กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา

กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา

กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา
กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา
     

          ไตรสิกขา คือ หลักการพัฒนาชีวิตเพื่อให้ประสบความสำเร็จเป็นคนสมบูรณ์แบบตามแนวพุทธ ไตรสิกขา จึงจัดอยู่ใน มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) คือ ควรทำให้เกิดมีขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาชีวิต ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา ๓ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่ต้องศึกษา 1 อย่าง คือ

         1. อธิสีลสิกขา สิกขา คือ ศีลอันยิ่ง

         2. อธิจิตตสิกขา สิกขา คือจิตอันยิ่ง หมายถึง สมาธิ

         3. อธิปัญญาสิกขา สิกขา คือ ปัญญาอันยิ่ง

          ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือ กระบวนการพัฒนา ๓ ด้าน คือ ศีล เป็นหลักการพัฒนาระดับความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม สมาธิ เป็นหลักการพัฒนาจิตใจให้มีสมรรถภาพและประสิทธิภาพในการคิดพิจารณาตัดสินใจกระทำหรือไม่กระทำการใด ๆ ปัญญา เป็นหลักการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ รู้จักสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็น และสามารถแยกแยะวิเคราะห์สืบหาสาเหตุของสิ่งทั้งหลายได้ชัดแจ้ง ไตรสิกขาจึงเป็นกระบวนการพัฒนาแบบบูรณาการ

กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา

http://www.anc.ubu.ac.th/prayersys56/show_detil3.php?m_id=23

กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา
 

ศึกษาวิเคราะห์กระบวนการศึกษาตามหลักไตรสิกขา

  • ประจิณ ปัญโญ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • ประสิทธิ์ ชาระ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คำสำคัญ: ศึกษาวิเคราะห์กระบวนการศึกษาตามหลักไตรสิกขา

บทคัดย่อ

หลักไตรสิกขา คือ อธิสีลสิกขา อธิจิตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา ทำให้ความประพฤติทางกายและจิตใจได้ผ่านหลักวิธีปฏิบัติที่เรียกว่า อริยมรรคไปด้วย คือ สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ สัมมากัมมันตะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ ซึ่งรวมลงในไตรสิกขา หลักไตรสิกขานี้ยังเป็นการดำเนินสู่เป้าหมายแห่งความเป็นอริยบุคคล คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ สำหรับตัวชี้วัดการศึกษานั้นใช้หลักภาวิต ๔ ด้าน คือ ภาวิตกาย ภาวิตศีล ภาวิตจิต และภาวิตปัญญา หากปฏิบัติครบบริบูรณ์จึงชื่อว่าผู้จบการศึกษาที่เรียกว่า พระอเสขบุคคล

พระพุทธองค์ทรงให้การศึกษาด้วยพระองค์เอง ระยะแรกทรงวางรูปแบบการศึกษาด้วยการให้พระอัครสาวกเป็นผู้ให้การศึกษา ต่อมาจึงส่งเสริมให้สมาชิกสงฆ์ได้รับประโยชน์ในส่วนของตนด้วยการปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา มีการจัดสภาพให้เอื้อต่อการศึกษาแก่หมู่พระภิกษุ เช่น ให้ถืออุปัชฌาย์และอาจารย์ เป็นต้น

บุคคลเหล่านี้ คือ ผู้ที่มุ่งมั่นในการพัฒนาตนอยู่แล้ว จนบางคนมีศักยภาพสูงที่สามารถแสดงธรรมแก่บุคคลอื่นได้และเป็นเอตทัคคะ ที่เป็นอริยบุคคลจำนวนมาก สังคมสงฆ์เบื้องต้นคอยค้ำจุนให้กับพุทธบริษัทอื่น ๆ สามารถขับเคลื่อนพัฒนาไปด้วยกันโดยการอิงอาศัย ซึ่งกันและกันอย่างมีดุลยภาพ เพื่อพัฒนาให้เกิดประโยชน์และเข้าใจหลักความจริงของโลกและชีวิตด้วยปัญญา โดยมีเป้าหมายในประโยชน์ ๓ ประการ คือ ๑) ประโยชน์สุขของชีวิตในปัจจุบัน ๒) ประโยชน์ขั้นสูงขึ้นไป อันได้แก่หลักประกันชีวิตในภพหน้า และ ๓) ประโยชน์อย่างยิ่ง (ปรมัตถ์) คือ พระนิพพาน

บรรณานุกรม

ก. ข้อมูลปฐมภูมิ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ข. ข้อมูลทุติยภูมิ
พระพรหมคุณาภรณ์. (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์?.
บงกช เอกกาญธนกร. (2557).“ปัญหาเกี่ยวกับการพกพาอาวุธปืนในประเทศไทย”. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต. คณะนิติศาสตร์ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร.

