อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt

อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt

  • โครงการอบรมผู้นำนักเรียนและเยาวชน ด้านส่งเสริมสุขภาพ 2560 | สรุปสาระความรู้การดูแลสุขภาพสำหรับคุณ
  • รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อโครงการอบรมผู้นำนักเรียนและเยาวชน ด้านส่งเสริมสุขภาพ 2560
  • ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องคู่มืออบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt
  • การค้นหาที่เกี่ยวข้อง คู่มืออบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt.

[penci_button link=”#” icon=”” icon_position=”left” text_color=”#313131″]ชมวิดีโอด้านล่าง[/penci_button]

คุณสามารถดูเพลงใหม่และเพลงอัปเดตได้ที่นี่: ดูที่นี่

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อโครงการอบรมผู้นำนักเรียนและเยาวชน ด้านส่งเสริมสุขภาพ 2560

อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt

โครงการอบรมผู้นำนักเรียนและเยาวชน ด้านส่งเสริมสุขภาพ 2560

>>https://fashion.zcongnghe.com/เราหวังว่าข้อมูลที่เราให้ไว้จะมีความสำคัญกับคุณมาก ขอบคุณสำหรับการตรวจสอบข้อมูลนี้.

ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องคู่มืออบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt

โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร.

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง คู่มืออบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt.

#โครงการอบรมผนำนกเรยนและเยาวชน #ดานสงเสรมสขภาพ

[vid_tags]

โครงการอบรมผู้นำนักเรียนและเยาวชน ด้านส่งเสริมสุขภาพ 2560

คู่มืออบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt.

อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt
Download

อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt

Skip this Video

Loading SlideShow in 5 Seconds..

& การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน) PowerPoint Presentation

อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt
อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt

& การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน)

& การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน). ประเด็นยุทธศาสตร์ : ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น. ทัศนีย์ ช่วยรักษา สสจ.พระนครศรีอยุธยา. ขอบเขตการทำงาน กลุ่มเด็ก และเยาวชนวัยเรียน.

Uploaded on Nov 20, 2014

อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt

Download Presentation

อบรมผู้นํานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ppt

& การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน)

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - E N D - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

Presentation Transcript

  1. &การดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน)&การดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน) ประเด็นยุทธศาสตร์ : ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ทัศนีย์ ช่วยรักษา สสจ.พระนครศรีอยุธยา

  2. ขอบเขตการทำงานกลุ่มเด็ก และเยาวชนวัยเรียน ผู้ที่มีอายุ 6 – 24 ปี ที่ศึกษา :ในระบบโรงเรียน :นอกระบบโรงเรียน (โรงเรียน – สถาบันการศึกษาทุกสังกัด )

  3. สภาพปัญหาสำคัญของจังหวัดสภาพปัญหาสำคัญของจังหวัด • ความรุนแรง • ยาเสพติด • เพศสัมพันธ์ไม่ปลอดภัย ...ท้องในวัยเรียนวัยรุ่น / ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ • โรคอ้วนในเด็ก

  4. สถานการณ์ปัญหาสำคัญ

  5. สถานการณ์การคลอดในหญิงคลอดอายุต่ำกว่า 20 ปี ปี 2550 - 2553 หมายเหตุ : n = จำนวนประชากรหญิง(ในและนอกเขต) อายุต่ำกว่า 20 ปี ที่มาคลอดในรพ. ที่มา : รายงานการคลอด สสจ.พระนครศรีอยุธยา ปี 2550-ปัจจุบัน

  6. สถานการณ์การคลอดในเยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี ที่มา : ข้อมูลCHILD WATCH 2552 จ.พระนครศรีอยุธยา

  7. สถานการณ์สุขภาพที่สำคัญ(จากระบบรายงาน อรร.) ก่อนประถม n = 23115 คน โรคฟันผุ (58 %) เริ่มอ้วน-อ้วน (7.5%) URI (5.2%) ประถม n = 61920 คน โรคฟันผุ(48.07% ) เหา(16.2 %) เริ่มอ้วน-อ้วน ( 5.4 %) มัธยม n = 45202 คน โรคฟันผุ ( 7.54 %) เริ่มอ้วน-อ้วน (3.9 %) เหา ( 3.5% )

  8. ประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ผู้ใหญ่เข้าถึง ครอบครัวเอาใจใส่ สังคมปลอดภัย เด็กมีวินัย ฉลาดรู้ปฏิบัติตน แนวทางขับเคลื่อน

