เก่ียวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ใช้เวลา 10 นาที
3. แบง่ กล่มุ นักเรยี นเป็นกลุม่ ๆ ละ 3 คน
ขั้นนา

1. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนโดยการรว่ มกันสนทนาเก่ียวกับความสาคัญของวทิ ยาศาสตรว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี

2 ครูตั้งคาถามและให้นักเรยี นช่วยกันตอบเกี่ยวกับความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพ่ือโยงเข้าสู่ถงึ เร่ืองความสาคัญและความรู้เกย่ี วกับโครงงานวิทยาศาสตร์
ขั้นสอน

1 ให้นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ศกึ ษาเรือ่ งความรูเ้ กย่ี วกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ความหมายและองค์ประกอบ
ของโครงงานวิทยาศาสตร์ และส่งตัวแทนมาอภปิ รายหน้าชั้นเรียนเพอื่ สรุปถึงความหมายและองค์ประกอบ
ของโครงงานวิทยาศาสตร์

2 ครใู หค้ วามรู้เพ่ิมเติม โดยใชส้ ื่อ PowerPoint
3. นักเรียนทากจิ กรรมตามใบกจิ กรรมท่ี 1.1
4 ขณะนักเรยี นทากจิ กรรมครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม
ขั้นสรปุ
1.ครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรม และร่วมอภปิ รายสรุปบทเรียน

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 2/18, คาบท่ี 3-4)
ขน้ั นา

1 ครูทบทวนเน้ือหาทเี่ รียนในครัง้ ที่ 1
2 ครูยกตัวอย่างบทคดั ย่อโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และเลา่ ถึงโครงงานอนื่ ๆให้นักเรยี นฟังเพอื่ เขา้ สูเ่ ร่อื ง
คณุ คา่ และประโยชน์ของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
ขัน้ สอน
1 นกั เรยี นศึกษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการสอนในหัวข้อเรื่อง คุณคา่ และประโยชน์ของโครงงาน
วิทยาศาสตร์
2 ครูสนทนากบั นักเรยี นและรว่ มอภิปรายกับนักเรยี น และเน้นให้นักเรียนเหน็ คุณค่าและประโยชนข์ อง
โครงงานวทิ ยาศาสตร์

3 ครูให้ความร้เู พิ่มเติม โดยใช้สอ่ื PowerPoint
4 ครใู ห้นักเรยี นทากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 1.2 โดยเขียนแผนผังเร่ืองคุณค่าและประโยชน์ของ
โครงงานวิทยาศาสตร์
ขน้ั สรปุ
1. ครูให้นักเรียนนาเสนอแผนผงั คุณค่าและประโยชนข์ องโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยครูนาอภปิ ราย
เพื่อให้ได้ข้อสรุป และชใี้ หน้ ักเรียนถึงคุณคา่ และประโยชนใ์ นการทากิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
1. สือ่ การเรยี นรู้
หนังสือเรียน หนว่ ยท่ี 1 เรอื่ ง ความรเู้ กย่ี วกับโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ใบกิจกรรมท่ี 1.1–1.2
PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยท่ี 1 วดี ีทศั น์โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อย่าง บทคดั ย่อโครงงาน
วิทยาศาสตร์ แบบทดสอบก่อนเรยี น และหลังเรียน
2. แหล่งการเรียนรู้
หนงั สอื วารสาร เกย่ี วกับวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อนิ เทอรเ์ น็ต www.google.com

การวัดและการประเมินผล
1. การวัดผลและการประเมนิ ผล

1.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ความมวี นิ ยั และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ
70 ผา่ นเกณฑ์

1.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
1.3 สังเกตการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่มโดยใชแ้ บบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
1.4 ตรวจใบกจิ กรรม
1.5 ตรวจแบบฝึกหัด
2. เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ความมีวนิ ัยและความรับผดิ ชอบตอ้ งได้คะแนน ไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ
70 ผ่านเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
2.3 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 70 ผา่ น
เกณฑ์
2.4 ใบกิจกรรมต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
2.5 แบบฝึกหัดต้องได้คะแนนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
งานทม่ี อบหมาย
มอบหมายใหน้ กั เรยี นศึกษาบทคดั ยอ่ โครงงานวทิ ยาศาสตร์

ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน
1. ผลการนาเสนองานจากใบกิจกรรม
2. ผลการทาแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 ครทู บทวนเนื้อหาทเี่ รยี นในครั้งท่ี
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 1

เอกสารอ้างองิ
1. หนงั สือเรยี นวชิ า โครงการวทิ ยาศาสตร์ (20000–1306)
2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่อื สง่ิ พมิ พ์ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั เนื้อหาบทเรียนตามบรรณานกุ รม

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 2 หน่วยที่ 2
ช่ือวิชา โครงการวทิ ยาศาสตร์ (20000–1306) เวลาเรยี นรวม 36
คาบ
ชือ่ หน่วย วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์กับโครงงานวิทยาศาสตร์ สอนครงั้ ท่ี 3 - 4 /18
ช่อื เรือ่ ง วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์กบั โครงงานวิทยาศาสตร์ จานวน 4 คาบ

หัวข้อเรื่อง
2.1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
2.2 วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์
2.3 วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์กับการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
แนวคิดสาคญั
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คอื วิธีการและข้ันตอนท่ีใชใ้ นการดาเนนิ การค้นควา้ หาความรทู้ างวิทยาศาสตร์
แบ่งออกเป็น วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และจิตวทิ ยาศาสตร์ วิธกี ารทาง
วิทยาศาสตรเ์ ปน็ วิธกี ารท่นี กั วิจัยและนกั วิทยาศาสตรใ์ ชเ้ ป็นแนวทางในการศึกษาหรือแก้ปญั หาเรือ่ งใดเรอื่ งหนึ่ง
อย่างมลี าดับขนั้ ตอน ซึง่ ลาดับข้นั ตอนของวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ท่นี าไปใชใ้ นการทาโครงงานวิทยาศาสตร์มี
ทงั้ หมด 5 ขัน้ ตอน ได้แก่ การต้ังปัญหา ตง้ั สมมตฐิ าน เกบ็ รวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์ขอ้ มลู สรุปผลการศกึ ษาหรือ
การทดลอง การใชว้ ิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ จะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นา
ปรับปรุงทักษะในการแก้ปญั หาของนักเรยี นให้มปี ระสิทธิภาพ ซ่ึงเป็นเปา้ หมายของการเรียนวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เปน็ ศักยภาพทตี่ ้องพฒั นาให้เกดิ ขึน้ ในตัวผู้เรยี น
สมรรถนะย่อย
แสดงความรแู้ ละปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จุดประสงค์การปฏิบัติ

1.อธบิ ายถึงประเภทและความหมายกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้
2.บอกวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ได้
3.สามารถนาเอาวิธกี ารทางวิทยาศาสตรไ์ ปใช้ในการแก้ปญั หาได้
4.สามารถนาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงตอ่ เวลา ความซ่ือสัตย์ สุจริต มคี วามรบั ผดิ ชอบ อดทน ความ
มนี า้ ใจและแบ่งบนั ความรว่ มมือ/ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ นื่

เน้ือหาสาระ
1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Process of Science) คือวธิ กี ารขั้นตอนท่ใี ช้ในการดาเนินการคน้ คว้า

หาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 3 ประเภทได้แก่ วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวทิ ยาศาสตร์

2 วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เปน็ วธิ กี ารท่ีนักวทิ ยาศาสตร์ใช้แสวงหาความรู้และ
เปน็ แนวทางในการศกึ ษา หรือแก้ปัญหาในเรื่องใดเร่ืองหน่ึงอย่างมลี าดบั และข้นั ตอน การแสวงหาความรู้ ความ
เข้าใจที่ถูกต้องและน่าเช่อื ถอื ในทกุ ๆ ศาสตรจ์ ะต้องอาศยั วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์เพื่อตอบคาถาม และเพอ่ื
แก้ปัญหา ซึ่งได้แบ่งขนั้ ตอนวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ใช้ในการแสวงหาความรเู้ ปน็ 5 ขั้นตอนดงั น้ี

