เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

๑.ใช้ลมเป่าผ่านรูหักเหเสียงทำให้เกิดเสียง ( ไม่มีลิ้น)
ลักษณะโดยทั่วไปของเครื่องเป่าที่ ไม่มีลิ้นทำให้เกิดเสียงโดยการใช้ลมเป่าผ่านรูหักเหลม (รูปากนกแก้ว) ใช้ลมและนิ้วมือปิดรูเพื่อให้ได้เสียงสูงเสียงต่ำ ตามที่ต้องการเครื่องดนตรีประเภทเป่าชนิดนี้เรียกว่า ขลุ่ย
ขลุ่ย เป็นเครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้นทำด้วยไม้ลวกไม้ชิงชันมีลักษณะกลมเล็กยาวตัดด้านหนึ่งไว้ข้อด้านหน้าเจาะรู ๗ รูเรียงลำดับสำหรับ ปิดเปิดบังคับเสียงด้านหลังเจาะ๑รูเรียกว่า“รูนิ้วค้ำ” ด้านล่างเจาะอีก๒รูสำหรับร้อยเชือก เหนือรูปิดเปิด เจาะเป็นช่องเรียกว่า “รูปากนกแก้ว”สำหรับลมที่หักเหออกมาใช้ไม้สักอุดที่หัวไม้ลวกเกือบเต็ม บากเป็นช่องเล็กน้อยสำหรับเป่าเรียกว่า“ดากขลุ่ย” บากภายในให้เป็นที่หักเหของลมรองลงมาจากรูปากนกแก้ว เจาะอีกหนึ่งรูเรียกว่า“รูเยื้อ”เพื่อปิดด้วยเยื้อหัวหอมจะมีเสียงสั่นขึ้น เมื่อเรียบร้อยแล้วจะนำไปทำลวดลาย โดยการใช้ตะกั่วหลอมเหลมให้แดงแล้วนำมาลาดลงที่ผิวขลุ่ยสีดำจะขึ้นเป็นลายที่สวยงาม

เครื่องดนตรีไทยประเภทเป่า ถือว่าเป็นอีกหนึ่งเครื่องดนตรีที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างช้านาน เครื่องดนตรีประเภทเป่าถือว่ามีเอกลักษณ์ตรงเรื่องของการดัดแปลง สามารถทำให้สนุกก็ทำได้ สามารถทำให้เศร้าก็ทำได้ เล่นคนเดียวก็ได้ เล่นเป็นวงก็ทำได้เหมือนกัน หรือจะร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นก็ทำได้เช่นกัน เราคงรู้จักขลุ่ยกันดีอยู่แล้ว แต่มีอย่างอื่นไหม

เครื่องดนตรีแบบเป่าแบ่งไม่เหมือนใคร

เครื่องดนตรีมีการแบ่งแตกต่างกันไป บ้างก็แบ่งตามวัสดุที่ทำ แต่เครื่องดนตรีแบบเป่านั้นมีการแบ่งประเภทค่อนข้างแตกต่างจากเครื่องดนตรีชนิดอื่น กล่าวคือแบ่งตามชนิดของการเป่า เครื่องดนตรีประเภทเป่านั้นจะมีสองกลุ่มด้วยกัน กลุ่มแรกเป็นเครื่องดนตรีแบบเป่าที่มีลิ้น (ลิ้นหมายถึงปุ่ม หรือ ติ่งยื่นออกมาตรงลมเป่า) อีกกลุ่มหนึ่งเป็นเครื่องดนตรีแบบเป่าที่ไม่มีลิ้น เรียกได้ว่าแบ่งได้ไม่เหมือนใครจริง