  9. เป้าประสงค์ เด็กวัยเรียน วัยรุ่น มีความรู้ ฉลาด สามารถเลือกปฏิบัติตน ให้ห่างไกลภัยสุขภาพได้ เด็กวัยเรียน วัยรุ่น มีพฤติกรรมทางสังคม และพฤติกรรมสุขภาพ เหมาะสม เด็กวัยเรียน วัยรุ่น อยู่ในสังคม และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

  10. นโยบายจังหวัด * บูรณาการงานสาธารณสุขทุกกลุ่มงานในโรงเรียน - งานบริการสุขภาพในโรงเรียน ( ตามแนวทางใน อร.14 ) - งานนโยบายของ 5 กลุ่มงาน ( ส่งเสริม คร คบส. ทันต สวล. ) - งานตามสภาพปัญหาของพื้นที่ในกลุ่มเด็กวัยเรียน-เยาวชน * การพัฒนา / รักษาระดับมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพให้ต่อเนื่อง * การส่งเสริมพฤติกรรมตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ

  11. ตัวชี้วัด 2554 * โรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 100 % และ ระดับทองแดง 0 % * โรงเรียนผ่านมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร อำเภอละ 1 ร.ร. * นักเรียนชั้น ป.5 - ม.6 มีและใช้แบบตรวจสุขภาพด้วยตนเอง 100 % * เด็กวัยเรียน 80 % มีพฤติกรรมผ่านเกณฑ์ตามแนวสุขบัญญัติแห่งชาติ

  12. การดำเนินงานที่ผ่านมา...หลากหลายและทับซ้อนการดำเนินงานที่ผ่านมา...หลากหลายและทับซ้อน

  13. กลยุทธ์การดำเนินงาน • สร้างความเข้าใจและพัฒนาความเข้มแข็งผู้ทำงานด้านเด็ก เยาวชน • ส่งเสริมการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและแก้ไข • ปัญหาสุขภาพนักเรียน • 3. บูรณาการแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมขององค์กรภายใน และ • หน่วยงานผู้เกี่ยวข้อง • 4. พัฒนาและรักษามาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • 5. ส่งเสริมองค์ความรู้ และทักษะ เพิ่มขีดความสามารถนักเรียนและ • ชมรมสุขภาพในโรงเรียน

  14. การจัดระบบพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - สุขภาพนักเรียน

  15. ภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพนักเรียนของจังหวัดภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพนักเรียนของจังหวัด • สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา • องค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา / อปท. / เทศบาล • สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย • สมัชชาสุขภาพเด็กและเยาวชน/สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  16. ยุทธศาสตร์การดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายยุทธศาสตร์การดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย

  17. การดำเนินงานดูแลสุขภาพนักเรียนการดำเนินงานดูแลสุขภาพนักเรียน เพื่อ...ลดปัจจัยเสี่ยง

  18. แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ การนำความรู้เข้าสู่ระบบการเรียนการสอน “สุขบัญญัติ 10 ประการ” และ ส่งเสริมการใช้แบบประเมินสุขบัญญัติในนักเรียนทุกโรงเรียน การประเมินสุขบัญญัติในนักเรียน (ผ่านเกณฑ์ 86.9 %) การสนับสนุนให้นักเรียนใช้แบบบันทึกสุขภาพตนเอง 100 % การสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ ครู – นักเรียน เกี่ยวกับการส่งเสริมพฤติกรรมและทักษะสุขภาพ การเพิ่มจำนวนและศักยภาพชมรมHealth Club

  19. บูรณาการงานสาธารณสุขในโรงเรียนบูรณาการงานสาธารณสุขในโรงเรียน • งานบริการสุขภาพในโรงเรียน -สำรวจสุขาภิบาลในโรงเรียน (โรงอาหาร ขยะ ส้วม ลูกน้ำยุงลาย) -สำรวจข้อมูลนักเรียน - ทบทวนกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ -เฝ้าระวัง / ป้องกัน / ควบคุมโรคติดต่อ-ไม่ติดต่อ และภาวะผิดปกติ -ตรวจสุขภาพ (โดย จนท.สธ. – นร,ใช้แบบตรวจฯ) / รักษา / ติดตาม -ให้สุขศึกษา / สุขบัญญัติฯ -คัดกรอง/ให้คำปรึกษา นร.กลุ่มเสี่ยงโดย จนท.สธ.– ครู – กลุ่ม FC ลักษณะกิจกรรม = บริการอนามัยโรงเรียนตามแนว อร.14