ข้ันท่ี 1 ตง้ั ปัญหา
ข้ันท่ี 2 ตัง้ สมมติฐาน
ขัน้ ท่ี 3 เก็บรวบรวมข้อมลู
ขน้ั ท่ี 4 วเิ คราะห์ข้อมลู
ขัน้ ที่ 5 สรปุ ผลการศึกษาหรือการทดลอง
การเรยี นวทิ ยาศาสตร์ในปจั จุบนั จะต้องสนบั สนนุ ให้นกั เรยี นได้เรียนร้จู ากประสบการณ์ที่ไดป้ ฏิบัติจริง มี
กระบวนการสารวจ ทดลอง ตรวจสอบด้วยเคร่อื งมอื แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ทางานร่วมกัน มีความรับผิดชอบ
กล้าคิด กล้าแสดงออก กจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตรเ์ ปน็ กิจกรรมหนง่ึ ที่จะต้องนาเอาวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์มา
ใชใ้ นการศึกษาเพ่ือคน้ หาคาตอบของปัญหาเชงิ วิทยาศาสตร์
การใชว้ ิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาและ
ปรบั ปรุงทักษะในการแก้ปญั หาของนักเรียนให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิง่ ขึ้น การเรียนรู้โดยการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์
เปน็ กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ผู้เรียนในดา้ นตา่ ง ๆ ทั้งความรใู้ นเรอื่ งที่สนใจ ทกั ษะแก้ปัญหาด้วยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์
ทักษะการใช้เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ ตลอดจนมจี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี วามอดทนพากเพยี ร มีคุณธรรม จริยธรรม
และค่านิยมในการใช้เทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์ การใช้วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ในการแก้ปัญหาเป็นเป้าหมาย
หลกั ของการเรียนวิทยาศาสตร์ และเป็นศักยภาพที่ต้องพฒั นาให้เกดิ ขน้ึ ในตวั ผเู้ รยี น
กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 3 /18, คาบที่ 5- 6-/ 36)
1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยที่ 2 วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์กับโครงงานวิทยาศาสตร์
2. แบง่ กล่มุ นกั เรียนเป็นกลมุ่ ๆ ละ 4 คน
ขน้ั นา
ครตู ้งั ปญั หาให้นักเรียนคดิ หาแนวทางในการแก้ไขและเชื่อมโยงสกู่ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ขน้ั สอน
1 ครูอธิบายเนื้อหาเรือ่ งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้สือ่ PowerPoint
2 นักเรียนศกึ ษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอนในหัวข้อเรื่องกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
3 นกั เรยี นทากจิ กรรมตามใบกิจกรรมท่ี 2.1
4 ขณะนักเรยี นทากิจกรรมครูจะสังเกตการทางานกลมุ่

ขัน้ สรปุ
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรม และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ท่ี 4 /18, คาบท่ี 7- 8-/ 36)
ขั้นนา
ครูทบทวนเน้อื หาในคร้งั กอ่ นและตั้งคาถามนักเรียนวา่ ใครเคยนาเอาวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ไปแกป้ ญั หาใน
ชีวติ ประจาวนั บ้าง อยา่ งไร
ขั้นสอน
1 ครู บรรยายและให้นักเรยี นศึกษาเน้ือหาในหัวข้อเรื่องวิธีการทางวิทยาศาสตร์กับการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
2 นักเรยี นทากจิ กรรมตามใบกิจกรรมที่ 2.2
2 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนมาอภปิ รายหน้าชัน้ เรยี นเพื่อสรปุ
3 ครูใหค้ วามรูเ้ พิม่ เติม โดยใช้ส่อื PowerPoint
4 ขณะนักเรยี นทากจิ กรรมครจู ะสังเกตการณท์ างานกลุ่ม
ข้นั สรุป
ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรม และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรยี น
สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
1. ส่ือการเรยี นรู้ หนังสือเรียน หนว่ ยท่ี 2 เรอ่ื งวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรก์ ับโครงงานวิทยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี
2.1 และ 2.2 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลังเรยี น และPowerPoint ประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 2
2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนังสือ วารสาร เก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอนิ เทอร์เน็ต
การวัดและการประเมนิ ผล
1. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
1.1 แบบประเมินพฤตกิ รรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 ผา่ น
เกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนหลงั เรียน
1.3 สังเกตการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมนิ ผล การปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่ม
1.4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝึกหดั
2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมวี ินัยและความรับผิดชอบต้องไดค้ ะแนน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 ฅ
ผ่านเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุม่ ต้องได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2.4 ใบกิจกรรมตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2.5 แบบฝึกหัดตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานท่ีมอบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทบทวนเนือ้ หารวมทัง้ ความสมบรู ณ์ของแบบฝกึ หดั และใบกจิ กรรม

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเรจ็ ของผู้เรียน
1. ผลการนาเสนองานจากใบกิจกรรม
2. ผลการทาแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 2
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 2

เอกสารอ้างองิ
1. หนังสือเรียนวชิ าโครงการ วทิ ยาศาสตร์ (20000–1306)
2. เว็บไซต์และส่ือสง่ิ พมิ พ์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั เน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานกุ รม

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 หน่วยท่ี 3
ชือ่ วิชา โครงการวทิ ยาศาสตร์ (2000–1306) เวลาเรียนรวม 36 คาบ
ช่ือหน่วย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สอนคร้งั ท่ี 5-8 /18
ชอื่ เรอ่ื ง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จานวน 8 คาบ

หัวข้อเรอ่ื ง
3.1 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขน้ั มูลฐาน
3.2 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขน้ั สงู หรือขั้นผสมหรอื ขั้นบูรณการ

แนวคิดสาคัญ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นหัวใจท่ีสาคัญของกระบวนการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์

หมายถึงคุณลักษณะที่มีความจาเป็นต้องมีในตัวของผู้ท่ีจะต้องอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา
ฅหรือปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นทักษะกระบวนการพ้ืนฐานที่มีความสาคัญและจาเป็นในการเรียนรู้ ซ่ึงแบ่งออกเป็น
13 ทักษะด้วยกัน คือ ทักษะที่ 1 – 8 เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพื้นฐาน ได้แก่ ทักษะการ
สังเกต ทักษะการวัด ทักษะการจาแนก ทักษะการคานวณและการใช้จานวนทักษะการลงความเห็นจาก
ขอ้ มลู ทกั ษะการพยากรณ์ ทักษะการสอ่ื ความหมาย ทกั ษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติและมิติกับ
เวลา และทกั ษะท่ี 9 – 13 เปน็ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้ันสูงหรอื ข้ันผสม หรือข้ันบูรณการได้แก่
การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ทักษะการต้ังสมมติฐาน ทักษะการ
ควบคมุ และกาหนดตัวแปร ทักษะการทดลอง
สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้และปฏบิ ัติเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ
1. อธบิ ายถงึ ประเภทและความหมายกระบวนการทางวิทยาศาสตรไ์ ด้
2. บอกวิธีการทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้
3. สามารถนาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใชใ้ นการแก้ปญั หาได้
4. สามารถนาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใชใ้ นการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ มคี วามรบั ผิดชอบ อดทน ความมนี ้าใจ
และแบ่งบัน ความรว่ มมือ/ยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื
เนอ้ื หาสาระ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง คุณลักษณะ ที่มีความจาเป็นต้องมีในตัวของผู้ที่จะต้องอาศัย
วิธกี ารทางวิทยาศาสตรใ์ นการแกป้ ญั หา หรือปฏิบัตงิ านตา่ ง ๆ เป็นหัวใจที่สาคัญของกระบวนการศึกษาทางด้าน
วทิ ยาศาสตร์ การดาเนินการแกป้ ัญหา โดยวธิ ีการทางวิทยาศาสตรจ์ ะสัมฤทธิ์ผลมากน้อยเพียงใดน้ันขึ้นอยู่กับ