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

เครื่องดนตรีเป่ามีลิ้น

เครื่องดนตรีเป่าแบบมีลิ้น จัดว่าเป็นเอกลักษณ์ของดนตรีไทยเลยก็ว่าได้ เนื่องจากเครื่องดนตรีประเภทนี้จะต้องมีการฝึกฝนมาพอสมควร ไม่งั้นเป่ายังไงก็ไม่ออก เครื่องดนตรีเป่ามีลิ้นมีทั้ง 9 ชนิดด้วยกัน ส่วนใหญ่จะเป็นปี่ เริ่มจาก ปี่ใน ปี่ชนิดนี้จะมีรูปร่างเป็นท่อนทรงกระบอกตรงกลางจะโป่งมากกว่า ตรงกลางจะมีลวดลาย รูปิดนิ้ว 6 รู ปี่ในส่วนใหญ่จะทำจากไม้ แต่ก็เคยมีการค้นพบปี่ในทำจากหินด้วยเหมือนกัน สองปี่นอก ปี่ชนิดนี้มีรูปร่างคล้ายปี่ในทุกประการ แต่ว่ามีขนาดเล็กกว่ามาก ปี่ชนิดนี้จะหยิบมาเล่นตอนเล่นโนราห์, ละครชาตรี เป็นต้น สามปี่กลาง ชิ้นนี้จะอยู่ตรงกลางระหว่างปี่นอกและปี่ใน ระดับเสียงก็ทำให้อยู่ตรงกลาง สามารถเล่นคู่กับมหรสพได้หลายรูปแบบ ปี่ชวา ปี่ชนิดนี้มองไปก็คล้ายกับปี่จากฝั่งยุโรปเหมือนกัน ปี่จะมีลักษณะเป็นแท่งยาวไล่ระดับคล้ายกับแตร ตามประวัติบอกว่ามีต้นกำเนิดมาจากชาวชวา ปี่อ้อ ปี่ชนิดนี้หายากมาก เนื่องจากทำด้วยไม้ท่อนเดียว ขนาดเล็ก มีรูทั้งหมด 7 รู จุดเด่นเป็นไม้แบนเสียบด้านท้าย นอกจากปี่ยังมีแคน เครื่องดนตรีจากชาวอีสาน แคนจะมีลักษณะไม้ไผ่มาประกบต่อกัน ตรงกลางมีเต้าเพื่อทำหน้าที่ประกบไม้ไผ่ และเป่า วิธีการเป่ามีทั้งเป่าลมออก ดูดลมเข้า

เครื่องเป่าไม่มีลิ้น

เครื่องดนตรีไทยแบบเป่าไม่มีลิ้น มักจะเป็นเครื่องดนตรีประเภท ขลุ่ย ไม่ว่าจะเป็น ขลุ่ยลิบ ขลุ่ยอู้ ขลุ่ยเพียงออ แม้ทั้งหมดจะมีลักษณะแตกต่างกัน แตกต่างกันในเรื่องของเสียงที่มีความแหลมสูงต่ำแตกต่างกันไป เราคงจะคุ้นเคยกับขลุ่ยกันเป็นอย่างดี

             เป็นเครื่องเป่าอีกประเภทหนึ่งที่มีลิ้น ซึ่งนำแบบอย่างมาจากชวา เข้าใจว่าเข้ามา เมืองไทยในคราวเดียวกับกลองแขก โดยเฉพาะในการเป่าเพลง ประกอบการรำ"กริซ" ในเพลง"สะระหม่า"ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น"๑"พบว่าปี่ชวาใช้เป่าร่วมกับ กลอง ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคและสถลมาคร นอกจากนั้นยังพบเห็นปี่ชวาเป่า ประกอบการเล่นกระบี่-กระบอง และการชกมวย
 ปี่จุม เป็นเครื่องเป่าอีกชนิดหนึ่งที่มีลิ้น  ที่ใช้ประกอบกับซอพื้นเมืองของล้านนาไทย     ซึ่งเดิมใช้เป่าแอ่วสาวของหนุ่มชาวเหนือไปตามละแวกหมู่บ้าน   เป็นเครื่องดนตรีประจำภาคเหนือ หรือล้านนา  ปัจจุบันใช้เป่าร่วมสะล้อ   ซึง   กลองเมือง  (หรือกลองโป่งโป้ง)   บรรเลงเพลงที่มีสำเนียงเหนือได้อย่างไพเราะ   มีชื่อเป็นนามว่า " เล่ม "