เปิด/ปิดแถบข้าง

ค้นหา

  • สร้างบัญชี

เครื่องมือส่วนตัว

สร้างบัญชี

เข้าสู่ระบบ

หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม

  • คุย
  • ส่วนร่วม

การนำทาง

  • หน้าหลัก
  • ถามคำถาม
  • เหตุการณ์ปัจจุบัน
  • สุ่มบทความ
  • เกี่ยวกับวิกิพีเดีย
  • ติดต่อเรา
  • บริจาคให้วิกิพีเดีย

มีส่วนร่วม

  • คำอธิบาย
  • เริ่มต้นเขียน
  • ศาลาประชาคม
  • เปลี่ยนแปลงล่าสุด
  • ดิสคอร์ด

เครื่องมือ

  • หน้าที่ลิงก์มา
  • การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวโยง
  • อัปโหลดไฟล์
  • หน้าพิเศษ
  • ลิงก์ถาวร
  • สารสนเทศหน้า
  • อ้างอิงบทความนี้
  • สิ่งนี้ใน วิกิสนเทศ

พิมพ์/ส่งออก

  • สร้างหนังสือ
  • ดาวน์โหลดเป็น PDF
  • รุ่นพร้อมพิมพ์

ภาษา

ลิงก์ข้ามไปยังรุ่นภาษาอื่นของบทความนี้ถูกย้ายไปด้านบนแล้วที่ทางขวาของชื่อหน้า ไปด้านบน

ไตรสิกขา

6 ภาษา

  • English
  • Magyar
  • 日本語
  • Slovenčina
  • Tiếng Việt
  • 中文

แก้ไขลิงก์

  • บทความ
  • อภิปราย

ไทย

    • อ่าน
    • แก้ไข
    • ดูประวัติ

    เพิ่มเติม

    • อ่าน
    • แก้ไข
    • ดูประวัติ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา

    บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (ตุลาคม 2564) (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

    ส่วนหนึ่งของ
    ศาสนาพุทธ
    กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา

    ประวัติ

    • เส้นเวลา
    • พระโคตมพุทธเจ้า
    • พุทธศาสนาก่อนแบ่งนิกาย
    • การสังคายนา
    • การเผยแผ่ศาสนาพุทธผ่านเส้นทางสายไหม
    • การเสื่อมถอยในอนุทวีปอินเดีย
    • ชาวพุทธยุคหลัง
    • พุทธศาสนาสมัยใหม่

    • ธรรม
    • แนวคิด

    • อริยสัจ 4
    • มรรคมีองค์แปด
      • ธรรมจักร
    • ขันธ์ 5
    • อนิจจัง
    • ทุกข์
    • อนัตตา
    • ปฏิจจสมุปบาท
    • มัชฌิมาปฏิปทา
    • สุญตา
    • ศีลธรรม
    • กรรม
    • การเกิดใหม่
    • สังสารวัฏ
    • จักรวาลวิทยา

    คัมภีร์

    • พุทธพจน์
    • ตำราพุทธศาสนาช่วงต้น
    • พระไตรปิฎก
    • พระสูตรมหายาน
    • ภาษาบาลี
    • ภาษาทิเบต
    • ภาษาจีน

    การปฏิบัติ

    • ไตรสรณคมน์
    • เส้นทางสู่การปลดปล่อยในศาสนาพุทธ
    • เบญจศีล
    • บารมี
    • การทำสมาธิ
    • เหตุผลทางปรัชญา
    • การบูชา
    • การทำบุญ
    • อนุสสติ 10
    • การมีสติ
    • ปัญญา
    • พรหมวิหาร 4
    • โพธิปักขิยธรรม 37
    • อรัญวาสี
    • คฤหัสถ์
    • บทสวดมนต์
    • การแสวงบุญ
    • ลัทธิมังสวิรัติ

    นิพพาน

    • การตรัสรู้
    • อริยบุคคล
    • พระอรหันต์
    • พระปัจเจกพุทธเจ้า
    • พระโพธิสัตว์
    • พระพุทธเจ้า