ผู้ดาเนินการจะมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากน้อยเพียงใด ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เปรยี บเสมือนเครอื่ งมือท่จี าเป็นในการแสวงหาความรแู้ ละแกป้ ัญหา เปน็ ทกั ษะทจี่ าเป็นตอ้ งใช้ในการทาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ เป็นทักษะกระบวนการพ้ืนฐานท่ีมีความสาคัญและจาเป็นในการเรียนรู้ท้ังวิชาท่ีมีเนื้อหาเป็น
วิทยาศาสตรแ์ ละวิชาอ่ืนทไี่ ม่ใชว่ ทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ ต้องเน้นให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจในกระบวนการซ่ึงสามารถนาไปใช้
ในการแสวงหาความรู้และนาไปใช้ในแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่ง
ออกเป็น 13 ทักษะ โดยยึดตามแนวของสมาคมเพ่ือพัฒนาความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์(The American
Association For Advancement of Science:AAAS ) ทักษะท่ี 1 – 8 เป็นทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ข้ันพ้ืนฐาน ทักษะท่ี 9 – 13 เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันสูงหรือขั้นผสม
หรอื ขนั้ บูรณการ
กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 5 /18, คาบท่ี 9- 10 / 36)
1. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 3 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเปน็ กลุม่ ๆ ละ 4 คน
3. ครใู ห้นกั เรยี นดเู น้ือหาหน่วยท่ี 3
ข้นั นา

ครูสนทนาถงึ ลักษณะของนักวิทยาศาสตร์ เชน่ การเป็นคนช่างสงั เกตเพ่ือนาเข้าสูเ่ ร่อื งทักษะขน้ั มลู ฐาน
ขนั้ สอน

1 ครอู ธบิ าย เน้อื หาพร้อมยกตวั อย่างเกีย่ วกบั ทกั ษะขนั้ มูลฐานด้านต่างๆ
2 ครูให้นกั เรียนทาการศกึ ษาทกั ษะข้ันมูลฐาน และทากิจกรรมที่ 3.1
3 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนมาอภิปรายหน้าชน้ั เรยี นเพื่อสรุป
4 ขณะนักเรยี นทากจิ กรรมครจู ะสังเกตการทางานกลมุ่
ข้นั สรุป
ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรม และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรียน
กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 6 /18, คาบท่ี 11- 12-/ 36)
ข้ันนา ครสู นทนาถึงการนาเอาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
ขน้ั สอน
1 ครูทบทวนเกยี่ วกับทกั ษะข้ันมลู ฐาน
2 ครูใหน้ ักเรียนทากจิ กรรมท่ี 3.2
3 นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนมาอภิปรายหนา้ ชนั้ เรยี นเพ่ือสรุป
4 ขณะนักเรียนทากิจกรรมครูจะสังเกตการทางานกลมุ่
ข้นั สรุป
ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรม และร่วมอภปิ รายสรุปบทเรียน

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 7 /18, คาบที่ 13- 14-/ 36)
ขั้นนา
ครตู งั้ คาถามใหน้ ักเรียนช่วยกันตอบ

ข้นั สอน
1 ครอู ธบิ าย เนอื้ หาพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกบั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ัน้ สูงหรอื ขั้นบรู ณการ 5
ทักษะ
2 ครูให้นกั เรยี นทาการศกึ ษาทกั ษะขน้ั สูง และทากิจกรรมท่ี 3.3
3 นักเรยี นแต่ละกลุม่ สง่ ตวั แทนมาอภิปรายหนา้ ช้ันเรยี นเพื่อสรปุ
4 ขณะนักเรยี นทากจิ กรรมครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม
ขั้นสรปุ
ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรม และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 8 /18, คาบที่ 15- 16-/ 36)
ข้ันนา
ครูตงั้ คาถามให้นักเรยี นช่วยกันตอบ
ขั้นสอน
1 ครทู บทวนเกยี่ วกบั ทกั ษะขั้นข้ันบูรณการ 5 ทกั ษะ

2 ครูให้นกั เรยี นทากจิ กรรมท่ี 3.4
3 นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนมาอภปิ รายหน้าชน้ั เรียนเพื่อสรุป
4 ขณะนักเรียนทากจิ กรรมครจู ะสงั เกตการทางานกลมุ่
ข้ันสรปุ
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรม และรว่ มอภิปรายสรปุ บทเรยี น
ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1. ส่อื การเรียนรู้ หนงั สือเรยี น หน่วยท่ี 3 เรอื่ งทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ใบกิจกรรมท่ี 3.1 -
3..4 แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น และPowerPoint ประกอบการสอน หน่วยที่ 3
2. แหล่งการเรียนรู้ หนงั สอื วารสาร เกยี่ วกบั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอินเทอรเ์ น็ต www.google.com
การวดั และการประเมินผล
1. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
1.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมวี นิ ยั และความรบั ผดิ ชอบ ต้องได้คะแนน ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 70 ผ่าน
เกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนหลงั เรียน

1.3 สงั เกตการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมนิ ผล การปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่ม
1.4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝึกหดั
2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมนิ พฤติกรรม ความมวี นิ ัยและความรับผิดชอบต้องได้คะแนน ไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ 70 ผา่ น
เกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤตกิ รรมปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.4 ใบกิจกรรมต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.5 แบบฝึกหัดต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
งานทมี่ อบหมาย
งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหท้ บทวนเนอ้ื หารวมท้งั ความสมบูรณข์ องแบบฝึกหัดและใบกิจกรรม
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเรจ็ ของผเู้ รียน
1. ผลการนาเสนองานจากใบกจิ กรรม
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 3
เอกสารอา้ งอิง
1. หนงั สอื เรียนวชิ าโครงการ วิทยาศาสตร์ (2000–1306)
2. เวบ็ ไซต์และสือ่ ส่ิงพิมพท์ เี่ กี่ยวข้องกับเน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานกุ รม

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 4 หน่วยที่ 4
ชอื่ วิชา โครงการวิทยาศาสตร์ (2000–1306 ) เวลาเรยี นรวม 36
คาบ
ชือ่ หน่วย ประเภทโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สอนครงั้ ท่ี 9-10 /18
ชื่อเรอื่ ง ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์ จานวน 4 คาบ

หัวข้อเรอ่ื ง
4.1 โครงงานประเภทสารวจ
4.2 โครงงานประเภททดลอง
4.3 โครงงานประเภทสิง่ ประดิษฐ์
4.4 โครงงานประเภทสร้างทฤษฎีหรอื อธิบาย
แนวคดิ สาคญั

โครงงานเป็นการทากิจกรรมเพ่ือที่จะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
ตามความสนใจ ตามความถนัด และตามความสามารถของผู้เรียน ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษา ของครู
ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบ การลงมือปฏิบัติ รวมทั้งร่วมกาหนดแนวทาง
ในการวัดและประเมินผล เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
โครงงานแบ่งตามสาระการเรียนรู้ได้ 2 ประเภทคือ โครงงานตามสาระการเรียนรู้ และโครงงานตามความสนใจ
แตถ่ า้ พจิ ารณาดจู ากลักษณะของการดาเนินงาน สามารถจัดประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ออกเป็นประเภท
ใหญๆ่ ได้ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภทสร้างทฤษฎี โครงงานประเภททดลอง
และ โครงงานประเภทสิ่งประดษิ ฐ์
สมรรถนะย่อย

แสดงความรแู้ ละปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์
จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ
1.อธิบายความหมายโครงงานวทิ ยาศาสตร์แตล่ ะประเภทได้
2.ยกตวั อย่างและจาแนกโครงงานแตล่ ะประเภทได้
3. สามารถบอกรูปแบบโครงงานท่ีต้องการจะศึกษาพรอ้ มทั้งบอกเหตผุ ลได้
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สจุ ริต มคี วามรบั ผิดชอบ อดทน
ความมีนา้ ใจและแบง่ บนั ความรว่ มมอื /ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน
เน้ือหาสาระ

การทาโครงงานวิทยาศาสตร์อาจทาไดห้ ลายรปู แบบเมื่อพิจารณารูปแบบและลกั ษณะของกิจกรรม

การศกึ ษาคน้ คว้าสามารถจัดประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ 4 ประเภทได้แก่