  20. บูรณาการงานสาธารณสุขในโรงเรียนบูรณาการงานสาธารณสุขในโรงเรียน • งานตามนโยบาย 5 กลุ่มงาน -โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ , Health Club , กินผักทุกวัน , ลดอ้วน (สส,) -ไข้เลือดออก , FC , To be No 1 , DM - HT (คร,) - อย.น้อย , Food safety (คบส.) - ส่งเสริมการแปรงฟัน , เด็กไทยไม่กินหวาน (ทันตฯ) - สุขาภิบาลอาหาร และสิ่งแวดล้อม , ส้วมผ่าน HAS , CFGT (สวล.) ลักษณะกิจกรรม = ประชุม อบรม ประกวด ประเมินมาตรฐาน

  21. กิจกรรม ระดับตำบล - วิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพในโรงเรียน เพื่อทำแผนงานโครงการ - กำหนดปฏิทินการปฏิบัติงานในโรงเรียน และปฏิบัติตามแผนต่อเนื่อง ( บริการ อรร. ประชุม อบรม ประเมิน / เยี่ยมเยียน / ติดตาม ...) - อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ ครู – ผู้นำนักเรียนแบบบูรณาการองค์ความรู้ - ช่วยเหลือโรงเรียนให้ดำเนินกิจกรรมสุขภาพ และจัดตั้งชมรมใน ร.ร. - ใช้เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแนวทางยกระดับ / คงสภาพมาตรฐานของโรงเรียน - ช่วยเหลือ และสนับสนุนโรงเรียน / ชมรมสุขภาพให้มีกิจกรรมที่เด่นชัด และต่อเนื่อง เพื่อเสริมความเข้มแข็งของเครือข่ายสุขภาพในอำเภอ

  22. โรงเรียน ครอบครัว / ชุมชน ส่งเสริมให้ทุกคนมี ส่วนร่วมดูแลสุขภาพตน จัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพที่ดี สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพของนักเรียน นักเรียน มีพฤติกรรมอนามัยเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันชีวิต (เลือกปฏิบัติแยกแยะได้ ) ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้/โรคเรื้อรัง OUTPUT & OUTCOME :HPS เพื่อ...คุณภาพชีวิตที่ดีของทุกคนในโรงเรียน

  23. ข้อสังเกตุ • ครู 1 คน..... ดูแลนักเรียนให้เรียนเก่ง เป็นคนดี มีความสุข หลายร้อย หลายพันคน • เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 คน..... เฝ้าระวัง ควบคุม/ป้องกัน รักษาพยาบาล ประชาชนทุกกลุ่มวัยตั้งแต่เกิด – จะตาย ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม....ลดอัตราการตายที่ไม่สมควรตายก่อนวัย (มะเร็ง หัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)

  24. Health Club คือ...อะไร .........คือ กลุ่มนักเรียนที่ถูกคัดเลือก หรือ มีจิตอาสา รวมตัวกันคิดและทำกิจกรรมสุขภาพในโรงเรียน ชุมชน เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกคน โดยเป็นแบบอย่างที่ดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ผองเพื่อน ครอบครัว และชุมชน....โดยมีคุณครู เป็นที่ปรึกษา และ จนท.สธ.เป็นพี่เลี้ยง ..........คือ แหล่งชุมนุมของแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ “อาศัยธรรมชาติของเด็กที่เชื่อและไว้ใจเพื่อน....เป็นสื่อกลางขยายความรู้”

  25. ทำใมต้องมี....HEALTH CLUB • ยุคสื่อไร้พรมแดน • สังคมไม่ปลอดภัย ครอบครัวแตกแยก • ภารกิจผู้ใหญ่หลากหลาย • ภัยคุกคามทางสุขภาพ • บทบาทเพื่อนสูงขึ้น

  26. พัฒนาการของแกนนำนักเรียนพัฒนาการของแกนนำนักเรียน

  27. ชมรมต่างๆในโรงเรียน (เดิม)

  28. Health Club ในโรงเรียน

  29. บทบาทของนักเรียนชมรม Health Club 1. จัดกิจกรรมในโรงเรียน / ให้ความรู้ .....เพื่อให้ทุกคน • ปฏิบัติตนตามแนวทางสุขบัญญัติ 10 ประการ • รู้จักเลือกบริโภคอาหาร น้ำดื่มที่สะอาด ถูกหลักโภชนาการ ปลอดภัย • รู้จักวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง • รู้จักใช้ / ดูแลห้องสุขาอย่างถูกต้อง • รู้จักการควบคุมและกำจัด... ขยะ - ลูกน้ำยุงลาย • ดูแลแปรงฟันให้สะอาด / เหงือกแข็งแรง 2. มีการตรวจสอบอาหาร/เครื่องปรุง ยา และเครื่องสำอางในโรงเรียน/ชุมชน 3. จัดมุมบริการFriend Corner - To be number One (ปรับทุกข์ สร้างสุขแก้ ปัญหา(ทุกด้าน) พัฒนา EQ)