4.คลาริเนต (Clarinet) เป็นเครื่องดนตรีที่รู้จักกันแพร่หลายกว่าเครื่องอื่น ๆ ในบรรดาเครื่องลมไม้ด้วยกัน คลาริเนตเป็นเครื่องดนตรีที่ใช้ได้ในวงดนตรีเกือบทุกประเภท และเป็นเครื่องดนตรีที่ำสำคัญในวงออร์เคสตรา วงโยธวาทิต และวงแจ๊ส

ทั้งปี่และขลุ่ย มีลักษณะเป็นนามว่า " เลา "มีวิธีเป่าที่เป็นเอกลักษณ์ คือ การเป่าด้วยการระบายลม ซึ่งให้เสียงปี่ดังยาวนานติดต่อกันตลอด

เครื่องเป่าที่มีลิ้น
ปี่ในวงการดนตรีไทยมี 9 ชนิดคือ
1. ปี่ใน ใช้เป่ากับวงปี่พาทย์ไม้แข็งคู่กับปีนอก
2. ปี่นอก ใช้เป่ากับวงปี่พาทย์ไม้แข็งคู่กับปี่ใน
3. ปี่นอกต่ำ ใช้เป่ากับวงปี่พาทย์ในสมัยหนึ่ง
4. ปี่กลาง ใช้เป่ากับการแสดงหนังใหญ่
5. ปี่ชวา ใช้เป่ากับปี่พาทย์นางหงส์ และ เครื่องสายปี่ชวา และวงปี่กลอง
6. ปี่มอญ ใช้เป่ากับวงปี่พาทย์มอญ
7. ปี่อ้อ
8. ปี่จุ่ม
9. แคน
 เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น
ปี่ในวงการดนตรีไทยมี 3 ชนิดคือ
1. ขลุ่ยลิบ
2. ขลุ่ยอู้
3. ขลุ่ยเพียงออ

เครื่องเป่าที่มีลิ้น

ปี่ใน

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

เป็นเครื่องเป่าที่มีลิ้น ผสมอยู่ในวงปี่พาทย์มา แต่โบราณ ที่เรียกว่า "ปี่ใน " ก็เพราะว่า ปี่ชนิดนี้ เทียบเสียงตรงกับระดับเสียงที่เรียกว่า " เสียงใน " ซึ่งเป็นระดับเสียงที่วงปี่พาทย์ไม้แข็ง บรรเลงเป็นพื้นฐาน ตัวเลา ทำด้วยไม้ชิงชัน หรือไม้พยุง กลึงให้ป่องกลาง และบานปลายทั้งสองข้าง ภายในเจาะเป็นรูกลวงตลอดหัวท้าย มีรูสำหรับเปิดปิดนิ้ว 6รู โดยให้ 4 รูบนเรียงลำดับเท่ากัน เว้นห่างพอควรจึงเจาะอีก 2 รู ระหว่างช่องตอนกลางของแต่ละรู จะกรีดเป็นเส้น ประมาณ 3เส้นเพื่อให้สวยงาม ตอนหัวและตอนท้าย ของเลาปี่จะมีวัสดุกลมแบน ทำด้วยยาง หรือไม้มาเสริม โดยเฉพาะตอนบนสำหรับสอดใส่ลิ้นปี่เรียกว่า " ทวนบน " ส่วนตอนล่างจะใช้ตะกั่วมาต่อ สำหรับลดเลื่อนเสียงเรียกว่า " ทวนล่าง " ตัวเลาปี่นอกจากจะทำด้วยไม้ แล้วยังพบปี่ซึ่งทำด้วยหิน เป็นของเก่าแต่โบราณ