1. โครงงานประเภทสารวจ

2. โครงงานประเภททดลอง

3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์

4. โครงงานประเภททฤษฎี

โครงงานประเภทสารวจ

เปน็ การสารวจขอ้ มลู ท่มี ีอยใู่ นธรรมชาติตามความสนใจของผู้เรียน แลว้ นามาจาแนกออกเป็นหมวดหมู่

และจัดทาให้เปน็ ระบบระเบยี บ นาเสนอในรปู แบบตา่ งๆ ลกั ษณะโครงงานประเภทนไี้ ม่มีการควบคมุ ตัวแปร

ตา่ งๆ เป็นโครงงานท่ีงา่ ยเหมาะสาหรับการเรมิ่ ตน้ ในการทาโครงงานของผู้เรียน ในการสารวจและรวบรวม

ข้อมูลอาจทาได้หลายรปู แบบ ดังน้ี

โครงงานประเภททดลอง

โครงงานประเภทน้ีเป็นการหาคาตอบของปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยการออกแบบและดาเนินการ

ทดลอง เพื่อหาคาตอบหรอื ตรวจสอบสมมตฐิ าน การออกแบบการทดลองมีการจัดทาตัวแปรอิสระ หรือตัวแปร

ต้น เพ่ือดูผลที่เกิดข้ึนกับตัวแปรตามตาม และมีการควบคุมตัวแปรต่างๆท่ีอาจมีผลต่อตัวแปรท่ีต้องการศึกษา

ตัวอย่างโครงงาน เช่น การศึกษาอิทธิพลชองแสงสีท่ีมีต่อการเจริญเติบโตของพืช กะปิกับการปักชาก่ิงไม้

น้ามะพร้าวชว่ ยเร่งการงอกรากของก่งิ โป๊ยเซยี น เปน็ ต้น

โครงงานประเภทส่งิ ประดษิ ฐ์
โครงงานประเภทนี้เป็นการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ต่างๆ เพื่อ

ประโยชน์ในการทางาน การใช้สอยอ่ืนๆ ให้ใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ โดยอาศัยความรู้หรือหลักการทาง
วิทยาศาสตร์มาประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นา อาจเป็นการประดิษฐข์ ้ึนมาใหม่ หรอื อาจดดั แปลงปรับปรุงของเดิมที่มี
อยู่แล้วให้ใช้งานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งอาจเป็นการเสนอหรือสร้างแบบจาลองต่างๆเพื่อประกอบการ
อธิบายแนวคิดในเรื่องต่างๆด้วย ตัวอย่างโครงงานประเภทน้ี เช่น เครื่องวัดส่วนสูงระบบดิจิตอล ชุดละออง
น้าพลงั งานแสงอาทติ ย์ เครอ่ื งย่อยสารพัดประโยชน์ จานรองแกว้ จากเศษกระดาษ เป็นต้น
โครงงานประเภทสรา้ งทฤษฎีหรืออธิบาย

โครงงานประเภทน้เี ปน็ การสร้างทฤษฎี หลักการแนวคิดใหม่ๆท่ีไม่มีใครคิดมาก่อน หรือขัดแย้ง หรือ
ขยายจากของเดิมท่ีมีอยู่ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ยากไม่เหมาะกับนักเรียนในระดับมัธยม การทา
โครงงานประเภทน้ีผู้ทาจะต้องมีความรู้พื้นฐานในเร่ืองน้ันๆ เป็นอย่างดี มีการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลอย่างลึกซ้ึง
จึงจะสามารถกาหนด ความรู้ หลักการ ทฤษฎี แนวคิดใหม่ๆได้ ซึ่ง แนวคิด หลักการ ความรู้ ทฤษฎีนั้นต้อง
ผ่านการพิสูจน์ มีหลักการทางวิทยาศาสตร์มีทฤษฎีสนับสนุน อาจเสนอในรูปของ คาอธิบาย สูตร หรือ
สมการ เช่น ทฤษฎีสัมพันธภาพของไอน์สไตน์ กาเนิดของทวปี และมหาสมทุ ร

กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ท่ี 9 /18, คาบที่ 17- 18-/ 36)
1. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 4 ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
2. แบง่ กล่มุ นักเรียนเปน็ กลุ่มๆ ละ 4 คน
3. ครูให้นักเรยี นดูเน้ือหาหนว่ ยที่ 4
ขัน้ นา
ครนู าเข้าสูบ่ ทเรียนโดยใหน้ ักเรียนดูโครงงานประเภทต่างๆ
ขั้นสอน
1 ครูอธบิ าย เนอ้ื หาเก่ยี วกับประเภทของโครงงาน
2 ครอู ธิบายและยกตวั อย่างถึงโครงงานประเภทสารวจและประเภททดลอง
3 นักเรียนศึกษาเน้ือหาตวั อย่างโครงงานประเภทสารวจและประเภททดลอง
4 ครใู ห้นักเรียนทากจิ กรรมตามใบกิจกรรมที่ 4.1
5 นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนมาอภิปรายหน้าช้นั เรียนเพ่ือสรุป
6 ขณะนักเรยี นทากจิ กรรมครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม
ขั้นสรุป
ครูและนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรม และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรยี น
กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 10 /18, คาบท่ี 19- 20-/ 36)
ขนั้ นา
ครูให้นกั เรียนดภู าพไอน์สไตน์เพอื่ เชื่อมโยงเขา้ สู่โครงงานประเภทสรา้ งทฤษฎี และส่งิ ประดิษฐ์
ขั้นสอน
1 ครอู ธบิ าย เนื้อหาเกีย่ วกับโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ และสร้างทฤษฎี
2 ครยู กตัวอย่างโครงงานประเภทสง่ิ ประดษิ ฐ์ และสรา้ งทฤษฎี ใหน้ กั เรียนดู
3 นักเรียนศกึ ษาเนื้อหาตัวอย่างโครงงานประเภทสงิ่ ประดิษฐ์ และสรา้ งทฤษฎี
4 ครูให้นกั เรียนทากิจกรรมตามใบกจิ กรรมที่ 4.2
5 นักเรียนแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนมาอภิปรายหน้าชั้นเรยี นเพื่อสรุป
6 ขณะนักเรียนทากิจกรรมครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม
ขน้ั สรุป
ครแู ละนักเรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรม และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรยี น
สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้
1. ส่อื การเรียนรู้ หนังสือเรียน หนว่ ยที่ 4 เร่อื ง ประเภทของโครงงาน ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 - 4.2
แบบทดสอบก่อนเรยี น และหลงั เรียน และPowerPoint ประกอบการสอน หน่วยท่ี 4
2. แหล่งการเรยี นรู้ หนงั สือ วารสาร เกย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอนิ เทอร์เนต็ www.google.com

การวดั และการประเมินผล
1. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
1.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ความมวี ินัย และความรบั ผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 70 ผ่าน
เกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นหลงั เรยี น
1.3 สงั เกตการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มโดยใชแ้ บบประเมินผล การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่ม
1.4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝึกหัด
2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤตกิ รรม ความมวี นิ ัยและความรบั ผดิ ชอบต้องไดค้ ะแนน ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 70 ผา่ น
เกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลังเรียน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2.3 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2.4 ใบกิจกรรมต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.5 แบบฝกึ หัดตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
งานทมี่ อบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทบทวนเนือ้ หารวมท้ังความสมบรู ณ์ของแบบฝกึ หดั และใบกิจกรรม
ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเร็จของผ้เู รียน
1. ผลการนาเสนองานจากใบกิจกรรม
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยท่ี 4
เอกสารอา้ งอิง
1. หนงั สือเรยี นวิชาโครงการ วทิ ยาศาสตร์ (2000–1306)
2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่อื สง่ิ พมิ พท์ ่ีเก่ียวข้องกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 5 หน่วยท่ี 5
ชื่อวิชา โครงการวิทยาศาสตร์ (20000 –1306) เวลาเรยี นรวม 36
คาบ
ชือ่ หน่วย ขัน้ ตอนการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สอนครัง้ ท่ี 11-18
/18
ช่ือเรือ่ ง ข้นั ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ จานวน 14 คาบ