  30. ความคาดหวัง • แกนนำนักเรียน มีจิตอาสาพัฒนาสุขภาพสมาชิกในโรงเรียน / ชุมชน • แกนนำ มีบทบาทสร้างสมาชิกในโรงเรียน ให้มีความปรารถนาดูแลสุขภาพ และลุกขึ้นทำกิจกรรมสุขภาพ ด้วยตนเอง • แกนนำนักเรียน ปฏิบัติบทบาทชัดเจนในกิจกรรมสุขภาพ โดยการสนับสนุนของโรงเรียน/ชุมชน

  31. บทบาทของพวกเรา...สาธารณสุขและครูบทบาทของพวกเรา...สาธารณสุขและครู • บริการสุขภาพนักเรียน ( ที่โรงเรียน / หน่วยบริการ) • สนับสนุนการใช้แบบตรวจสุขภาพตนเอง ( ป.5 – ม.6 ) • ส่งเสริมและจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาวะที่ดี • สร้างแกนนำ (ถ่ายทอดความรู้)...ป้องปรามภัยคุกคามทางสุขภาพ • หาแหล่งงบประมาณให้เด็กๆทำโครงงาน ...ประสานชุมชนใจดี • สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง • ส่งเสริม(ให้ความรู้) และประเมินพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน (วัดผล)

  32. แนวทางการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาในภาพรวมแนวทางการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาในภาพรวม • จัดทำแผนบูรณาการยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนระดับจังหวัด และผลักดันเข้าสู่ระบบของหน่วยงาน • ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธ์ศาสตร์ (SRM & SLM) ทุกระดับ เพื่อเป็นเครื่องมือแก้ไขปัญหา และเพิ่มการมีส่วนร่วมในภารกิจบทบาทของหน่วยงานทุกภาคส่วน • การพิเคราะห์ข้อมูลปัญหาสุขภาพ / อัตราป่วย / อัตราตาย ในเด็กวัยเรียน วัยรุ่น เพื่อนำไปสู่การจัดระบบการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพนักเรียนร่วมกับหน่วยงาน/ชุมชน • การเพิ่มขีดความสามารถแกนนำนักเรียนชมรม Health Club เป็นสื่อสุขภาพในโรงเรียน

  33. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร • เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ณ ปัจจุบัน • มีชมรมเด็กไทยทำได้ หรือชมรมสุขภาพอื่นๆที่ดำเนินกิจกรรมโดยนักเรียน อย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป • มีนักเรียนอ้วน(นน./สส.) < ร้อยละ 7 และ เตี้ย (สส./อายุ) < ร้อยละ 5 • นักเรียนร้อยละ 80 มีสมรรถภาพกายอยู่ในเกณฑ์ดี ครบ 4 เรื่อง • นักเรียนร้อยละ 90 มี EQ อยู่ในเกณฑ์ปกติและสูงกว่า • น้ำดื่มสะอาดผ่านเกณฑ์ของกรมอนามัย , มีจุดบริการน้ำดื่ม (1 ที่/ 75คน) • นักเรียนกินผักมื้อกลางวัน 4 ช้อนกินข้าว/มื้อ/คน (ทุกวันเปิดเรียน)

  34. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร • ส้วมผ่าน HAS ครบ 16 ข้อ • ไม่จำหน่ายอาหาร ขนม ที่มีไขมันสูง เค็มจัด หวานจัด น้ำอัดลม และเครื่องดื่มที่มีรสหวานจัด (ทุกวันเปิดเรียน) • โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ครบ 30 ข้อ • โรงอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ครบ 30 ข้อ • 1 รอบปีที่ผ่านมาไม่มีนักเรียนได้รับบาดเจ็บในโรงเรียนจนต้องนอน รพ. • โรงเรียนมีการจัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากมลพิษภายนอกที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ • มีโครงงานสุขภาพของนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ป้องกัน แก้ไขปัญหาสุขภาพในโรงเรียนและหรือชุมชน อย่างน้อย 1 เรื่อง

  35. เว๊บไซต์ สสจ. • www.ayo.moph.go.th/health • HEALTH CLUB

  36. สวัสดี