เฉลยการบัญชีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ปวช1

1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกยกเว้นให้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

2. ข้อใดเป็นฐานภาษีของภาษีเงินได้นิติบุคคล

 3. ข้อใดเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมารา 65 ตรี

 4.การเสียภาษีเงินได้เมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ต้องยื่นแบบภายในกี่วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

5.ภาาีจากกำไรสุทธิของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลคิดเป็นร้อยละเท่าใด

6. สถานที่ใดไม่ใช่สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี

7. กิจการขนส่งระหว่างประเทศของบริษัทหรือนิติบุคคลต่างประเทศจะต้องยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีเงินได้ตามข้อใด

หนงั สอื เล่มนีเ้ รยี บเรียงตามจดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา รหัสวชิ า และคำ�อธิบายรายวชิ า หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556 2201-2006 ของสำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ การบัญชี ประเภทวิชา พาณชิ ยกรรม สาขาวิชา 15 กลมุ่ ทักษะวิชาชพี เฉพาะ ประกาศล�ำ ดับที่ สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) การบนั ทึกบญั ชีเกยี่ วกบั ภาษีมลู ค่าเพิ่ม 177 เฉลยอยูใ่ นภาคผนวกหน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 กจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ ค�ำช้ีแจง กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจเปน็ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะเฉพาะ ดา้ นความร-ู้ ความจ�ำ เพอ่ื ใช้ในการตรวจสอบความเขา้ ใจตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จงตอบคำ�ถามตอ่ ไปน้ี 1. จงอธิบายใบก�ำ กับภาษี โดยสงั เขป (จ.1) 2. จงอธบิ ายการคำ�นวณภาษมี ูลค่าเพมิ่ โดยสงั เขป (จ.2) 3. จงอธบิ ายการบันทกึ บัญชเี กย่ี วกบั ภาษีมลู คา่ เพ่มิ ในสมุดรายวันท่วั ไป โดยสงั เขป (จ.3) 4 จงอธิบายรายงานภาษซี อ้ื และรายงานภาษขี าย โดยสังเขป (จ.4) 5. จงอธิบายรายงานสินค้าและวัตถดุ บิ โดยสังเขป (จ.5) จ. หมายถงึ ตรงตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 ข้อท่ี ...

นภภสตาํวาหา้ินมนัาษมษไมาทีตาีเมสวงี่ ยาเธิินร1กมเทีุปหไินจี่มดจตาํ2ําตก5ุนนสรา,ว0แวาาํมน0ลนคหวท0วภมรธิ ม่คีบัีทาบาํภีเ2ษี่างน5าีทท2ินวษ5่ีตไณผ2เีด(องมู9ไพนิงเด)ีเเปึงไงสตปดินนแยี ารทไตตขมะดต่ี้ันนยเวไมอังทไิธดคนิงปที่ี รเ3งท่ีสับมห1ไ่ีียกีหาดจา(นกราํ8รบัคาน)ยทําวกโตนีเ่นดเสั้งววทยแยีนณัง้ต

เทคนิคตัดสินใจสำหรับคนที่ตัดสินใจไม่ได้ซะที!

ผู้เขียน : ยากิว ทาเคโทโมะ

ขนาด : 14.2 x 20.9 x 2.1 ซม.

รหัสสินค้า : 9786162875588

"เลิกเป็นคนคิดเยอะ  กำจัดความลังเลสงสัย  

และตัดสินใจได้ในเสี้ยววินาที

คุณเป็นคนที่  “ตัดสินใจได้ทันที”  หรือเปล่า

หรือเป็นคนที่  “ตัดสินใจไม่ได้สักที”

หนังสือเล่มนี้รวบรวม 41 เทคนิค

ที่ใช้กันในหมู่ผู้บริหารและนักธุรกิจชั้นนำของญี่ปุ่น

ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาในการคิด  กำจัดความลังเลสงสัย  