หัวข้อเร่ือง
5.1 คิดหวั ขอ้ เรื่องหรือปญั หาที่จะศึกษา
5.2 การวางแผนในการทา
5.3 การลงมอื ทาโครงงานวิทยาศาสตร์
5.4 การเขียนรายงาน
5.5 การแสดงผลงาน
แนวคดิ สาคัญ
การทาโครงงานวิทยาศาสตร์เปน็ กจิ กรรมท่ีมีการดาเนนิ การหลายขั้นตอน ในการจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ให้
ประสบผลสาเร็จน้นั จะต้องมีการทาอย่างเป็นระบบมีการวางแผนกาหนดกจิ กรรม โดยจะนาเอาวธิ ีการทาง
วิทยาศาสตรม์ าใช้ใหเ้ ป็นไปตามลาดับขัน้ เร่มิ ตั้งแต่ การเลือกหวั ข้อ หรือปัญหาที่จะศกึ ษา การวางแผนในการทา
โครงงาน การลงมือในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ การเขยี นรายงาน และ การนาแสนอจดั แสดงผลงาน
สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้และปฏบิ ัตเิ ก่ียวกับขนั้ ตอนทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์
จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
1. อธิบายลาดับข้ันตอนในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
2. สามารถเขียนเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตรท์ ีจ่ ะดาเนนิ การศกึ ษา
3. คดิ และเลือกหวั ข้อเรอื่ งทีจ่ ะทาโครงงานได้อยา่ งเหมาะสม
4. ออกแบบการทดลองและวางแผนดาเนนิ การทาโครงงานวิทยาศาสตร์
5. บอกหลักการและรปู แบบการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
6. เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ทีไ่ ด้จดั ทาได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ มคี วามรบั ผิดชอบ อดทน
ความมนี ้าใจและแบง่ บัน ความรว่ มมอื /ยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อนื่

เนือ้ หาสาระ
การทาโครงงานวิทยาศาสตร์เปน็ กจิ กรรมที่มีการดาเนินการหลายขนั้ ตอนและเปน็ กจิ กรรมทต่ี อ่ เน่ืองตั้งแต่เรมิ่ ตน้
จนถึงข้นั สุดท้าย ซ่ึงการจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ให้ประสบผลสาเรจ็ นัน้ จะตอ้ งมีการทาอย่างเป็นระบบมกี าร
วางแผนกาหนดกิจกรรม โดยจะนาเอาวิธีการทางวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ใหเ้ ป็นไปตามลาดับขั้น ขั้นตอนในการทา
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ดังนี้ การคิดหัวขอ้ เรื่องหรอื ปัญหาทีจ่ ะศึกษา การวางแผนในการทา การลงมอื ในการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ การเขียนรายงาน และการแสดงผลงาน

การคดิ หวั ขอ้ เรื่องหรือปัญหาทจี่ ะศึกษา
การคดิ หัวข้อเร่ืองหรือปัญหาท่ีจะศึกษาเป็นขั้นทส่ี าคญั และยากท่สี ดุ ซึง่ นกั เรยี นต้องคิดและเลอื กดว้ ย

ตนเอง ซง่ึ หัวข้อเร่อื งของโครงงานควรมคี วามเฉพาะเจาะจง และชัดเจน บ่งชดั วา่ จะศึกษาสง่ิ ใด และควรเปน็
เรอื่ งที่แปลกใหม่ซง่ึ แสดงถึงความคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ หัวข้อเรอื่ งควรได้มาจากความสนใจ ความอยากรู้อยากเหน็
ความสงสัย และควรจะคานึงถึงประโยชนท์ จี่ ะได้รับจากการทาโครงงานวิทยาศาสตร์จะทาให้การทาโครงงาน
วิทยาศาสตรม์ ีคุณคา่ ยิ่งข้ึน ในการคัดเลือกหัวข้อเรื่องทีจ่ ะทาโครงงานน้นั มหี ลักสาคัญคือนักเรยี นควรเลือกหรือ
คดิ หวั ขอ้ เรื่องที่จะทาโครงงานไว้หลาย ๆ หวั ขอ้ แลว้ จึงพิจารณาคัดหรือตัดเร่ืองทเ่ี ห็นวา่ มคี วามเป็นไปได้น้อย
ไม่ค่อยมีคุณค่าหรอื ไดป้ ระโยชนน์ ้อย ตลอดจนเรอื่ งทค่ี ิดว่าเมื่อทาไปแล้วนา่ จะมปี ญั หา หรอื เกดิ ความยุ่งยาก จน
เหลอื เรือ่ งทคี่ ดิ ว่าจะทามากท่ีสดุ เพยี งเร่อื งเดยี ว
การวางแผนในการทาโครงงาน
การวางแผนในการทาโครงงานและการจัดทาเคา้ โครงของโครงงานมีความสาคัญมาก เป็นส่งิ ทีต่ อ้ งดาเนินการ
อย่างรัดกุมซ่งึ ประกอบดว้ ย
1 การกาหนดปัญหา หรือที่มาและความสาคญั ของโครงงาน
2 การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์และสมมติฐานของการศึกษาคน้ ควา้ (ถ้ามี)
3 กาหนดขอบเขตของการศึกษา
4 การอ่านและศึกษาค้นควา้ จากเอกสารท่ีเก่ียวข้องสมั พนั ธ์กับเรอ่ื งทีต่ ้องการศึกษา เพ่อื ให้เกดิ ความรอบรู้
ในเรือ่ งนน้ั
5 การวางแผนวิธีดาเนินงานซ่ึงไดแ้ ก่ แนวทางในการศึกษาค้นคว้า วัสดุ – อปุ กรณท์ ีจ่ าเป็นต้องใชใ้ นการ
ออกแบบการทดลองควบคุมตัวแปร วธิ ีการสารวจ และรวบรวมข้อมลู วธิ กี ารประดิษฐ์ วธิ กี ารวางแผนข้อมูลและ
การปฏิบตั ิงาน เช่น กาหนดระยะเวลาในการดาเนินงานแต่ละข้นั ตอน
การศกึ ษาเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง
หลงั จากทน่ี ักเรยี นไดห้ ัวข้อที่สนใจแล้วขน้ั ต่อมาคอื การศึกษาเอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง ซ่ึงในที่นี้รวมถงึ การขอ
คาปรกึ ษาจากผูท้ รงคณุ วฒุ ิ และการสารวจอุปกรณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วข้องด้วย การศึกษาเอกสารหรอื แหล่งข้อมูลอืน่
ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ จะช่วยใหน้ ักเรยี นไดแ้ นวความคิด หลกั การ ทฤษฎีท่เี ก่ยี วข้องกบั

