การประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ ppt

การประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ ppt

การประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ ppt

อบรมเชิงปฏิบัติการ“ผู้ทำหน้าที่ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาฯและ
ครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯโรงเรียนในสังกัดสพม.๕”
วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๙ เวลา 08.๐0 น. – 16.30 น.
ณ ห้องประชุมอัมพวัน โรงเรียนสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี

การประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ ppt

Working at คุรุประชาสรรค์

อบรมเชิงปฏิบัติการ“ผู้ทำหน้าที่ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาฯและ
ครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯโรงเรียนในสังกัดสพม.๕”
วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๙ เวลา 08.๐0 น. – 16.30 น.
ณ ห้องประชุมอัมพวัน โรงเรียนสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี

ความหมายและความ
เป็ นมาของการประกนั
คุณภาพการศึกษา

ผศ.ชตุ ิมา ประมวลสุข

เสียงสะทอ้ นเพือ่ ก่อใหเ้ กิดการปฏิรูปประเทศไทย

**ไม่ได้อยู่ท่ี

ความเก่าแก่
ของอารยธรรมของประเทศน้ัน ๆ

ส่ิงที่แตกต่าง คือ ทัศนคติ ท่ีฝ่ังราก

ลึกมากนานปี ผ่านระบบการศึกษา
และการอบรมปลูกฝัง
จากการวิเคราะหพ์ ฤติกรรมของคนในประเทศที่
พัฒนาแล้ว พบว่าคนส่วนใหญ่ดาํ เนินชีวิตอยู่บน
หลักปรัชญา

1. ใชจรยิ ธรรมนาํ ทางชวี ติ (Ethics as the basic principle)

2. ความซอ่ื สัตย (Integrity)
3. ความรกั ในงาน (Work Loving)
4. ความรับผิดชอบในหนาที่ (Responsibility)

5. จิตมุงม่นั สูค วามเปน หนึง่ (Will of super action)
6. การเคารพตอ กฎระเบียบ (Respect to the law and rules)
7. การเคารพสิทธขิ องผูอ่ืน (Respect to the rights of other citizens)

8. การตรงตอ เวลา (Punctuality)
9. การออมและความสนใจในการลงทนุ (Strive for saving and investment)

กรณอี ภปิ ราย

กรณอี ภปิ ราย (ต่อ)

คุณภาพ (Quality)

เป็ นคําท่ีมีพ้ืนฐานมาจากภาคธุ รกิจ
อุตสาหกรรม ซ่ึงมีคาํ ที่เก่ียวขอ้ งคือ การ
ตรวจสอบ การควบคุม มาตรฐานหรือ

ขอ้ กาํ หนดและความพอใจของลูกคา้

นิยามคาํ ว่าคุณภาพ

Juran นิยามวา่ คุณภาพ คือ ความเหมาะสม สาํ หรับการใช้

Deming นิยามว่า คุณภาพ คือ ระดบั ท่ีสามารถทาํ นายได้

ของความไวว้ างใจ

Crosby นิยามว่า คุณภาพ คือ ความตรงตามขอ้ กาํ หนด

ไม่ใช่ความดีหรือความสวยงาม
Feigenbaum นิยามวา่ คุณภาพ คือวิธีการในการบริหารองคก์ รหรือการประกอบข้ึนเป็นสินคา้ ท้งั หมด และลกั ษณะ

นิสัยของการบริการการตลาด การวิศวกรรม การผลิตและการบาํ รุงรักษา โดยท่ีสินคา้ และบริการน้นั ตรงตามความ
คาดหวงั ของลูกคา้

นิยามคาํ ว่าคุณภาพ (ต่อ)

เข็มทอง ศิริ แสงเลิศ สรุ ปความหมายของคุณภาพ

หมายถึง ลกั ษณะของสินคา้ บริการ หรือกระบวนการผลิต
ท่ีตรงตามมาตรฐาน เหมาะสมกบั การใช้ ตอบสนองความ
ตอ้ งการของลูกคา้ คุม้ กบั ค่าใชจ้ ่ายและทาํ ให้เกิดความพึง
พอใจ

วิฑูรย์ สิมะโชคด สรุปความหมายของคุณภาพ หมายถึงสินคา้ หรือบริการที่มีความเป็ นเลิศในทุก

ดา้ น เป็นไปตามความตอ้ งการของลกู คา้ สร้างความพึงพอใจใหแ้ ก่ลูกคา้

นิยามคาํ ว่าคุณภาพ (ต่อ)