ปี่นอก

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

มีขนาดเล็กสุด ใช้เป่าในวงปี่พาทย์ชาตรี ในการเล่นโนราห์ หนังลุง และละครชาตรี ต่อมาได้เข้ามาบรรเลงผสมในวงปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องคู่และ เครื่องใหญ่ โดยเป่าควบคู่ไปกับปีใน มีระดับเสียง สูงกว่าปีใน มีวิธีเป่าคล้ายคลึงกับปี่ใน
ปี่นอกต่ำ มีขนาดใหญ่กว่าปี่นอก มีเสียงต่ำกว่าปี่นอก จึง เรียกว่า " ปี่นอกต่ำ " เคยใช้เป่าในวงปี่พาทย์มอญมาสมัยหนึ่ง ในปัจจุบันมิได้พบเห็นในวงปี่พาทย์ อาจเป็นด้วยหาคนเป่าได้ยาก หรือความไม่รู้เท่า ตลอดจนความไม่ประณีตของผู้บรรเลง ที่ใช้ปี่มอญเป่าในขณะบรรเลงเพลงไทยในวงปี่พาทย์มอญ ซึ่งทำให้อรรถรสของเพลงไทยผิดเพี้ยนไป
ต่อมาเมื่อการค้นคว้าหาข้อเปรียบเทียบของปี่ทั้ง 4ชนิด พบว่าปี่นอกต่ำใช้เป่าอยู่ในวง "ตุ่มโมง " ประกอบพิธีศพของผู้มีบันดาศักดิ์ทางภาคพื้นอีสานใต้มาแต่เดิม และในการเล่นโนราห์ชาตรีของชาวภาคใต้ในปัจจุบัน พบว่าได้ใช้ปี่นอกต่ำเป่ากันเป็นพื้นฐาน

ปี่กลาง

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

 เป็นปี่ที่มีสัดส่วนและเสียงอยู่กลางระหว่างปี่นอกกับปี่ใน จึงเรียกปี่ชนิดนี้ว่า " ปี่กลาง"ใช้เป่าประกอบการเล่นหนังใหญ่มาแต่โบราณ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดให้เกิดเสียง " ทางกลาง "ขึ้น ปัจจุบันไม่ใคร่ได้พบเห็น มีวิธีการเป่าเช่นเดียวกับปี่นอกและปี่ใน เพียงแต่ผิด กันที่นิ้วและระดับเสียง

ปี่ชวา

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

 เป็นเครื่องเป่าอีกประเภทหนึ่งที่มีลิ้น ซึ่งนำแบบอย่างมาจากชวา เข้าใจว่าเข้ามา เมืองไทยในคราวเดียวกับกลองแขก โดยเฉพาะในการเป่าเพลงประกอบการรำ " กริช "ในเพลง " สะระหม่า" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น " ๑ " พบว่าปี่ชวาใช้เป่าร่วมกับกลองในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคและสถลมาคร นอกจากนั้นยังพบเห็นปี่ชวาเป่าประกอบการเล่นกระบี่-กระบอง และการชกมวย

ปี่อ้อ

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

เป็นปี่ของไทยที่เก่าแก่อย่างหนึ่ง ตัวเลาทำด้วยไม้ลวกปล้องเดียว ไม่มีข้อ เขียนลวดลายด้วยการใช้ไฟลน หัวและท้ายเลี่ยมด้วยทองเหลือง หรือเงิน ด้านหน้าเจาะรูสำหรับปิดเปิดนิ้วบังคับเสียง 7 รู และด้านหลังเป็นรูนิ้วค้ำ 1 รู ลิ้นปี่นั้นทำด้วยไม้อ้อลำเล็กๆ เหลาให้บาง ไว้ทางหนึ่งกลม พันด้วยด้ายเพื่อให้กระชับพอที่จะเสียบเข้าไปในเลาปี่ อีกทางหนึ่งผ่าเจียนเป็น 2 ซีก ปลายมน ตัดไม้แบนเข้าแนบประกบ

ปี่จุ่ม

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

 เป็นเครื่องเป่าอีกชนิดหนึ่งที่มีลิ้น ที่ใช้ประกอบกับซอพื้นเมืองของล้านนาไทย ซึ่งเดิมใช้เป่าแอ่วสาวของหนุ่มชาวเหนือไปตามละแวกหมู่บ้าน เป็นเครื่องดนตรีประจำภาคเหนือ หรือล้านนา ปัจจุบันใช้เป่าร่วมสะล้อ ซึง กลองเมือง (หรือกลองโป่งโป้ง) บรรเลงเพลงที่มีสำเนียงเหนือได้อย่างไพเราะ มีชื่อเป็นนามว่า " เล่ม "

แคน 

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

เป็นเครื่องเป่าพื้นเมืองของชาวอีสานเหนือที่ใช้ไม้ซางขนาดต่าง ๆ ประกอบกันเข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นสัญลักษณ์ของภาคอีสาน เป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลำไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่าแคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายากพอสมควร แคนมีหลายขนาด บางขนาดมีเสียงประสานอยู่ด้วย

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

ปี่มอญ เป็นเครื่องเป่าในตระกูลปี่ ไทยได้แบบอย่างมาจากมอญ ปี่ชนิดนี้แบ่งเป็น 2 ท่อน ท่อนแรกเรียกว่า"ตัวเลา" ทำด้วยไม้จริง กลึงให้กลมเรียวยาว ภายในโปร่งตลอด ตอนปลายกลึงผายออกเล็กน้อย ถัดลงมากลึงเป็นลูกแก้วคั่นสำหรับผูกเชือกโยงกับตัวลำโพง ที่ตัวเลาด้านหน้าเจาะรู 7 รู เรียงตามลำดับเพื่อเปิดปิดนิ้วบังคับเสียง ด้านหลังตอนบนเจาะอีก 1 รูเป็น"รูนิ้วคำ" อีท่อนหนึ่งเรียกว่าลำโพง ทำด้วยทองเหลืองหรือสแตนเลส ลักษณะคล้ายดอกลำโพง แต่ใหญ่กว่า ปลายผายบานงุ้มขึ้น ตอนกลางและตอนปลายตีเป็นลูกแก้ว ตัวเลาปี่จะสอดใส่เข้าไปในลำโพง โดยมีเชือกเคียนเป็นทักษิณาวัฏ ในเงื่อน"สับปลาช่อน" ยึดระหว่างลูกแก้วลำโพงปี่กับลูกแก้วตอนบนของตัวเลาปี่ เพื่อไม่ให้หลุดออกจากกันง่ายๆ

มีลิ้น

 ขลุ่ยลิบ

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีกี่ชนิด

ขลุ่ยหลีบมีชื่อเต็มว่า ขลุ่ยหลีบเพียงออ ใช้เป่าคู่กับขลุ่ยเพียงออ มีขนาดเล็กและสั้นกว่าขลุ่ยเพียงออ ใช้ไม้รวกขนาดเล็กปล้องสั้นๆ เสียงจึงแหลมสูงกว่ขลุ่ยเพียงออ ใช้ในวงเครื่องสาย วงมโหรี วงปี่พาทย์ไม้นวม เช่นเดียวกันแต่ป็นวงเครื่องคู่ หรือ เครื่องใหญ่

เครื่องเป่าที่มีลิ้น มีกี่ชนิด

เครื่องเป่าที่มีลิ้น ปี่ในวงการดนตรีไทยมี 9 ชนิดคือ 1. ปี่ใน ใช้เป่ากับวงปี่พาทย์ไม้แข็งคู่กับปีนอก.
เป่าเป็นเสียงยาวๆ ไล่เสียงเรียงลำดับ.
เป่าเก็บ.
เป่าโหย.
เป่าตอด.
เป่าควงเสียง.
เป่าพรม.
เป่าครั่น.
เป่าปริบ.

เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น มีอะไรบ้าง

เครื่องเป่า แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1.เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น ได้แก่ ขลุ่ยหลีบ เป็นขลุ่ยขนาดเล็ก มีเสียงสูงแหลมเล็ก ระดับเสียงต่ำ สุดสูงกว่า เสียงต่ำสุดของขลุ่ยเพียงออขึ้นมา 3เสียง ใช้เป่าคู่กับขลุ่ย

เครื่องดนตรีประเภทเป่ามีอะไรบ้าง

เครื่องเป่าลมไม้.
เมาท์ออแกน (Organ Mount).
ฟลูต (Flute).
แซกโซโฟน (Saxophone).
โอโบ (Oboe).
คลาริเน็ต (Clarinet).
บาสซูน (Bassoon).
รีคอร์เดอร์ (Recorder).
ปิคโคโล (Piccolo).

ปี่มีกี่ประเภท

ปี่ของไทยจัดได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่ ปี่นอก มีขนาดเล็ก ยาวประมาณ 31 ซม. กว้าง 3.5 ซม. เป็นปี่ที่ใช้กันมาแต่เดิม เสียงของปี่นอกจะมีเสียงที่เล็กแหลม