เร่ืองที่ศึกษา ได้ความรูใ้ นเรอ่ื งที่จะทาการศึกษาเพ่มิ เติมมากขึน้ ชว่ ยให้นักเรยี นกาหนดขอบเขตของเร่อื งทจ่ี ะ
ศกึ ษาคน้ คว้าให้มีความเฉพาะเจาะจงมากข้ึน และสามารถออกแบบ วางแผนการดาเนินการทาโครงงานนั้นได้
อย่างเหมาะสมโดยผา่ นความเหน็ ชอบของอาจารย์ทปี่ รกึ ษา ในการศกึ ษาเอกสารท่เี กีย่ วข้อง นกั เรียนจาเป็นต้อง
มคี วามรู้ความเขา้ ใจในการใช้ห้องสมดุ และผู้ทาโครงงานทุกคนจาเปน็ ต้องมสี มุดบันทึกการปฏิบตั งิ าน ได้จด
บนั ทึกที่มาของข้อมลู ได้แก่ ชื่อเรื่อง ชอ่ื ผเู้ ขียน ชือ่ หนงั สอื สานกั พิมพป์ ที ่ีพมิ พ์ เพ่ือจะนาไปใช้เปน็
เอกสารอา้ งอิง นอกจากเอกสารหนังสือท่ใี ชค้ ้นคว้าแลว้ สถานท่ี บุคคลก็เป็นสง่ิ ท่ีผทู้ าโครงงานต้องระบุให้ชัดเจน
ของแหล่งขอ้ มลู
การเขยี นเค้าโครงย่อของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
หลงั จากที่นกั ศกึ ษาไดห้ ัวข้อเร่ือง และได้ศึกษาเอกสารอา้ งอิงต่าง ๆ อยา่ งเพยี งพอแลว้ ขนั้ ต่อไปคือขนั้ ตอนการ
เขียนเคา้ โครงย่อของโครงงานเสนอตอ่ อาจารย์ทปี่ รึกษาเพื่อขอความเหน็ ชอบก่อนจะ ดาเนนิ การข้นั ต่อไป
เคา้ โครงย่อของโครงงานวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ การเขยี นเพ่ือแสดงแนวความคิด แผนงาน และขัน้ ตอนของการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ ซ่งึ จัดว่าเป็นขนั้ ตอนท่สี าคัญขัน้ ตอนหน่งึ ซึ่งประกอบไปด้วยหัวขอ้ ดงั น้ี
1.ชือ่ โครงงาน เปน็ ข้อความที่กะทัดรัด ชดั เจน ส่ือความหมายตรง และมีข้อความกระชบั วา่ จะศึกษาอะไร
2. ช่ือผทู้ าโครงงาน เป็นขอ่ื ผู้จดั ทาระบบุ ทบาทหนา้ ท่ีให้ชดั เจน
3.ช่อื ที่ปรกึ ษาโครงงาน เปน็ ผู้ดูแลควบคุม ให้คาแนะนา
4. ทมี่ าและความสาคัญของโครงงาน อธบิ ายไดว้ า่ เหตุใดจึงเร่มิ ทาโครงงานน้มี ีความสาคัญอยา่ งไร มหี ลกั เกณฑ์
หรอื ทฤษฎีอะไรที่เกีย่ วข้องเร่ืองทีท่ าเปน็ เรื่องใหมห่ รือมีผอู้ ่ืนไดเ้ คยศกึ ษาค้นควา้ เร่ืองทานองนีไ้ ว้บา้ งแลว้ ถ้ามี
ได้ผลเป็นอยา่ งไร เรือ่ งทที่ าน้ีไดข้ ยายเพิ่มเติมจากทีผ่ ู้อ่นื ทาไวอ้ ย่างไร หรือเป็นการทาซา้ เพื่อตรวจสอบผล

5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาคน้ ควา้ ควรระบใุ ห้ชัดเจน และเป็นส่ิงทส่ี ามารถวัดได้ เปน็ การบอก
ขอบเขตงานทีจ่ ะทาให้ชดั เจนขนึ้

6. สมมติฐานของการศกึ ษาค้นควา้ ( ถ้าม)ี สมมติฐานเป็นการคาดหวังผลท่ีเกดิ ขึ้นไว้ล่วงหน้า ซงึ่ อาจถูก
หรอื ผิดก็ได้ การเขียนสมมติฐานตอ้ งมีเหตุผลคอื มีทฤษฎหี รือหลกั การทางวทิ ยาศาสตรร์ องรบั และท่สี าคญั ต้อง
เปน็ ข้อความทมี่ องเหน็ ตลอดแนวในการดาเนนิ การทดลอง หรือสามารถทดสอบได้

7. วิธดี าเนนิ งาน
(1) วสั ดอุ ปุ กรณท์ ี่ต้องใช้ ระบวุ ัสดุอปุ กรณ์ทจ่ี าเป็นต้องใช้มีอะไรบ้าง วัสดอุ ปุ กรณ์เหลา่ นนั้ มา

จากไหน อะไรบ้างท่ีต้องจดั ซื้อ อะไรบ้างที่ตอ้ งจดั ทาเอง อะไรบ้างที่ต้องขอยมื และขอยมื จากไหน
(2) แนวการศกึ ษาค้นควา้ อธิบายว่าจะออกแบบการทดลองอย่างไร เกบ็ ขอ้ มูลอะไร เก็บ

ขอ้ มลู อย่างไร และเมื่อไหร่
8. แผนปฏบิ ตั ิงาน อธบิ ายเก่ียวกับการกาหนดเวลาในการปฏบิ ัติงานในขน้ั ตอนตา่ ง การทางาน

พรอ้ มท้ังกาหนดเวลาเบื้องตน้ และเวลาเสรจ็ สน้ิ ของการดาเนินการในแต่ละขัน้ ตอน
9. ประโยชน์ หรือผลทีค่ าดว่าจะได้รบั
10. เอกสารอ้างองิ ควรระบุชื่อหนังสือ วารสารต่าง ๆ ท่ีใชป้ ระกอบการทาโครงงาน โดยต้อง

เขยี นให้ถูกต้องตามหลักการเขยี นเอกสารอ้างองิ ดว้ ย

การลงมือทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์
เมอ่ื เค้าโครงยอ่ ของโครงงานไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารย์ทปี่ รกึ ษาแลว้ ขนั้ ต่อไปเป็นข้ันลงมอื ปฏบิ ัติงานตาม
ขัน้ ตอนทรี่ ะบุไวใ้ นเคา้ โครงย่อของโครงงาน ซ่ึงประกอบด้วยการรวบรวมขอ้ มูล การสร้างหรือการประดิษฐ์ การ
ปฏบิ ัตกิ ารทดลอง การคน้ ควา้ จากเอกสารตา่ ง ๆ แล้วแตจ่ ะเปน็ โครงงานประเภทใด อาจมกี ารเปล่ยี นแปลง
เพิม่ เติมจากแผนงานทวี่ างไว้ในตอนแรกบ้างก็ได้ ถา้ การเปลีย่ นแปลงดังกล่าวทาใหผ้ ลงานดขี ึน้ หรอื เป็นการ
แก้ปัญหาท่ีคาดไมถ่ ึงมาก่อน ในกรณีท่มี ีการทดลองควรมกี ารทดลองซา้ เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลทแ่ี น่นอน เมือ่ ดาเนนิ การ
ครบถว้ นตามข้ันตอนไดข้ ้อมูล และวเิ คราะห์ข้อมุลแล้ว จะต้องแปรผลและสรปุ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ วา่ ไดผ้ ล
อยา่ งไร พร้อมท้ังอภิปรายผลไมว่ ่าผลท่ีได้จะตรงตามสมมติฐานท่ีตั้งไวห้ รอื ไม่กต็ าม ความสาเรจ็ ของการทา
โครงงานไม่ได้ข้ึนอยู่กับผลการปฏิบตั ิงาน หรอื การทดลองท่ีได้ตรงกับความคาดหวงั หรอื ไม่ แม้ผลการทดลองทไ่ี ด้
จะไม่เปน็ ตามที่คาดหวงั ก็ถือว่ามคี วามสาเรจ็ ในการทาโครงงาน ในการลงมือปฏบิ ัตงิ านตามขนั้ ตอนควรมีการ
เตรยี มการ
1. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ใหพ้ ร้อมก่อนลงมือปฏิบตั ิงาน
2. มสี มุดสาหรบั บนั ทึกกจิ กรรมทกุ ขัน้ ตอนว่าได้ทาอะไรไปแล้ว ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและขอ้ คิดเห็นอย่างไร
3. ปฏิบัติงานด้วยความละเอยี ดรอบคอบ และบนั ทกึ ข้อมลู ไวใ้ ห้เปน็ ระเบียบและครบถ้วนอยา่ งเป็นระบบ
4. คานงึ ถึงถงึ ความปลอดภยั และความประหยดั ในการปฏิบัติงาน
5. พยายามปฏบิ ตั ิตามแผนงานที่วางไว้แตอ่ าจเปล่ยี นแปลงหรอื เพิ่มเติมหลงั จากเริ่มต้นทางานไปแล้ว เมอื่ คิด
วา่ จะทาใหผ้ ลงานดีขนึ้
6. ควรปฏิบัตงิ านซ้าเพื่อให้ได้ข้อมลู ที่เชือ่ ถือได้มากขึ้น
7. ควรแบง่ งานเปน็ สว่ นยอ่ ย ๆ และทาแต่ละสว่ นใหส้ าเรจ็ ก่อนทาส่วนอื่นต่อไป
8. ควรทางานส่วนท่เี ป็นหลักสาคัญ ๆ ให้เสร็จก่อนแล้วจึงทาส่วนทเ่ี ป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสรมิ เพือ่
ตกแต่งโครงงานวทิ ยาศาสตร์
9. ไม่ควรทางานต่อเนื่องจนเมื่อยล้า จะทาใหข้ าดความระมัดระวงั
10. ถ้าเป็นโครงงานประเภทสง่ิ ประดษิ ฐต์ ้องคานึงถงึ ความคงทน แข็งแรง ขนาดทีเ่ หมาะสมของส่งิ ประดษิ ฐ์
และการใช้งานได้จริง
การเขียนรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์

การเขียนรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ การเสนอผลงานการดาเนนิ การเปน็ เอกสาร เป็นวิธสี ื่อ
ความหมายที่มปี ระสิทธิภาพ เพ่อื ให้คนอืน่ ๆ ได้เข้าใจแนวคิดทม่ี าของโครงงาน จุดประสงค์ วธิ ีดาเนนิ งาน ศึกษา
ข้อมลู ผลทีไ่ ด้ตลอดจนขอ้ สรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เก่ียวกบั โครงงานนนั้ เพื่อเผยแพร่ให้ผูท้ ี่สนใจได้ศึกษา
การเขยี นรายงานควรใช้ภาษาท่ีเขา้ ใจง่าย ชัดเจน ส้ัน ๆ ไม่คลุมเครือ และตรงไปตรงมา และใหค้ รอบคลมุ
ประเดน็ สาคัญ ๆ ทงั้ หมดของโครงงาน โดยการเขยี นเอกสารรายงานน้ันมสี ว่ นประกอบท่ีสาคญั 3 ส่วนคอื . สว่ น
นา สว่ นเนอ้ื เร่อื ง และ ส่วนอ้างอิง
1. สว่ นนา เป็นส่วนประกอบตอนต้น ประกอบไปดว้ ย ปกนอก ปกใน คานา สารบญั เรื่อง/ตาราง/
ภาพประกอบ บทคดั ย่อ คาขอบคณุ ( กิตติกรรมประกาศ )

2. สว่ นเนอ้ื เรือ่ ง เปน็ ส่วนท่ปี ระกอบไปดว้ ยเนือ้ หาทัง้ หมด 5 บทไดแ้ ก่
บทที่ 1 บทนา
บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง
บทท่ี 3 วิธดี าเนินการ
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
บทท่ี 5 สรปุ ผลการศกึ ษา / อภปิ รายและข้อเสนอแนะ

3. ส่วนอ้างองิ เป็นส่วนประกอบท่อี ยู่ตอนทา้ ย ไดแ้ ก่ เอกสารอ้างองิ หรอื บรรณนานกุ รม และภาคผนวก
การแสดงผลงานเปน็ งานข้ันสุดท้ายของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ซงึ่ เปน็ อีกข้ันตอนหน่ึงท่ีมคี วามสาคัญ เปน็
การแสดงผลติ ผลของงานใหค้ นอืน่ ได้รบั ร้แู ละเข้าใจในผลงานและความคดิ ซึ่งในการแสดงผลงานน้นั อาจทาได้
หลายรูปแบบ เช่น การจัดนิทรรศการ ซึง่ มีทง้ั การจัดแสดงอธบิ ายคาพดู หรอื ในรปู แบบของการจัดแสดงโดยไมม่ ี
การอธบิ าย หรือเปน็ รูปแบบการรายงานปากเปลา่ ในการจัดแสดงผลงานนน้ั ทาได้หลายระดบั ได้แก่ การจัด
เสนอผลงานในหอ้ งเรยี น การจดั นิทรรศการในโรงเรยี น และการสง่ ผลงานเขา้ รว่ มแสดงประกวดภายนอก
ขอ้ ควรคานึงถึงการจัดแสดงนิทรรศการ

1. ความปลอดภัยของการจัดแสดง
2. ความเหมาะสมกบั เน้ือหาทจี่ ัดแสดง
3. คาอธิบายทีเ่ ขยี นแสดง ควรเน้นเฉพาะประเดน็ สาคญั และสิ่งท่นี า่ สนใจเท่านนั้ โดยใช้ข้อความ
กะทัดรดั ชัดเจน และเขา้ ใจง่าย
4. ดึงดดู ความสนใจของผเู้ ขา้ ชม โดยใชร้ ูปแบบการแสดงทน่ี ่าสนใจ ใช้สที ี่สดใสเนน้ จดุ สาคัญ หรือ
ใช้วสั ดตุ า่ งประเภทในการจัดแสดง
5. สงิ่ ทแี่ สดงทุกอยา่ ง และการเขียนข้อความต้องถกู ต้อง ไมม่ ีการสะกดผดิ หรืออธิบายหลกั การที่
ผดิ
6. ใชต้ ารางและรูปภาพประกอบ โดยจัดวางอยา่ งเหมาะสม
7. ในกรณที ี่เปน็ สง่ิ ประดิษฐ์ สงิ่ นั้นควรอยใู่ นสภาพท่ีทางานได้อยา่ งสมบูรณ์
การประเมนิ ผลโครงงานวิทยาศาสตร์
ในการจัดแสดงโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนการประเมนิ ผลโครงงานวทิ ยาศาสตร์เปน็ กิจกรรมท่ีมี
ความสาคญั และจาเป็น ตามปกติครูผู้สอนจะเปน็ ผู้ประเมินโครงงานเพื่อเกบ็ คะแนนเป็นสว่ นหน่งึ ของกิจกรรม
การเรียนการสอน หรือมีการประเมนิ โดยคณะกรรมการเพื่อคัดเลือกโครงงานไปแสดงในโอกาสตา่ ง ๆ ในการ
แขง่ ขันเพ่ือตัดสินรางวลั ในระดับต่าง ๆ จะมีการเชญิ ผู้ทรงคุณวุฒิจากบคุ คลภายนอกเขา้ ร่วมการประเมนิ ในการ
ประเมินผลไม่วา่ เพื่อวตั ถปุ ระสงค์ใดมหี ลกั เกณฑท์ ี่คล้ายกนั อาจแตกต่างกันบา้ งในรายละเอียด ซึง่ มี เกณฑ์ในการ
พิจารณามีดังน้ี

1. ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองท่ีทา โดยพิจารณาจาก การใช้หลักการทางวทิ ยาศาสตร์ และ
ศพั ท์เทคนิควิทยาศาสตร์ได้ถูกต้องเหมาะสม และ ความเข้าใจในหลกั การของเร่ืองท่ที า การไดร้ บั ความรู้
เพม่ิ เติมนอกเหนอื จากการเรียนตามหลักสตู รปกติ

2. การใชว้ ธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ในการแกป้ ญั หา โดยพิจารณาจากการสังเกตทนี่ ามาสปู่ ัญหา
มกี ารศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูล ออกแบบการทดลอง การวดั และควบคุมตวั แปรทาได้ครบถกู ต้องอุปกรณ์และ
เครอื่ งมือใช้ได้ถูกต้องเหมาะสม การแปรความหมายและสรุปไดส้ อดคลอ้ งกบั ผลทไี่ ด้

3. ความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์โดยพิจารณาจาก ความแปลกใหม่ของเร่ืองที่ทา มีการดัดแปลง
เพิ่มเติมแนวคิดมากน้อยเพียงใด การเลอื กและการนาวัสดมุ าใช้ และความสามารถในการเสนอแนะ

