การเสด็จประพาสยุโรปของรัชกาลที่ 5 สรุป

นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงริเริ่มการเสด็จเยือนต่างประเทศทั้งในทวีปเอเชียและยุโรปทั้งอย่างเป็นทางการและเป็นการส่วนพระองค์แล้ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศด้วยพระราชประสงค์เช่นเดียวกับพระราชบิดา คือ เสด็จไปเจริญพระราชไมตรีกับต่างประเทศกับการเสด็จไปรักษาพระวรกายของพระองค์ มิเพียงแต่เท่านั้นยังทรงขยายเส้นทางไปสู่อินโดจีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและแคนาดา และทุกครั้งยังมีสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จเคียงคู่เสมอ

ในระยะเวลา 9 ปีแห่งรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2468-2477) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ ได้เสด็จประพาสต่างประเทศรวม 4 ครั้ง ดังนี้

การประพาสต่างประเทศครั้งที่ 1 ในปีที่ 5 ของการครองราชสมบัติ พ.ศ. 2472 ระหว่างวันที่ 31กรกฎาคม- 11 สิงหาคม พ.ศ.2472 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ เสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศสิงคโปร์ ชวา และบาหลี ซึ่งขณะนั้นอยู่ในการปกครองของประเทศอังกฤษ และเนเธอร์แลนด์ ทั้งนี้เพื่อเจริญทางพระราชไมตรีและทอดพระเนตรภูมิสถานบ้านเมืองและความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศเหล่านั้น

การประพาสต่างประเทศครั้งที่ 2 ในปีที่ 6 ของการครองราชสมบัติ ระหว่าง พ.ศ. 2473 ระหว่างวันที่ 6เมษายน –8 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ เสด็จพระราชดำเนินเยือนอินโดจีน (เฉพาะส่วนที่เป็นประเทศเวียดนาม และกัมพูชาปัจจุบัน) ซึ่งขณะนั้นอยู่ในการปกครองของประเทศฝรั่งเศส เพื่อเจริญพระราชไมตรีและก้าวข้ามจากความบาดหมางทั้งกับเจ้านายพื้นเมืองเดิมและสร้างสัมพันธภาพที่ดีเพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ทางการทูต

-การประพาสต่างประเทศครั้งที่ 3 ในปีที่ 7 ของการครองราชสมบัติ ระหว่างวันที่ 6 เมษายน – 28 กันยายน พ.ศ. 2474 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และแคนาดา การเสด็จฯครั้งนี้นอกจากเพื่อกระชับสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศแล้วยังเพื่อรักษาพระเนตรที่สหรัฐอเมริกาด้วย เป็นเวลานานถึง 3 เดือนเต็ม และในพระราชวโรกาสที่เสด็จฯถึงกรุงวอชิงตัน เมื่อวันที่28 เมษายน พ.ศ. 2474 นั้นเอง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานสัมภาษณ์หนังสือพิมพ์นิวยอร์ค ไทม์ แสดงพระราชประสงค์จะทรงจำกัดพระราชอำนาจของพระองค์ และพระราชทานอำนาจนั้นแก่ราษฎรในการปกครองประเทศในรูปแบบเทศบาลขึ้นก่อนเพื่อเป็นฐานก้าวไปสู่ระบอบประชาธิปไตยในโอกาสต่อไป

4 ในปีที่ 8-9 ของการครองราชสมบัติ และ ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 แล้ว ทั้งสองพระองค์เสด็จประพาสยุโรป 9 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส อิตาลี (นครรัฐวาติกัน) อังกฤษ เดนมาร์ก เยอรมนี เบลเยี่ยม เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี และสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2476 เพื่อกระชับสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ และเพื่อทรงรักษาพระเนตรอีกครั้งในประเทศอังกฤษ จนกระทั่งถึงวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2477ซึ่งเป็นวันสละราชสมบัติ ณ ประเทศอังกฤษ

อาจกล่าวได้ว่าการเสด็จประพาสต่างประเทศ ทั้ง 4 ครั้งในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเป็นไปเพื่อการเจริญสัมพันธไมตรี การทอดพระเนตรความเจริญของต่างประเทศเพื่อนำมาประยุกต์ในการพัฒนาประเทศสยามสืบต่อจากการปฏิรูปในสมัยรัชกาลที่ 5 อนึ่ง การเสด็จไปรักษาพระสุขภาพ โดยการผ่าตัดพระเนตรครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกาในพ.ศ. 2474 และรักษาพระเนตรครั้งที่ 2 และรักษาพระทนต์ในประเทศอังกฤษ พ.ศ.2476

ภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของทั้งสองพระองค์ในต่างประเทศสะท้อนให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงเคียงข้างกันทั้งในยามสุขและยามทุกข์ ทั้งการเสด็จประพาสในประเทศ ภูมิภาคต่างๆทั้งในประเทศ และต่างประเทศ จนกระทั่งวาระสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ณ ประเทศอังกฤษ เมื่อ วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484

พระรา
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ไม่มีการเสด็จ

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

 ไม่มีการเสด็จ

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ไม่มีการเสด็จ

ไม่มีการเสด็จ

1.  การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 ใน พ.ศ. 2440  นับเป็นครั้งแรกของพระมหากษัตริย์ในภูมิภาคนี้ที่เสด็จประพาสยุโรป  โดยมีจุดประสงค์สำคัญ  คือ  เพื่อทำความเข้าใจกับชาติที่คุกคามไทย  เพื่อเจรจาโดยตรงกับผู้นำของฝรั่งเศสเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในกรณีที่สืบเนื่องจากวิกฤติการณ์ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436)  รวมทั้งเพื่อแสวงหาชาติพันธมิตรมาช่วยส่งเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ  การเสด็จประพาสยุโรปครั้งนี้ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในการสร้างสัมพันธไมตรีกับรัสเซียในรัชสมัยซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งราชวงศ์โรมานอฟ
          ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ส่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ  เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถไปศึกษาที่ประเทศรัสเซียด้วย  และในการเสด็จประพาสยุโรปครั้งนี้ได้ทรงเจรจาและปรับความเข้าใจกับฝรั่งเศส  ซึ่งคุกคามไทยอย่างหนัก  รวมทั้งมีจุดประสงค์ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง  คือ  เพื่อทอดพระเนตรความเจริญของยุโรป  จะได้นำมาเป็นแบบอย่างในการปรับปรุงบ้านเมือง

2.  การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2450  ทรงมีจุดประสงค์สำคัญ  คือ  เพื่อรักษาพระอาการประชวรเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและพระวักกะ (ไต)  และเพื่อเจรจาราชการบ้านเมืองกับชาติตะวันตกต่าง ๆ ทั้งเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต  ปัญหาเรื่องคนในบังคับฝรั่งเศส  อำนาจการปกครองเหนือดินแดนเมืองหลวงพระบางบนฝั่งขวาแม่น้ำโขงและเขตปลอดทหาร (ไทย)  ระยะ 25 กิโลเมตรบนฝั่งขวาของแม่น้ำโขงตลอดแนวชายแดนระหว่างราชอาณาจักรสยามกับอาณานิคมอินโดจีนของฝรั่งเศส  ปัญหาภาษีร้อยชัก 3  เป็นร้อยชัก 10  และโครงการสร้างทางรถไพสายใต้  ทรงให้สัตยาบันในสนธิสัญญาสยามกับฝรั่งเศส  พ.ศ. 2449  การเจรจากับปลัดกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษซึ่งส่งผลให้เกิดสนธิสัญญาแลกเปลี่ยน 4 รัฐมลายูในเวลาต่อมา  และการเสด็จพระราชดำเนินทรงรับปริญญาด็อกเตอร์ออฟลอว์  (Doctor of Law)  ณ  บ้านของอธิการบดีมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
          นอกจากนี้ทรงมีลายพระราชหัตถเลขาพระราชทานแก่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ  เจ้าฟ้านิภานภดล  วิมลประภาวดีเล่าเรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่สภาพดินฟ้าอากาศ  สภาพบ้านเมือง  การรักษาพระองค์  สังคมและวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายของคนในประเทศที่เสด็จพระราชดำเนินเยือน  พระราชภารกิจ  พระราชดำริ  และพระราชวินิจฉัยส่วนพระองค์ที่ทรงมีต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ลายพระราชหัตถเลขานี้ต่อมาพิมพ์เป็นหนังสือ  "ไกลบ้าน"
          ในการเสด็จประพาสหัวเมือง  รัชกาลที่ 5  โปรดประพาสตามมณฑลหัวเมืองเพื่อดูสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร  มีทั้งที่เสด็จไปตรวจราชการอย่างเป็นทางการและเสด็จประพาสเป็นการส่วนพระองค์  หรือ  "เสด็จประพาสต้น"  ทั้งเสด็จทางเรือ  เสด็จทางรถไฟอย่างสามัญชน  ทรงแต่งพระองค์อย่างคนธรรมดา  เช่น  เป็นคหบดี  ทำให้ได้พบปะพูดคุยกับชาวบ้านโดยที่ชาวบ้านบางคนไม่รู้ว่าพระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดิน  บางครั้งทรงได้รับเลี้ยงอาหารจากชาวบ้าน  ซึ่งการคบหาสมาคมกับราษฎรอย่างใกล้ชิด  ทำให้พระองค์ทราบทุกข์สุขและความเป็นไปของราษฎรตลอดจนทางปฏิบัติงานของข้าราชการในส่วนท้องถิ่น

