คุณธรรม และจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ส ค 0200035

        ปัจจุบันมีสมาชิกเข้าใช้สังคมออนไลน์กันอย่างกว้างขวาง ทุกเพศทุกวัย ดังนั้นทุกคนที่ใช้งานต้องมี วิจารณญาณในการเข้าใช้งาน มีจรรยาบรรณ มีคุณธรรมจริยธรรม ควบคู่กับการใช้ 

        ลินดา เฮอร์นดอน (Linda Herndon) ได้กล่าวถึงบัญญัติสิบประการของการใช้คอมพิวเตอร์ไว้ ดังนั้นสามารถ  นำมาประยุกต์ใช้กับการใช้งานสังคมออนไลน์อย่างมีคุณธรรมจริยธรรม 7 ประการ ดังนี้ 

        1. ไม่ใช้สังคมออนไลน์ท าร้ายผู้อื่น 

        2. ไม่ใช้สังคมออนไลน์รบกวนผู้อื่น 

        3. ไม่ใช้สังคมออนไลน์เพื่อการลักขโมย 

        4. ไม่ใช้สังคมออนไลน์เพื่อเป็นการเท็จหรือพยานเท็จ 

        5. ไม่ใช้สังคมออนไลน์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต 

        6. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของการใช้สังคมออนไลน์ 

        7. ใช้สังคมออนไลน์ด้วยความใคร่ครวญและเคารพต่อผู้อื่น 

ค ำอธิบำยรำยวิชำ สค0200035 คุณธรรมและจริยธรรมในกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์จ ำนวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษำ มัธยมศึกษำตอนต้น และมัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ศึกษำและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ กกกกกกก1. การสื่อสารในยุคดิจิทัล ความหมาย องค์ประกอบ และวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ความหมาย และรูปแบบของ การสื่อสารในยุคดิจิทัล เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network ) มารยาทการสื่อสารในยุคดิจิทัล แนวโน้มสื่อดิจิทัล และกรณีศึกษา : การใช้ประโยชน์การสื่อสารในยุคดิจิทัล 2. คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ความหมายและความส าคัญของคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ ความส าคัญ การรู้เท่าทันสื่อ ความรับผิดชอบในการใช้สื่อสังคมออนไลน์กฎหมายเกี่ยวกับการ ใช้สื่อสังคมออนไลน์ ความแตกต่างระหว่างคุณธรรมจริยธรรมและกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ และกรณีศึกษา : การละเมิดคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ กกกกกกกบรรยายสรุป ก าหนดประเด็นศึกษาค้นคว้าร่วมกัน ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง พบกลุ่ม อภิปราย ผลการศึกษาค้นคว้า สรุปผลการเรียนรู้ที่ได้ร่วมกัน ฝึกปฏิบัติวิเคราะห์กรณีศึกษา จัดท ารายงานผลการ วิเคราะห์กรณีศึกษาส่งครูผู้สอน น าเสนอผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา และบันทึกผลการเรียนรู้ที่ได้ลงใน เอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) กำรวัดและประเมินผล กกกกกกกประเมินความก้าวหน้า ขณะจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยวิธีการสังเกต ซักถาม การตอบ ค าถาม การตรวจรายงานผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา และตรวจเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) และประเมินผลรวมหลังจัดประสบการณ์การเรียนรู้เสร็จสิ้นด้วยวิธีการให้ตอบแบบทดสอบวัดความรู้

รายละเอียดค าอธิบายรายวิชา สค0200035 คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ จ านวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา จ านวน (ชั่วโมง) 1. การสื่อสารในยุคดิจิทัล 1. บอกความหมาย องค์ประกอบ และวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ได้ 2. บอกความหมายและรูปแบบ ของการสื่อสารในยุคดิจิทัลได้ 3. บอกความหมายและ ความส าคัญของเครือข่ายต่อ สังคมออนไลน์ได้ 4. ตระหนักถึงความส าคัญของ เครือข่ายสังคมออนไลน์ 5. ระบุประเภทของเครือข่าย สังคมออนไลน์ที่นิยมใช้ใน ปัจจุบัน เช่น FACEBOOK INSTARGRAM TWITTER เป็นต้น 6. บอกประโยชน์และข้อจ ากัด ของเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ 1. ความหมายองค์ประกอบ และวัตถุประสงค์ของการ สื่อสาร 2. ความหมายและรูปแบบ ของการสื่อสารในยุคดิจิทัล 3. เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) 3.1 ความหมายและ ความส าคัญของเครือข่าย สังคมออนไลน์ 3.2 ประเภทของ เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ นิยมใช้ในปัจจุบัน 3.3 ประโยชน์และ ข้อจ ากัดของเครือข่ายสังคม ออนไลน์ 35

ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา จ านวน (ชั่วโมง) 7. ตระหนักถึงประโยชน์และ ข้อจ ากัดของเครือข่ายสังคม ออนไลน์และสามารถปรับใช้ได้ อย่างเหมาะสม 8. มีมารยาทและการสื่อสารใน ยุคดิจิทัลและประยุกต์ใช้ได้ 9. วิเคราะห์และอธิบายแนวโน้ม สื่อดิจิทัลในอนาคตได้ 10. วิเคราะห์กรณีศึกษา : การใช้ ประโยชน์การสื่อสารในยุคดิจิทัล ได้ 4. มารยาทการสื่อสารในยุค ดิจิทัล 5. แนวโน้มสื่อดิจิทัลใน อนาคต 6. กรณีศึกษา : การใช้ ประโยชน์การสื่อสารในยุค ดิจิทัล 2. คุณธรรมและจริยธรรม ในการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ 1. บอกความหมายและอธิบาย ความส าคัญของคุณธรรมและ จริยธรรมได้ 2. ตระหนักถึงความส าคัญของ คุณธรรมและจริยธรรม 3. บอกจรรยาบรรณในการใช้สื่อ สังคมออนไลน์และอธิบาย ความส าคัญได้ 4. ตระหนักถึงความส าคัญของ จรรยาบรรณในการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ 5. อธิบายแนวคิด ความส าคัญ องค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อ และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม 1. ความหมายและ ความส าคัญของคุณธรรม และจริยธรรม 1.1 ความหมายของ คุณธรรมและจริยธรรม 1.2 ความส าคัญของ คุณธรรมและจริยธรรม 2. จรรยาบรรณในการใช้สื่อ สังคมออนไลน์และ ความส าคัญ 3. การรู้เท่าทันสื่อ 3.1 แนวคิดการรู้เท่าทันสื่อ 3.2 ความส าคัญของการ รู้เท่าทันสื่อ 45

ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา จ านวน (ชั่วโมง) 6. ตระหนักและเห็นความส าคัญ ของการรู้เท่าทันสื่อ 7. ยกตัวอย่างการแสดงออกถึง ความรับผิดชอบในการใช้สื่อ สังคมออนไลน์ได้ 8. ตระหนักถึงความรับผิดชอบใน การใช้สื่อสังคมออนไลน์ 9. บอกสาระส าคัญของกฎหมาย เกี่ยวกับการสื่อสังคมออนไลน์ได้ 10. วิเคราะห์ข้อแตกต่างระหว่าง คุณธรรม จริยธรรมและกฎหมาย เกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ในสถานการณ์ที่ก าหนดได้ 11. วิเคราะห์กรณีศึกษา: การ ละเมิดคุณธรรมและจริยธรรมใน การใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ศึกษา ได้ 12. ตระหนักถึงผลกระทบของ การละเมิดคุณธรรมและ จริยธรรมในการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ 3.3 องค์ประกอบของการ รู้เท่าทันสื่อ 3.4 แนวทางการปฏิบัติให้ รู้เท่าทันสื่อ 3.5 ข้อควรระวังในการใช้ สื่อ 4. ความรับผิดชอบในการใช้ สื่อสังคมออนไลน์ 4.1 ต่อตนเอง 4.2 ต่อบุคคลอื่น 4.3 ต่อสังคม 5. กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ สื่อสังคมออนไลน์ 6. ข้อแตกต่างระหว่าง คุณธรรม จริยธรรมและ กฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่อ สังคมออนไลน์ 7. กรณีศึกษา: การละเมิด คุณธรรมและจริยธรรมใน การใช้สื่อสังคมออนไลน์