นาํ ไปสู่วิธีการที่ดี รอบคอบ ระมดั ระวงั จดจ่อเพื่อใหผ้ ลลพั ธ์ท่ี
เกิดข้ึนมีคุณภาพตามที่ตอ้ งการ คนท่ีใหค้ วามสาํ คญั กบั คุณภาพ
ยอ่ มประสบความสาํ เร็จอยา่ งยงั่ ยนื

 ผลิตสินคา้ ท่ีมีคุณภาพ ถึงแมจ้ ะราคาสูงกวา่ คู่แข่งบา้ ง
 การใหบ้ ริการที่มีคุณภาพ ถึงแมจ้ ะตน้ ทุนสูงกต็ าม
 การทาํ ใหง้ านมีคุณภาพ ถึงแมจ้ ะเหนื่อยกวา่ ผอู้ ่ืนกต็ าม

การลงทุนเพ่อื ใหไ้ ดส้ ิ่งท่ีมีคุณภาพ

ลกั ษณะระบบคุณภาพ

1. มีการออกแบบโครงสร้างความรับผิดชอบข้นั ตอน กระบวนการ และแหล่งทรัพยากรของ
องคก์ ร เพือ่ นาํ มาใชก้ บั การบริหารเพอ่ื คุณภาพ

2. ฝ่ ายบริ หารได้พัฒนาจัดต้ังและนําระบบคุณภาพไปใช้เป็ นเคร่ื องมือ เพ่ือให้นโยบาย
วตั ถุประสงคท์ ่ีกาํ หนดไวบ้ รรลุผลสาํ เร็จ
3.ระบบคุณภาพตอ้ งมีรายการองคป์ ระกอบต่าง ๆ ตามที่กาํ หนดไวใ้ นมาตรฐานนานาชาติอย่าง
เหมาะสม

4. ภารกิจของระบบคุณภาพ คือ เนน้ ท่ีป้องกนั ปัญหามากกวา่ การแกไ้ ขหลงั จากเกิดปัญหา

ประกนั คุณภาพ คือ อะไร

Sallis นิยามว่า การประกันคุณภาพ คือ การออกแบบคุณภาพมุ่งสู่

กระบวนการสร้างความตระหนกั และความมน่ั ใจในผลผลิต

Cuttance นิยามว่า การประกนั คุณภาพ คือ กลยทุ ธ์ที่ไดว้ างแผนไวอ้ ยา่ งเป็ น

ระบบและการปฏิบตั ิงานท่ีไดม้ ีการออกแบบไวโ้ ดยเฉพาะ เพื่อรับประกนั ว่า
กระบวนการไดร้ ับการดูแล รวมถึงการปฏิบตั ิงานน้นั มุ่งไปสู่เป้าหมายท่ีต้งั ไว้
อยตู่ ลอดเวลา

สมคิด พรมจุย้ และสุพกั ตร์ พิบูลย์ นิยามว่า การประกนั คุณภาพ เป็ นระบบการควบคุม ตรวจสอบ และตดั สิน

คุณภาพตามเกณฑท์ ี่กาํ หนด มีการควบคุมใหเ้ กิดการปฏิบตั ิตามเกณฑ์ มีการตรวจสอบการปฏิบตั ิ และตดั สินว่างานน้นั
บรรลุตามเกณฑห์ รือไม่

ประกนั คุณภาพ คือ อะไร

ประกันคุณภาพการศึกษา คืออะไร??
ประกันคุณภาพการศึกษา ทําอย่างไร??
ประกนั คุณภาพการศึกษา ทาํ เม่ือไร??

ความหมายของการประกันคุณภาพการศกึ ษา

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ.2542 ไดใ หค วามหมายของการประกัน
คุณภาพการศกึ ษา

หมายถึง การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ และ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประกอบดวย การประกันคุณภาพภายใน
และการประกันคณุ ภาพภายนอก

ความหมายของการประกนั คุณภาพการศึกษา (ตอ)

สาํ นกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องคก รมหาชน) (2553, หนา 18) ไดใหความหมาย
ของการประกันคุณภาพการศกึ ษา (Educational Quality Assurance)

หมายถึง การสรางมาตรฐานคุณภาพของการบริหารจัดการและดําเนินกิจกรรมตามภารกิจของ
สถานศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพของผูเรียนอยางตอเน่ือง สรางความมั่นใจใหผูรับบริการทางการศึกษา ท้ัง
ผูรับบริการโดยตรง ไดแก ผูเรียน ผูปกครอง และผูรับบริการทางออม ไดแก สถานประกอบการ ประชาชน และ
สงั คมโดยรวม อันประกอบดวย

ความหมายของการประกนั คุณภาพการศึกษา (ตอ )

1. การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance) หมายถึง การประเมินผล
และการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดย
บุคลากรของสถานศกึ ษานน้ั
2. การประกันคุณภาพภายนอก (External Quality Assurance) หมายถึง การประเมินผล
และการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคกรมหาชน) บุคคล หรือ
หนวยงานภายนอกท่ีสํานักงานดังกลาวรับรอง เพ่ือเปนการประกันคุณภาพและใหมีการพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ความหมายของการประกนั คุณภาพการศึกษา (ตอ)

3. การประเมินคุณภาพภายใน (Internal Quality Assessment) หมายถึง การประเมินคุณภาพ การ
จัดการศึกษา การติดตามและการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ที่
กระทรวงศึกษาธิการ (ปจจุบันเปล่ียนเปน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม)
ประกาศกําหนดสําหรับการประกันคุณภาพภายใน ซ่ึงกระทําโดยบุคลากรของสถานศึกษาน้ัน หรือโดย
หนว ยงานตนสงั กัดทีม่ ีหนาท่ีกํากับดูแลสถานศกึ ษา

4. การประเมินคุณภาพภายนอก (External Quality Assessment) หมายถึง การ
ประเมินคุณภาพ การจัดการศึกษา การติดตามและการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทําโดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศกึ ษา (องคก รมหาชน) หรอื ผูประเมินภายนอก

ความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษา (ตอ )

ความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษา (ตอ)

สรปุ การประกันคุณภาพการศึกษา

หมายถึง กระบวนการในการควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการจัด
การศึกษา วาเปนไปตามมาตรฐานท่ีกําหนดไวเพียงใด โดยสถานศึกษาเองและองคกรจาก
ภายนอก โดยมีเปาประสงคหลักเพื่อสรางผูสําเร็จการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ
คุณลักษณะที่พึงประสงคตามที่หลักสูตรกําหนด และตามความมุงหวังของสังคม ตลอดจนสราง
ความเช่ือมนั่ ตอ ผปู กครอง ชมุ ชน สังคม วาการดาํ เนินงานของสถานศึกษาไดเปนไปตามพันธกิจ
ท่ีไดร วมกาํ หนดไวม ากนอ ยเพยี งใด

ความเปน มาของการประกนั คุณภาพการศึกษา

รุ่ง แก้วแดง (2545) ท่านได้นําเสนอความเป็ นมา

เร่ิมตน้ จากภาคธุรกิจและ เม่ือมีการผลิตสิ นค้าจํานวน มีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานท่ีกาํ หนด
อตุ สาหกรรม เมื่อ 100 ปี มาก ปัญหาก็คือ...ทาํ อย่างไร ลูกคา้ เช่ือมนั่ มีความพึงพอใจ
ใ ห้สิ น ค้า แ ต่ ละ ชิ้ น มี คุ ณ ภ า พ และเกิดการซ้ือซ้าํ
ใกลเ้ คียงกนั

ความเปน มาของการประกนั คุณภาพการศึกษา (ตอ)
ช่วงเวลา จุดประสงค์ ระบบคณุ ภาพ ระบบคณุ ภาพ

ก่อนสงครามโลกคร้ัง สร้างความเช่ือม่ันในคุณภาพ ระบบ QCC (Quality อเมริกาใหค้ วามช่วยเหลือญี่ป่ ุนในการพฒั นา
ที่ 2 สินค้า โดยตอนแรกเน้นเฉพาะ Control Circles) คุณภาพสินคา้ อตุ สาหกรรม โดยส่ง ศ.ดร.เด
ก า ร ป ร ะ กั น ผ ล ผ ลิ ต ท า ง ม่ิง มาเป็นที่ปรึกษาและใหค้ าํ แนะนาํ เรื่อง
อตุ สาหกรรม ประกนั คุณภาพสินคา้ ใหก้ บั ประเทศญ่ีป่ ุน

ความเปน มาของการประกันคุณภาพการศึกษา (ตอ)
ช่วงเวลา จุดประสงค์ ระบบคุณภาพ ระบบคุณภาพ

หลงั พฒั นาคุณภาพสินคา้ PDCA เร่ิมเนน้ กระบวนการวางแผน กระบวนการดาํ เนินงาน กระบวนการ
สงครามโลก (เนน้ การประเมิน ประเมิน และกระบวนการปรับแผน
คร้ังที่ 2 ภายใน)
มีการว่างระบบให้กบั อุตสาหกรรม พฒั นาจากกาประกนั คุณภาพท่ี
TQM (Total เน้นเฉพาะสิ นค้าไปสู่การประกันคุณภาพท้ังระบบ เริ่ มต้ังแต่
กระบวนการผลิตจนเป็ นสินคา้ ซ่ึงเรียกว่า “กระบวนการบริหาร
Quality
Management) คุณภาพท้งั ระบบ”

KAIZEN ญ่ีป่ ุนได้ประยุกต์เอาวฒั นธรรมการประกันคุณภาพทุกจุดอย่าง
ต่อเน่ืองแบบ “ไคเซ็น” ซ่ึงเป็ นวฒั นธรรมดง่ั เดิมของญี่ป่ ุนเขา้ ไว้
ดว้ ยกนั อยา่ งกลมกลืน ทาํ ใหอ้ ุตสาหกรรมของประเทศญี่ป่ ุนประสบ
ความสําเร็จอย่างสูง ภายใต้เคร่ื องหมายการดําเนินงานผลิตท่ีมี
คุณภาพ

ความเปนมาของการประกนั คุณภาพการศึกษา (ตอ)
ช่วงเวลา จุดประสงค์ ระบบคุณภาพ ระบบคณุ ภาพ

กลุ่มประเทศ พฒั นาคุณภาพสินคา้ ระบบ ISO ญ่ีป่ ุนสามารถขายสินคา้ ได้มากกว่ายุโรปและสหรัฐอเมริกา ต่อมา
ยโุ รป (เนน้ การประเมิน กลุ่มประเทศยุโรป เร่ิมนาํ ระบบการประกนั คุณภาพมาใช้เรียกว่า
ภายนอก) International Standard Organization (ISO) ซ่ึง
แตกต่างจากญี่ป่ ุนที่เน้นประเมินภายใน แต่ ISO เน้นเร่ื องการ
ประเมินภายนอก

จากน้ัน หลายประเทศได้จัดให้มีระบบประกนั คุณภาพการศึกษา เพื่อใหม้ นั่ ใจวา่ สถานศึกษา
แต่ละระดบั ของเขาสามารถจดั การศึกษาไดอ้ ย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน เพราะทวั่ โลกมี
ความเชื่ออยา่ งเดียวกนั วา่ การศึกษา คือ “การลงทุนสาํ หรับอนาคตของประเทศ”

แบบแผนการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของไทย

สํานักงานคณะกรรมการ ไดท้ าํ การศึกษาประเทศที่
การศึกษาแห่งชาติ (สปช.) มีรูปแบบการดาํ เนินงาน

ประกนั คุณภาพทาง
การศึกษาที่น่าสนใจ

ในปี พ.ศ.2539 ไดม้ อบหมายให้ คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (กกศ.) ซ่ึงมีหนา้ ท่ีในการกาํ หนดนโยบาย แผนการ
ศึกษา แผนพฒั นาการศึกษา ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล โดยให้หน่วยงานราชการต่าง ๆ รายงานแผนงานและ
โครงการดาํ เนินงาน จึงสรุปไดว้ า่ ประเทศไทยไม่ไดด้ าํ เนินการในเรื่องคุณภาพการศึกษาอยา่ งจริงจงั

และเมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของเด็กไทย ช้ีให้เห็นว่าการศึกษาไทยกาํ ลงั
ประสบภาวะวกิ ฤตด้านคุณภาพอย่างหนัก

แบบแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของไทย (ตอ )

สํานักงานคณะกรรมการ จึงไดต้ ้งั คณะทาํ งานภายใน เป็ นจุดเริ่ มต้นของระบบการ
การศึกษาแห่งชาติ (สปช.) ข้ึนมาชุดหน่ึงเพือ่ พฒั นาระบบ ประเมินคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของไทย คือ “ระบบการ
การประเมินคุณภาพและ ประเมินคุณภาพและมาตรฐาน
กาํ หนดมาตรฐานการศึกษา การศึกษาแห่งชาติ”

ของชาติอยา่ งจริงจงั

ความเปน มาของระบบประกันคุณภาพการศึกษาไทย
พ.ศ. หน่วยงาน บทบาทหน้าที่

2484 สาํ นกั งานคณะกรรมการศึกษาเอกชน โครงการรับรองมาตรฐานโรงเรียนเอกชน

2527 การประถมศึกษาแห่งชาติ (สช.) การประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสงั กดั สปช.

2535 สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ กาํ หนด พรบ. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
(สกศ.)

2540 สถาบนั ส่งเสริมการประเมินคุณภาพและ ระบบประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (สมค.)

2542 สถาบนั ส่งเสริมการประเมินคุณภาพและ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (สมค.)

2543 สาํ นกั งานรับรองมาตรฐานและประเมิน มีระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาเพ่ิมรับรองมาตรฐาน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.)

ความเปนมาของระบบประกันคุณภาพการศึกษาไทย (ตอ )

สรุป การกอ เกดิ ระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาในประเทศไทย เกดิ จาก

การตระหนักถึง ความจําเปน และความสําคัญ ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เปาหมายเพื่อ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาของไทย โดยใชแ นวคิดการประเมินเพอ่ื พัฒนา

ปจจุบัน มีการดําเนินการประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง
3 รอบ ต้ังแตป พ.ศ.2544 – พ.ศ.2558 และจะเขาสู
การประเมินภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559 – พ.ศ.2563)
ซึ่งมีแนวโนมของการประกันคุณภาพในยุคดิจิตอล
ดวยการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในการพัฒนา
ระบบประกนั คณุ ภาพทางการศกึ ษามากยิ่งขึน้

ความสําคญั ของการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา

แนวคิด

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 สนับสนุนใหมีการกระจายอํานาจบริหาร
การศึกษาไปยัง คณะกรรมการและสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นท่ี
การศึกษาโดยตรง จึงมีความจําเปนตองมีระบบประกันคุณภาพ เพื่อใหม่ันใจวา ผูเรียนไมวาจะอยูใน
ทองถ่นิ ใดก็ตามจะไดร บั การศึกษาที่มีคุณภาพใกลเ คยี งกนั

ความสาํ คัญของการประกันคุณภาพการศึกษา (ตอ)

หลกั การประกนั คุณภาพการศกึ ษา ประกอบดว ย แนวคิดเชิงระบบ 3 แนวคิดท่ีสําคญั
1. ระบบควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เปนกระบวนการดําเนินการของหนวยงานตน

สงั กัดและสถาบันการศกึ ษา ในการกําหนดมาตรฐานการศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
หลังจากนัน้ หนว ยงานตนสังกดั และสถาบนั การศึกษาจัดทําแผน เพื่อใชเปน แนวทางในการดําเนินงานพัฒนา
คุณภาพเขา สมู าตรฐานทก่ี ําหนดไว เชน การพัฒนาหลักสูตร สื่อ การพัฒนาครูและบุคลากร ระเบียบการ
สอน การแนะแนว การจัดการเรียนการสอน การประเมินผล โดยเนนระบบและกลไกการปฏิบัติงานตาม
แผน ติดตาม กํากับการดําเนนิ งานอยางจรงิ จงั และตอ เนอื่ ง

ความสาํ คัญของการประกนั คุณภาพการศึกษา (ตอ)

หลักการประกนั คุณภาพการศึกษา ประกอบดว ย แนวคิดเชงิ ระบบ 3 แนวคดิ ทส่ี ําคญั
2. ระบบติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing) เปนการดําเนินงานของ

หนวยงานตนสังกัดและสถาบันการศึกษา ในการยืนยันเปาหมายที่กําหนด มุงไปสูมาตรฐานที่ตองการ โดย
ดาํ เนินการดังน้ี

2.1 ตรวจสอบและทบทวนการดําเนินงานท้ังระบบดวยตนเองของสถาบันการศึกษา เพ่ือนําขอมูล
มาปรบั ปรงุ และพฒั นาอยางตอเน่ืองสมาํ่ เสมอ รายงานตอผปู กครองและผรู ับผิดชอบการจัดการศึกษา
2.2 ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษา โดยหนวยงานตนสังกัด เพื่อ
สง เสรมิ สนับสนนุ พฒั นาคุณภาพการศึกษาใหเ ปนไปตามมาตรฐานการศึกษาท่ีกําหนดไว

ความสาํ คญั ของการประกนั คณุ ภาพการศึกษา (ตอ)

หลักการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ประกอบดว ย แนวคดิ เชงิ ระบบ 3 แนวคิดทสี่ ําคญั
3. ระบบประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) เปนการประเมินคาระดับคุณภาพ

กิจกรรมเฉพาะอยางในหนวยงาน เชน คุณภาพการจัดการศึกษา คุณภาพของงานวิจัย คุณภาพของการ
สอน ประกอบดว ย

3.1 การประเมินคุณภาพภายใน จะใชวิธีการศึกษาตนเอง (Self Study) และการประเมินตนเอง
(Self Assessment)
3.2 การประเมินคุณภาพภายนอก เปนการดําเนินงานโดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา เพ่ือประเมินผลและรับรองวาสถาบันการศึกษาจัดการศึกษาไดคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาทก่ี ําหนดไว

ความสาํ คญั ของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา (ตอ)

ในการจัดระบบประกนั คุณภาพการศึกษามีหลักการทตี่ องพิจารณา

**ระบบประกันคณุ ภาพ ไมใชเรือ่ งของการชี้ถกู ช้ผี ดิ หรือการตรวจสอบ แตเปนเครื่องมือท่ีตอง
ใชค วบคกู ับการกระจายอํานาจบริหารการศึกษา

**มาตรฐานการศึกษา จะตองสอดคลองกับเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติ ท่ีเนนกระบวนการเรยี นรูใหม คี วามหลากหลายและยึดผเู รียนเปน สําคญั

**การประกนั คุณภาพมีภารกิจหลัก 4 สวน ไดแก การกําหนดมาตรฐาน, การประเมินภายใน,
การประเมนิ ภายนอก และ การนาํ ผลประเมินไปปรับปรงุ พัฒนา

ความสาํ คญั ของการประกนั คณุ ภาพการศึกษา (ตอ)

ในการจัดระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษามีหลกั การท่ตี อ งพิจารณา

**การประกนั คณุ ภาพมีภารกจิ หลกั 4 สวน ไดแ ก

การกําหนดมาตรฐานหรอื หลกั เกณฑข องระบบประกันคุณภาพ : เปน หนา ทขี่ องสวนกลาง
การประเมินภายใน : เปนหนาท่ีของสถานศึกษาและตนสังกัดในการพัฒนาระบบประเมิน
ภายใน โดยควรมีชุมชนและผมู สี วนเกี่ยวของเขามามีสว นรวม
การประเมินภายนอก : ใหองคกรอิสระในรูปองคกรมหาชน ทําหนาท่ีในการประเมินภายนอก
ซ่ึงที่ใหหนวยงานภายนอกทําหนาท่ีนี้ เพราะตองการใหเปนอิสระจากฝายราชการ ซึ่งตองประเมินทั้งสถานศึกษา
ของรฐั และเอกชน
การนําผลประเมินไปปรับปรุงพฒั นา : เปนหนา ท่ขี องฝา ยบรหิ ารการศกึ ษา

ประโยชนข องการประกันคุณภาพการศึกษา

1. ผูเรียนและผูปกครองมีหลักประกันและความม่ันใจวาสถานศึกษาจะจัดการศึกษาที่มี

คณุ ภาพเปน ไปตามมาตรฐานทก่ี าํ หนด

2. ครูไดทํางานอยางมืออาชีพ ไดทํางานท่ีเปนระบบที่ดี มีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบท่ี

ตรวจสอบได และเนนวัฒนธรรมคุณภาพ ไดพัฒนาตนเองและผูเรียนอยางตอเน่ือง ทําใหเปนที่ยอมรับ
ของผูปกครองและชุมชน

3. ผูบริหารไดใชภาวะผูนํา และความรูความสามารถในการบริหารงานอยางเปนระบบ และมี

ความโปรงใส เพ่อื พัฒนาสถานศึกษาใหม คี ณุ ภาพ เปน ทีย่ อมรับและนยิ มชมชอบของผูปกครองและชุมชน
ตลอดจนหนวยงานทีเ่ กย่ี วของ กอ ใหเกิดความภาคภมู ใิ จและเปน ประโยชนต อ สังคม

ประโยชนของการประกนั คุณภาพการศึกษา (ตอ )

4. หนวยงานท่ีกาํ กบั ดูแล ไดส ถานศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพและศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ซ่ึงจะ

ชวยแบงเบาภาระในการกํากับดูแลสถานศึกษา และกอใหเกิดความม่ันใจในคุณภาพทางการศึกษา และ
คณุ ภาพของสถานศกึ ษา

5. ผูประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ไดเยาวชนและคนท่ีดีมีคุณภาพและ

ศักยภาพท่ีจะชว ยทํางานพัฒนาองคก ร ชุมชน สังคมและประเทศชาตติ อไป