4. การเขยี นรายงานและการจัดแสดงโครงงาน โดยพจิ ารณาจากความถูกต้องของแบบฟอร์ม
และความชัดเจนของหวั ข้อ การเสนอสาระได้ถกู ต้องชัดเจนมีการแสดงหลักฐานการบนั ทึกข้อมูลอยา่ งเป็น
ระเบยี บ และ จดั แสดงโครงงานได้น่าสนใจ มีการออกแบบและตดิ ต้ังได้สวยงาม เขยี น คาอธิบายชดั เจน
เข้าใจง่าย ตอบคาถามไดค้ ล่องแคล่ววอ่ งไวใชภ้ าษาไดถ้ ูกต้อง
กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 11 /18, คาบท่ี 21- 22-/ 36)
1. นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยท่ี 5 ข้ันตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
2. แบ่งกลุม่ นักเรียนเปน็ กลุ่มๆ ละ 4 คน
3. ครูให้นกั เรยี นดูเน้ือหาหน่วยที่ 5
ขัน้ นา
ครูสนทนาเรือ่ งการทางานทีม่ ีการวางแผนอยา่ งมีระบบเพ่ือเช่ือมโยงเขา้ สกู่ ารทากจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตร์
อยา่ งมีระบบและมขี น้ั ตอน
ขั้นสอน
1 ครูบรรยายถงึ ขัน้ ตอนในการทาโครงงานวทิ ยาศาสตรซ์ ่ึงมีกจิ กรรมหลายกิจกรรมทตี่ อ้ งมีการดาเนินการอย่าง
ต่อเน่อื ง และต้องมีการวางแผน2 นกั เรียนศกึ ษาเน้ือหาเก่ียวกับข้นั ตอนในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
3 ครใู ห้ความรู้เพมิ่ เติม โดยใช้สื่อ PowerPoint
4 ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนศึกษาค้นควา้ เอกสาร โครงงานวิทยาศาสตรเ์ รือ่ งต่างๆ
ข้นั สรุป
ครูนาอภปิ รายเพอ่ื ให้ไดข้ ้อสรุปในบทเรยี น
กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 12 /18, คาบที่ 23- 24-/ 36)
ขน้ั นา
ครสู นทนาถามถงึ โครงงานทไี่ ด้มอบหมายใหน้ ักเรยี นไปศึกษาคน้ คว้า
ขั้นสอน
1 ครูทบทวนและอธิบายความรูจ้ ากครัง้ ทีแ่ ล้ว
2 ครูให้นกั เรยี นทาการวเิ คราะหโ์ ครงงานวทิ ยาศาสตร์
3 นกั เรียนทาการบันทึกการทากจิ กรรมท่ี 5.1

4 นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนมาอภปิ รายหน้าชัน้ เรียนเพอ่ื สรุป
5 ขณะนักเรียนทากิจกรรมครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม
ขั้นสรปุ
ครแู ละนักเรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรม และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 13 /18, คาบที่ 25- 26-/ 36)
ขั้นนา
ครยู กประเด็นปัญหาทีน่ ่าสนใจใหน้ กั เรียนช่วยคิดหาสาเหตุและวธิ กี ารแกป้ ัญหา

ขน้ั สอน
1 ครู บรรยายถงึ การเลือกหวั ขอ้ เรื่องในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
2 ครูให้นักเรยี นสารวจและเลือกประเด็นปัญหาทีน่ ักเรียนสนใจทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์
3 ครูมอบหมายให้นักเรียนทากจิ กรรมท่ี 5.2
4 นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนมาอภปิ รายหนา้ ช้ันเรียนเพอื่ สรุป
5 ขณะนักเรยี นทากจิ กรรมครจู ะสังเกตการทางานกลุ่ม

ขน้ั สรุป
ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรม และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรยี น
กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 14 /18, คาบที่ 27- 28-/ 36)
ขน้ั นา
ครสู นทนาถึงสถานการณป์ ญั หาเพอื่ เชื่อมโยงเข้าสู่หัวข้อการระบปุ ัญหาในการทาโครงงาน
ข้นั สอน

1 ครูอา้ งถึงประเดน็ ปญั หาท่นี ักเรยี นสนใจทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในครงั้ ท่แี ลว้
2 ครูมอบหมายให้นักเรียนทากิจกรรมท่ี 5.3 โดยใหน้ กั เรียนในกล่มุ ชว่ ยกันคดั เลือกเลือกประเดน็
ปญั หาทีก่ ลุม่ นักเรยี นสนใจจะทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์
3 นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนมาอภปิ รายหน้าช้ันเรยี นเพอื่ สรปุ
4 ขณะนักเรยี นทากจิ กรรมครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม
ข้นั สรุป
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันเฉลยกิจกรรม และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรยี น
กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 15 /18, คาบท่ี 29- 30-/ 36)
ขัน้ นา
ครูสนทนา และถามถึงหวั ขอ้ ในการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ของนักเรียน

ขน้ั สอน
1 ครอู ธิบาย เน้ือหาการเขยี นเคา้ โครงยอ่ ในการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์
2 ครูให้นกั เรยี นศึกษาตวั อย่างการเขียนเค้าโครงย่อโครงงานวทิ ยาศาสตร์
3 ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นทากจิ กรรมที่ 5.3 โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มเขียนเค้าโครงยอ่ โครงงานวิทยาศาสตร์
4 นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม สง่ ตัวแทนมาอภปิ รายหนา้ ชั้นเรยี นเพื่อสรปุ
5 ขณะนักเรยี นทากิจกรรมครูจะสงั เกตการทางานกลุม่
ข้นั สรปุ
ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรม และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 16 /18, คาบที่ 31- 32-/ 36)
ขน้ั นา
ครตู ง้ั คาถามให้นักเรียนชว่ ยกันตอบถึงวธิ กี ารทารายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
ขนั้ สอน
1 ครอู ธบิ ายถึงหลักการ และวิธกี ารการเขียนรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์
2 ครูใหน้ กั เรียนดูตวั อย่างการเขยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์
3 ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นทากจิ กรรมท่ี 5.4 โดยใหแ้ ตล่ ะกล่มุ จัดทารายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
4 นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนมาอภปิ รายหนา้ ชัน้ เรียนเพ่ือสรุป
5 ขณะนักเรยี นทากจิ กรรมครูจะสงั เกตการทางานกลมุ่
ขน้ั สรปุ
ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรม และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรียน
กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 17 /18, คาบท่ี 33- 34-/ 36)
ขั้นนา
ครูให้นกั เรยี นดูภาพแผนผงั โครงงานวิทยาศาสตร์ทจ่ี ดั ประกวดแขง่ ขนั

ขัน้ สอน
1 ครู บรรยายถงึ การจัดทาแผนผังโครงงานวิทยาศาสตร์ และการประเมนิ ผลโครงงานวิทยาศาสตร์
2 ครูแบ่งกลุ่มนักเรยี น และใหน้ ักเรียนดูตวั อยา่ งการจัดทาแผนผังโครงงานวทิ ยาศาสตร์
3 ครมู อบหมายให้นักเรียนทากิจกรรมท่ี 5.5 โดยให้แตล่ ะกลุ่มออกแบบแผนผังโครงงานวทิ ยาศาสตร์
4 นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนมาอภิปรายหนา้ ช้ันเรยี นเพอ่ื สรุป
5 ขณะนักเรียนทากจิ กรรมครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม
ขน้ั สรุป
ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรม และรว่ มอภปิ รายสรปุ บทเรยี น

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 18 /18, คาบท่ี 35- 36-/ 36)
สอบปลายภาค
ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1. สื่อการเรียนรู้ หนังสอื เรยี น หนว่ ยที่ 5 เรื่อง แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และPowerPoint
ประกอบการสอน หน่วยที่ 5
2. แหล่งการเรียนรู้ หนงั สือ วารสาร เก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอินเทอร์เน็ต www.google.com

การวดั และการประเมนิ ผล
1. การวัดผลและการประเมินผล
1.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ความมวี ินยั และความรับผดิ ชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นหลงั เรยี น
1.3 สงั เกตการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลมุ่ โดยใชแ้ บบประเมนิ ผล การปฏบิ ัติกิจกรรมกลมุ่
1.4 ตรวจใบกจิ กรรม ตรวจแบบฝกึ หัด
2. เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมนิ พฤติกรรม ความมีวินัยและความรบั ผดิ ชอบตอ้ งได้คะแนน ไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลังเรียน ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.4 ใบกจิ กรรมต้องไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.5 แบบฝกึ หดั ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
งานทมี่ อบหมาย
งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทบทวนเนอ้ื หารวมทงั้ ความสมบูรณ์ของแบบฝึกหดั

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเรจ็ ของผู้เรียน
1. ผลการนาเสนองานจากใบกจิ กรรม
2. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยที่ 5

เอกสารอ้างองิ
1. หนงั สอื เรียนวิชาโครงการ วทิ ยาศาสตร์ (20000–1306)
2. เวบ็ ไซต์และสอื่ สงิ่ พิมพ์ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม