การจัดหมวดหมู่ข้อมูลมีความสำคัญอย่างไร

           เป็นการเรียบเรียงข้อมูลที่ได้ค้นคว้า  วิเคราะห์ และสังเคราะห์มาแล้ว เพื่อนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้  ข้อสงสัย  ตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้น ในรูปแบบการเขียนรายงานอย่างมีเหตุผล

��èѴ��Ǵ����
����ͧ��èѴ��Ǵ����
1.��������
��èѴ����˹ѧ��� ���¶֧ ��èѴ˹ѧ��ͷ���������� ��������ͧ ���ǡѹ ���ͤ���¤�֧�ѹ�����������ǡѹ������ѭ��ѡɳ����ǡѹ���ͧ������ʴǡ㹡�ä���

2.����ª��
1. ˹ѧ�����������ͧ���ǡѹ��Ф���¤�֧�ѹ�������Ǵ���ǡѹ
2. ���������������ö��������� �дǡ ����Ǵ���Ǣ��
3. ����㹡�èѴ������� �дǡ ����Ǵ���Ǣ��

3.�к���èѴ��Ǵ�����������ѹ������ 2 ������ �ѧ���
3.1 �к���èѴ����Ẻ����ش�Ѱ�������ԡѹ (L.C) �ѭ�ѡɳ�������Ẻ�����������ѡ�����ѹ ( ����ѡ�����ǡѹ�Ѻ�����ѧ���) ����� A-Z ¡��� I O W X Y Z ����Ѻ����Ţ��úԤ����� 1 - 9999 ��觡�èѴẺ���������Ǵ�����͡��
20 ��Ǵ�˭�
3.2 �к���èѴ����Ẻ�ȹ����ͧ������ ( D . C ) �ѭ�ѡɳ�������Ẻ����Ţ��Шش�ȹ�����觡�èѴẺ���������Ǵ�����͡�� 10 ��Ǵ�˭�
������˹ѧ��ʹѧ���
000 - 099 �����
100 - 199 ��Ѫ��
200 - 299 ��ʹ�
300 - 399 �ѧ����ʵ��
400 - 499 ������ʵ��
500 - 599 �Է����ʵ��
600 - 699 �Է����ʵ�����ء��
700 - 799 ��Ż������úѹ�ԧ���С���
800 - 899 ���
900 - 999 ����ѵ���ʵ��
�ѭ�ѡɳ�����
�. ��˹ѧ��ͻ����� �ǹ����
�. ��˹ѧ��ͻ����� ˹ѧ�����������Ǫ�
��. ��˹ѧ��ͻ����� Ẻ���¹
�. ��˹ѧ��ͻ����� ��ҧ�ԧ(���͹حҵ�����͡�͡��ͧ��ش)
�� ��˹ѧ��ͻ����� ����ͧ���

�� : ��� ���Ѩ�� ࡵش�, �.� ������Ҥ�ͧ��� 191 �.2 �.�Ҵ����� �ǧ��ͧ��� �ҧ�л� ��ا෾� 10240, �ѹ��� 6 �չҤ� 2545

วิธีการทางประวัติศาสตร์

                        คือ กระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนำไปใช้อย่างถูกต้อง ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย

                       การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการตั้งคำถามพื้นฐานหลัก 5 คำถาม คือ

·       เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต (What)

·       เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่ (When)

·       เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน (Where)

·        ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น (Why)

·        เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร (How)

การจัดหมวดหมู่ข้อมูลมีความสำคัญอย่างไร


การจัดหมวดหมู่ข้อมูลมีความสำคัญอย่างไร


การจัดหมวดหมู่ข้อมูลมีความสำคัญอย่างไร

วิธีการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ได้แก่

                 1. การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา คือ การกำหนดประเด็นหรือหัวเรื่องที่นักเรียนสนใจ ต้องการรู้รายละเอียดที่ลึกซึ้งหรือสงสัยในความรู้ที่อธิบายกันในปัจจุบัน การกำหนดหัวเรื่องจะช่วยให้นักเรียนสามารถกำหนดประเด็นที่จะศึกษาได้ครอบคลุมกับเนื้อเรื่องที่สนใจศึกษาได้มากที่สุด

                  2. การรวบรวมหลักฐาน คือ การรวบรวมทั้งจากหลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ กับหลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้ข้อมูลสำหรับนำมาใช้ในการศึกษาเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆตรงตามหัวข้อที่นักเรียนกำหนดไว้

               3. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน คือ การประเมินหลักฐานทั้งหลายที่รวบรวมมาว่าหลักฐานใดมีความสำคัญควรแก่การเชื่อถือ เชื่อมั่น ซึ่งจะให้ข้อมูลในการศึกษาเรื่องราวได้ดีที่สุด ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนทราบว่าหลักฐานประเภทใดที่มีความน่าเชื่อถือและสามารถนำมาใช้อ้างอิงในการศึกษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

                  4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล คือ การนำข้อเท็จจริงที่ผ่านการวิเคราะห์มารวบรวมจัดหมวดหมู่ เพื่ออธิบายประเด็นศึกษาที่กำหนดไว้ในขั้นตอนที่ 1 ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถนำข้อมูลที่ได้มา วิเคราะห์ถึงสาเหตุและผลกระทบ รวมทั้งปัจจัยต่างๆตรงกับหัวข้อที่นักเรียนสนใจศึกษา

                  5. การเรียบเรียงหรือการนำเสนอ คือ การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าและตอบคำถามที่นักเรียนสงสัย สนใจ หรืออยากรู้ตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนรู้จักนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามานำเสนอต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือบุคคลอื่นให้เข้าใจในสิ่งที่นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่กำหนด

การวิเคราะห์และสังเคราะห์เรื่องราวหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์นั้นมีจุดมุ่งหมายคือ

1.             เพื่อแยกแยะข้อมูลทั้งที่เป็นข้อเท็จจริง และความเห็นออกจากกัน

2.             เพื่อรวบรวมข้อมูลทั้งที่เป็นข้อเท็จจริงและความเห็นให้เป็นหมวดหมู่

3.             เพื่อหาความหมายของข้อมูล

4.             เพื่อสรุปความเข้าใจของตนเอง

ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์

การศึกษาประวัติศาสตร์มีประโยชน์ต่อผู้ศึกษาดังนี้

                       1. ก่อให้เกิดความรักความภาคภูมิใจในชาติบ้านเมืองของตน  คือทำให้เรารู้ถึงความเสียสละของบรรพบุรุษที่ได้สร้างบ้านเมืองมา รักชาติบ้านเมืองไว้ด้วยชีวิต สร้างสมวัฒนธรรมอันดีงามมาสู่รุ่นลูกหลานจึงก่อให้เกิดความภูมิใจ รักหวงแหนมรดกที่บรรพบุรุษทิ้งไว้ ต้องการที่จะอนุรักษ์และสืบสานสิ่งที่ดีงามไปยังคนรุ่นลูกรุ่นหลานของเราต่อไป

                   2. ทำให้เข้าใจทัศนคติของผู้อื่น การศึกษาประวัติศาสตร์ช่วยให้เราเข้าใจความคิดความรู้สึกของคนในสังคมต่างๆ และในเวลาต่าง ๆ กัน

                       3. ทำให้ได้บทเรียนจากประวัติศาสตร์ เหตุการณ์หรือพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีตย่อมมีทั้งด้านดีและด้านร้าย พฤติกรรมใดที่นำความเสียหายมาสู่สังคมส่วนรวมในอดีต ซึ่งอาจส่งผลร้ายมาสู่ปัจจุบันและเชื่อมโยงไปถึงอนาคตด้วย