และตัดสินใจได้ทันที  ตัวอย่างเช่น

- ตัดสินใจด้วยหลักการตลาด 11 ข้อ

- ตั้งเกณฑ์ในการ  “ถอนตัว”  ไว้ล่วงหน้า

- ฝึกทักษะด้วยการสั่งอาหารในร้านเหล้า

- กำหนดจุดตรวจสอบความสำเร็จ

- ลงมือทำงานเล็ก ๆ ตรงหน้าอย่างจริงจัง"

เฉลยการบัญชีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ปวช1

“แม่ง โคตรโฟนี่เลย”: การเมือง | วรรณกรรม ในยุคที่สุนัขไม่ใช่หมาเสมอไป แต่ประชาชนยังเป็นควายเหมือนเดิม

รหัสสินค้า  :  9786168313428

“เราจะพูด เราจะบอก เราจะเขียน อย่างคนธรรมดา

เราจะทำให้พวกเขาเห็นว่า พลังของปลายปากกา อยู่ที่สัจจะของความเป็นคนสามัญ

ไม่ใช่การแอบอยู่หลังหรือแอบอ้างลายเซ็นใคร และถ้าหากจะวัดกันที่ลายเซ็นขึ้นมา

ก็ให้รู้ไว้ว่าลายเซ็นที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือลายเซ็นจากปลายปากกาในคูหาเลือกตั้ง

ถ้าปากกาจะ ‘อยู่ที่มัน’ เพราะมันถือดีว่าเป็นผู้มีเกียรติเหนือใคร

ก็ขอให้รู้ไว้เถิดว่า เกียรตินั้นพิสูจน์กันได้ที่ความโปร่งใส ไม่ใช่ที่การห้ามวิจารณ์ ห้ามทำให้เสื่อมเสีย

คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำ ปัญญา ถนอมรอด

ผู้แต่ง : ปัญญา ถนอมรอด (ศูนย์หนังสือเนติบัณฑิตยสภา)

ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 17 : 2565

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำ เป็นวิชาหนึ่งที่อยู่

ในหลักสูตรการเรียนการสอน ภาคหนึ่ง ของสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา

โดยมีคำถามเกี่ยวกับวิชานี้ครั้งแรกในการสอบสมัยที่ ๕ เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๔๙'๖

เรื่องจำนอง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๗๑๖ และมาตรา ๗๑๘

สำหรับเนื้อหาสาระของกฎหมายในสวนนี้ จะศึกษาปัญหาในกฎหมายตามประมวล

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เฉพาะบทบัญญัติว่าด้วยเอกเทศสัญญา ยืม ค้ำประกัน จำนอง

และจำนำ โดยการวิเคราะห์หลักกฎหมาย ทฤษฎีและคำพิพากษาศาลฎีกา เพื่อให้สามารถ

ปรับใช้บทบัญญัติของกฎหมายได้ในเชิงปฏิบัติ

อาจารย์ปัญญา ถนอมรอด เป็นอาจารย์ผู้บรรยายภาคปกติ วิชากฎหมายแพ่ง

ษณะยืน ค้ำประกัน จำนอง จำนำ ของสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณ

าเป็นระยะเวลากว่ายี่สิบปีและเป็นหัวหน้าภาควิซาดังกล่าวของสำนักอบ

กฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาได้ใช้ความวิริยะ อุตสาหะและประสบการณ์ที่สั่งสมมาจาก

การเป็นข้าราชการตุลาการเป็นระยะเวลานานจนดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา เรียบเรียง

คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย ยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำ เล่มนี้

มอบให้สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาเป็นผู้ดำเนินการจัดพิมพ์ เพื่อเป็น

ตำราประกอบการเรียนแก่นักศึกษาและบุคคลทั่วไป

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวม เนื้อหามาจากการศึกษาตัวบทกฎหมาย หลักกฎหมาย

คำพิพากษาศาลฎีกา คำบรยายและความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิทางกฎหมายหลายท่าน

ตลอดจนได้แสดงทรรศนะแง่มุมของการใช้กฎหมายจากประสบการณ์ของท่านในการ

ปฏิบัติหน้าที่ทางตุลาการ และในฐานะอาจารย์ผู้บรรยายของสำนักอบรมศึกษากฎหมาย

แห่งเนติบัณฑิตยสภา โดยจัดทำสารบาญไว้อย่างละเอียดเพื่อสะดวกแก่การค้นคว้าสืบค้น

หนังสือคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย ยืม ค้ำประกัน

จำนอง จำนำ เล่มนี้ ได้จัดพิมพ์มาแล้วหลายครั้ง และทุกครั้งจำหน่ายหมดไปอย่างรวดเร็ว

แล้ว ในการจัดพิมพ์ครั้งที่ ๑๗ นี้ ท่านอาจารย์ปัญญา ถนอมรอด ได้ปรับปรุงแก้ไขโดย

เพิ่มเติมคำพิพากษาศาลฎีกาจนถึงปีปัจจุบัน อีกทั้งเรียบเรียงเนื้อหาในบางส่วนขึ้นใหม่ให้

สอดคล้องกับกฎหมายที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เป็นปัจจุบัน ซึ่งต้องใช้ความวิริยะและ

อุตสาหะเป็นอย่างยิ่งจนสำเร็จเป็นรูปเล่มขึ้นมา หนังสือเล่มนี้จึงเป็นวรรณกรรมที่มีคุณค่า

เล่มหนึ่งในวงการกฎหมายไทย

สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาขอขอบคุณท่านอาจารย์ปัญญา

ถนอมรอด ที่ได้กรุณาอุทิศเวลาเรียบเรียงตำราเล่มนี้ซึ่งเนื้อหาสาระเป็นไปตามลำดับ

ขั้นตอน อ่านเข้าใจได้ง่าย และมอบให้สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา

เป็นผู้จัดพิมพ์ตลอดมา หวังว่าตำราเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักกฎหมายและผู้ที่สนใจ

เพื่อใช้ในการศึกษา ค้นคว้ารวมตลอดถึงในทางปฏิบัติ และเป็นวรรณกรรมที่มีคุณค่าแก่

สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา

๒. ความสามารถในการทำนิติกรรม

๒.๑ กรณีที่บุคคลธรรมดาเป็นคู่สัญญา

๒.๒ กรณีนิติบุคคลเป็นคู่สัญญา

๓. วัตถุประสงค์ของนิติกรรม

บทที่ ๑ ลักษณะของสัญญายืมใช้คงรูป

๑. เป็นสัญญาที่มีวัตถุแห่งสิทธิเป็นทรัพย์สิน

๒. เป็นสัญญาที่ไม่มีค่าตอบแทน

๓. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม

๔.เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่ยืม

บทที่ ๒ หน้าที่และความรับผิดของผู้ยืมใช้คงรูป

๑. หน้าที่ของผู้ยืมใช้คงรูป

๒. ความรับผิดของผู้ยืมในกรณีที่ ทรัพย์สินที่ยืมสูญหายหรือบุบสลาย

๒.๑ ผู้ยืมต้องรับผิดต่อผู้ให้ยืมเมื่อผิดหน้าที่

๒.๒ ผู้ยืมฟ้องผู้ทำละเมิดทำให้ทรัพย์สินที่ยืมเสียหายได้หรือไม่

บทที่๓ ความระงับของสัญญายืมใช้คงรูป

๑.สัญญาระงับเพราะผู้ยืมตาย

๒.สัญญาระงับเพราะเหตุอื่น

๒. อายุความเรียกคืนทรัพย์สินที่ยืม

บทที่ ๑ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง

เป็นสัญญาที่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม

๒.๑ผู้ให้ยืมต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้ยืม

๒.๒ กรณีที่เกิดความเสียหายหรือสูญหายแก่ทรัพย์สินที่ยืม

๓. วัตถุแห่งหนี้ตามสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองต้องเป็นทรัพย์ชนิดใช้

เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่ยืม

หน้าที่ของผู้ยืมใช้สิ้นเปลือง

๑. หน้าที่เสียค่าใช้จ่ายในการทำสัญญา ส่งมอบและส่งคืน

๓. กำหนดเวลาที่จะต้องคืนทรัพย์สิน

๓.๑ สัญญายืมที่มีกำหนดเวลาใช้คืน

๓.๒ สัญญายืมไม่มีกำหนดเวลาใช้คืน

๑. กรณียืมใช้สิ้นเปลืองทั่วไป

๒. กรณีที่ผ่อนชำระหนี้เป็นงวด

กรณีผู้ยืมตายก่อนหนี้ถึงกำหนดชำระ

สัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง

๑ ต้องมีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือ

๔.๒ผู้กู้ต้องลงลายมือชื่อในหนังสือนั้น

ผู้กู้พิมพ์ลายพิมพ์นิ้วมือ แกงไดหรือตราประทับ

หลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือจะต้องมีเมื่อใด

กรณีหลักฐานแห่งการกู้ยืมหาย

การกู้ยืมที่ไม่มีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือ

ยกขึ้นฟ้องหรือต่อสู้คดีไม่ได้

๕. กรณีที่มีการแก้ไขจำนวนเงินในสัญญากู้ยืม

๕.๑ แก้ไขจำนวนเงินในขณะเขียนสัญญากู้

แก้ไขจำนวนเงินในสัญญากู้เดิมเมื่อมีการกู้ยืมครั้งใหม่

แก้ไขจำนวนเงินในสัญญากู้ให้สูงขึ้นโดยผู้กู้ไม่ยินยอม

สัญญากู้ไม่ได้กรอกจำนวนเงิน

ผู้ให้กู้กรอกจำนวนเงินสูงกว่าที่กู้จริง

ผู้ให้กู้กรอกจำนวนเงินตามที่กู้จริง

กรณีที่กู้ยืมเพียงครั้งเดียวแต่ผู้กู้ลงชื่อไว้ใน

๑. ดอกเบี้ยที่กำหนดโดยกฎหมาย (พ.ศ. ๒๕๖๔)

ดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด

๒.๑ ดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนดเป็นโมฆะทั้งหมด

ผู้ให้กู้คิดดอกเบี้ยล่วงหน้าแล้วนำไปรวมกับเงินต้น

ผู้กู้ชำระดอกเบี้ยที่เกินอัตราที่กฎหมายกำหนดไปแล้ว

ผู้ให้กู้ยังมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยเพราะเหตุผิดนัด

๓. ดอกเบี้ยกรณีผู้ให้กู้เป็นสถาบันการเงิน

๓ ๑ เหตุที่สถาบันการเงินมีสิทธิคิดดอกเบี้ยเกินร้อยละ ๑ ๕

ศาลไม่พิพากษาตามยอมเมื่อคิดดอกเบี้ยเกินอัตรา

๓.๒ สัญญาระบุให้ผู้ให้กู้ปรับอัตราดอกเบี้ยได้

๓.๓ เมื่อเลิกสัญญาแล้วผู้ให้กูไม่มีสิทธิปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ย

๓. ๔ การปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเป็นเบี้ยปรับหรือไม่

๗. การนำสืบการชำระหนี้กู้ยืม

หลักฐานในการนำสืบตามมาตรา ๖๕๓ วรรคสอง

๑. ต้องเป็นการกู้ยืมเงินที่มีหลักฐานเป็นหนังสือ

บังคับเฉพาะกรณีนำสืบการใช้เงิน

๒.๑ ต้องเป็นการชำระหนี้ด้วยเงินตรา

๒.๒ การชำระหนี้ด้วยของอื่น

๒.๓ การชำระดอกเบี้ยต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือไม่

ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือยกขึ้นต่อสู้ไม่ได้

๓. นำสืบได้เฉพาะเมื่อมีหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งที่กฎหมาย

๓.๑ มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมาแสดง

๓.๒ เวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืม

ต ๓ แทงเพิกถอนลงในเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืม

กู้ยืมเงินแล้วรับทรัพย์สินอื่นแทนเงิน

กู้ยืมเงินแล้วเอาทรัพย์สินอื่นมาชำระหนี้

ลักษณะของสัญญาค้ำประกัน มาตรา ๖๘.