1) การเปิดทางรถไฟสาย คลองสาน - มหาชัย 29 ธันวาคม 2447 

2) การเสด็จมณฑลพายัพ ปี 2449 ( นิราศพายัพ ) - เสด็จทรงวางศิลารากอาคารบัทเลอร์ โรง 
เรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เมื่อวันที่ 2 มกราคม ค.ศ.1906 

3) การประทับที่พระราชวังสนามจันทร์ เช่น ตอนช่วงก่อนพิธีบรมราชาภิเษก ปลายปี 2453 และ ปี 2461 เป็นต้น 

4) การเสด็จเมืองชะอำ ปี 2464 

5) การเสด็จเปิดโรงแรมรถไฟหัวหิน ปี 2466 

6) การเสด็จเยือนสหรัฐมลายู ปี 2467 

7) การเสด้จประทับพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ปี 2467 - 2468 

ไม่มีการเสด็จ

ไม่มีการเสด็จ

ประเทศแรกที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินอย่างเป็นทางการ คือ ประเทศเวียดนามใต้ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ และครั้งล่าสุด ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างวันที่ ๘ - ๙ เมษายน

การเสด็จเยือนต่างประเทศครั้งยิ่งใหญ่และถือเป็นปรากฏการณ์โลก คือ การเสด็จพระราชดำเนินสหรัฐอเมริกาและประเทศต่างๆ ในยุโรป รวม ๑๔ ประเทศ และ ๑ รัฐ ระหว่างวันที่ ๑๔ มิถุนายน ถึง ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๓

เมื่อเสร็จสิ้นการเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่างๆ แล้ว ก็ได้ทรงต้อนรับพระราชอาคันตุกะ ที่เป็นประมุขของประเทศต่างๆ ที่เสด็จและเดินทางมาเยือนประเทศไทยเป็นการตอบแทน และบรรดาพระราชอาคันตุกะทั้งหลาย ต่างก็ประทับใจในพระราชวงศ์ของไทย ตลอดจนประชาชนชาวไทยอย่างทั่วหน้า

ความมุ่งหมายของการเสด็จประพาสยุโรปของรัชกาลที่ 5 คืออะไร

การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นการเสด็จพระราชดำเนินไปยังต่างประเทศในทวีปยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรสยาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสานสัมพันธไมตรีแก่ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป เพื่อให้ประเทศที่พระองค์เสด็จประพาสเหล่านั้นมองเห็นว่าประเทศ ...

รัชกาลที่ 5 ให้ความสำคัญกับประเทศใดอย่างมากในการประพาสยุโรปครั้งที่ 1

ราชอาณาจักรโปรตุเกส (เฉพาะครั้งที่หนึ่ง) สาธารณรัฐฝรั่งเศส ราชรัฐโมนาโก

เพราะเหตุใดรัชกาลที่ 5 จึงมีพระราชดำริที่จะเสด็จประพาสยุโรปตั้งแต่เสด็จขึ้นครองราชย์ *

เป็นที่ทราบกันว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป ครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 2440 เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศในภูมิภาคยุโรปเนื่องด้วยพระราชประสงค์นำความเจริญกลับมาสู่บ้านเมืองและปกป้องเอกราชของประเทศ

รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จเยือนยุโรปเป็นเวลากี่เดือน

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรก โดยเรือพระที่นั่งมหาจักรี เสด็จจากท่าราชวรดิษฐ์เมื่อวันที่ 7 เม.ย. .ศ. 116 หรือ พ.ศ. 2440 รวมระยะเวลาเสด็จประพาสทั้งสิ้น 253 วัน การเสด็จประพาสครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกที่พระองค์ได้เสด็จไปเจริญพระราชไมตรีกับนานาประเทศกว่า 10 ประเทศ โดยมี ...