    ธรรมเนียม

    • เถรวาท
    • พระบาลี
    • มหายาน
    • หีนยาน
    • แบบจีน
    • วัชรยาน
    • แบบทิเบต
    • นวยาน
    • แบบเนวาร

    ศาสนาพุทธในแต่ละประเทศ

    • ภูฏาน
    • กัมพูชา
    • จีน
    • อินเดีย
    • ญี่ปุ่น
    • เกาหลี
    • ลาว
    • มองโกเลีย
    • พม่า
    • รัสเซีย
    • ศรีลังกา
    • ไต้หวัน
    • ไทย
    • ทิเบต
    • เวียดนาม

    • โครงเรื่อง
    • กระบวนการศึกษาตามขั้นตอนไตรสิกขา
      สถานีย่อยศาสนา

    ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ

    1. อธิสีลสิกขา คือศึกษาเรื่องศีล อบรมปฏิบัติให้ถูกต้องดีงาม ให้ถูกต้องตามหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลัก มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลักอินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ และสันโดษ
    2. อธิจิตตสิกขา คือศึกษาเรื่องจิต อบรมจิตให้สงบมั่นคงเป็นสมาธิ ได้แก่การบำเพ็ญสมถกรรมฐานของผู้สมบูรณ์ด้วยอริยศีลขันธ์จนได้บรรลุฌาน 4
    3. อธิปัญญาสิกขา คือศึกษาเรื่องปัญญาอบรมตนให้เกิดปัญญาแจ่มแจ้ง ได้แก่การบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานได้ฌานแล้วจนได้บรรลุวิชชา 8 คือเป็นพระอรหันต์หรืออืกชื่อคืออรหันต์พุทธ

    เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ไตรสิกขา&oldid=10387911"

    หมวดหมู่:

    • บทความที่ขาดแหล่งอ้างอิงตั้งแต่ตุลาคม 2564
    • ศาสนาพุทธ

    หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่:

    • Articles with invalid date parameter in template
    • บทความทั้งหมดที่ขาดแหล่งอ้างอิง

    กระบวนการศึกษาตามหลักไตรสิกขามีองค์ประกอบที่สำคัญอะไรบ้าง

    ข้อปฏิบัติที่จะต้องศึกษา ๓ อย่างคือ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา เรียกสั้น ๆ ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา ข้อปฏิบัติที่เป็นหลักสำหรับศึกษาอบรมเพื่อฝึกหัดกาย วาจา จิตใจ และปัญญาให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป จนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ นิพพาน

    ไตรสิกขา คือการศึกษาและการอบรมประกอบด้วยอะไรบ้าง

    การศึกษาในพุทธศาสนา เรียกว่า “ไตรสิกขาประกอบด้วย (1) ศีลสิกขา คือข้อปฏิบัติส าหรับใช้ อบรมทางด้านความประพฤติ(2) จิตตสิกขา คือข้อปฏิบัติสาหรับอบรมจิตให้เกิดสมาธิและ (3) ปัญญาสิกขา คือ ข้อปฏิบัติส าหรับอบรมปัญญาให้รู้แจ้งตามความเป็นจริง เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของชีวิตที่ก่อให้เกิดความ เป็นอยู่ที่ดี และเป็นพื้นฐานส า ...

    ผู้ที่ปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาจะมีลักษณะอย่างไร

    ผู้ปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา จะสามารถพัฒนาตนเองทางกาย วาจา โดยใช้ศีล และพัฒนาตนเอง ทางใจโดยใช้สมาธิจนเกิดปัญญา ในการใช้ชีวิต

    ไตรสิกขามีกี่ประการอะไรบ้าง

    พุทธธรรมมีกรอบการพัฒนาหลักเป็นระบบศึกษา 3 ประการ เรียกว่า ไตรสิกขา คือ อธิสีลสิก ขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา ที่เรียกสั้น ๆ ว่า ศีล สมาธิ และปัญญา ซึ่งเป็นการฝึกหัด อบรม เพื่อพัฒนากาย ความประพฤติ จิตใจ และปัญญา ไตรสิกขานี้เป็นการศึกษาที่ครอบคลุมการด าเนิน ชีวิตทุกด้านและทุกวัยอีกทั้งความง่ายยากตั้งแต่เรื่อง ...