ผู้ค้ำประกันต้องเป็นบุคคลภายนอก

ต้องมีหนี้ระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้

๒. ๑ นายประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย

๒.๒ ผู้ค้ำประกันการชำระหนี้ตามคำพิพากษา

๒.๓ หนี้ที่ต้องอาศัยคุณสมบัติเฉพาะของลูกหนี้

ต้องเป็นเรื่องผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้

๓. ๑ การให้คำรับรองลอย ๆ โดยไม่ได้ระบุว่าจะชำระหนี้

เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ ไม่ใช่สัญญาค้ำประกัน

ผู้รับอาวัลตั๋วเงินไม่ใช่ผู้ค้ำประกัน

สัญญาค้ำประกันไม่มีแบบแต่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ

สัญญาค้ำประกันจะทำเป็นหนังสือหรือตกลงด้วยวาจาก็ได้

๓. ศาลยกฟ้องเพราะไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือฟ้องใหม่ไม่ได้

หนี้ที่ค้ำประกันต้องเป็นหนี้อันสมบูรณ์ และช้อตกลงที่กฎหมายบังคับ

หนี้ที่ค้ำประกันต้องเป็นหนี้อันสมบูรณ์ มาตรา ๖๘๑ วรรคหนึ่ง

ข้อตกลงของสัญญาค้ำประกันที่กฎหมายบังคับว่าต้องระบุ

มาตรา ๖๘๑ วรรคสอง วรรคสาม

๓. ความเห็นเกี่ยวกับมาตรา ๖ ๘๑ วรรคสองและวรรคสาม

๔. หนี้ประธานเกิดจากนิติกรรมที่เป็นโมฆียะ มาตรา ๖๘๑ วรรคสี่

พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม ป.พ.พ. (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗

ใช้บังคับเมื่อไร และมาตรา ๖๘๑ ที่แก้ไขใหม่มีผลต่อสัญญา

๖. ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาค้ำประกันที่กฎหมายใหม่

บัญญัติว่าเป็นโมฆะ มาตรา ๖๘๑/๑, ๖๘๕/๑

ผู้รับเรือน มาตรา ๖๘๒ วรรคหนึ่ง

ปัญหาาเกี่ยวกับลำดับการบังคับคดี

บทที่ ๗ ลำดับการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองและเงินที่เหลือ มาตรา ๗๓๒

หมวด สิทธิและหน้าที่ของผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจำนอง

บทที่ สิทธิของผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจำนอง

๑. ผู้รับโอนมีสิทธิไถ่ถอนจำนอง มาตรา ๗๓๖

ผู้รับโอนไถ่ถอนจำนองแตกต่างกับผู้จำนองไถ่ถอนจำนอง

๒. กำหนดเวลาไถ่ถอนจำนอง มาตรา ๗๓๗

วิธีการไถ่ถอนจำนอง มาตรา ๗๓๘

๓.๑ กรณีเจ้าหนี้ยอมรับคำเสนอ มาตรา ๗๔๑

๓.๒ กรณีเจ้าหนี้ไม่ยอมรับคำเสนอ มาตรา ๗๓๙, ๗๔๐

การบังคับจำนองหรือถอนจำนองเป็นเหตุให้ทรัพย์สินซึ่งจำนอง

หลุดมือไปจากบุคคลผู้ได้ทรัพย์สินไว้ก่อน มาตรา ๗๔๒

ผู้รับโอนทำให้ทรัพย์ซึ่งจำนองเสื่อมราคาหรือเพิ่มราคา

หมวด ๖ ความระงับสิ้นแห่งสัญญาจำนอง

บทที่ ๑ เหตุที่ทำให้จำนองระงับ มาตรา ๗๙๔

หนี้ที่ประกันขาดอายุความมาตรา ๗๔๔ (๑), ๗๔๕

เฉลยการบัญชีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ปวช1