ข้อสอบ วิทยาการ คํา น วณ ม.3 บทที่ 1

วิทยาการคำนวณ ม.3

ยินดีต้อนรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ที่น่ารักทุก ๆ คน ครับ

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

ชื่อวิชา  เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผู้สอน   นายชยุต  วงศ์ษายะ   (ครูขวัญ  ใจดี)

จำนวน  1  คาบ/สัปดาห์   ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2564

@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

นักเรียน  3/1   3/2  ที่น่ารักทุกคนส่งงานทางอีเมล์ครูขวัญเท่านั้นนะครับ

อีเมล์    

ใส่ชื่อเรื่องที่จะส่ง   และเขียน ชื่อ เลขที่  ชั้น  ลงในกล่องข้อความเขียนอีเมล์  พร้อมแนบไฟล์งาน

************************

แบบทดสอบเก็บคะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
 2. การประมวลผลข้อมูล

ใบงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ

เรื่องที่ 3. การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ

การใช้ Google Forms ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ เรื่อง อาชีพในอนาคต

แบบทดสอบกลางภาคเรียนที่ 1/2564

ไฟล์นำเสนอบทที่ 2 (ให้นักเรียนทำสื่อกลุ่มละ 1 ชิ้น)

********************************

แบบทดสอบเก็บคะแนนรายวิชา วิทยาการคำนวณ ม.3 ภาคเรียนที่ 2/2564

แบบทดสอบเก็บคะแนนระหว่างภาคเรียนที่ 2/2564 รายวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 3

แบบทดสอบเก็บคะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง แอปพลิเคชั่น

------------------------------------------------------------------------------------

เทอมที่ 2/2564

*******************************************

ข้อสอบ วิทยาการ คํา น วณ ม.3 บทที่ 1

ข้อสอบ วิทยาการ คํา น วณ ม.3 บทที่ 1





วิชา วิทยาการคำนวณ ม.3 (ว23182) 0.5 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนา    แอปพลิเคชัน ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผล ซอฟต์แวร์  หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล การประเมินการความน่าเชื่อถือของข้อมูล การสืบค้นหาแหล่งต้นตอของข้อมูล เหตุผลวิวัติ ผลกระทบจากข่าวสารที่ผิดพลาด การรู้เท่าทันสื่อ กฎหมายที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์   การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม

รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก และนำเสนอการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ออกแบบและเขียนโปรแกรม เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน และมีความรับผิดชอบต่อสังคม


ตัวชี้วัด

ม3/1พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์

ม3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย

ม3/3 ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งาน
อย่างรู้เท่าทัน

ม3/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม

รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด

*********************************************************************************************************************

  1. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการพัฒนาแอปพลิเคชัน

https://forms.gle/LUtHjC5EFkNW1d5j7

2. แบบฝึกหัด เรื่องการพัฒนาแอปพลิเคชัน

https://forms.gle/Nsu7VH1w1CojcBzN6

แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม

ภาษาไพทอน

รู้จักไพทอน (Python)

ดาวน์โหลดภาษา Python

การติดตั้งภาษา Python

การรันโปรแกรมภาษา Python

โครงสร้างของภาษา Python

ในบทนี้ คุณจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจในโครงของภาษา Python ในภาษาคอมพิวเตอร์นั้นก็มีโครงสร้างของภาษาเช่นเดียวกกับภาษามนุษย์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ถูกกำหนดเพื่อเป็นรูปแบบและวิธีในการเขียนโปรแกรมในภาษา Python มันใช้สำหรับควบคุมวิธีที่คุณจะเขียนโค้ดของคุณเพื่อให้เข้าใจโดยตัวแปรภาษาหรือคอมไพเลอร์

Simple Python program

เพื่อเริ่มต้นการเรียนรู้ในภาษา Python มาดูตัวอย่างของโปรแกรมอย่างง่าย โดยเป็นโปรแกรมที่ถามชื่อผู้ใช้และแสดงข้อความทักทายทางหน้าจอ มาเริ่มเขียนโปรแกรมแรกในภาษา Python ของคุณ ให้คัดลอกโปรแกรมข้างล่างแล้วนำไปรันใน IDE
# My first Python program name = input('What is your name?\n')
print ('Hi, %s.' % name)
print ('Welcome to Python.')
ในตัวอย่างเป็นโปรแกรมในการรับชื่อและแสดงข้อความทักทายออกทางหน้าจอ ในการรันโปรแกรมคุณสามารถรันได้หลายวิธี แต่ที่แนะนำคือการใช้ Python shell ให้คุณเปิด Python shell ขึ้นมาแล้วกดสร้างไฟล์ใหม่โดยไปที่ File -> New File จะปรากฏกล่อง Text editor ของภาษา Python ขึ้นมา เพื่อรันโปรแกรม Run -> Run Module หรือกด F5 โปรแกรมจะเปลี่ยนกลับไปยัง Python shell และเริ่มต้นทำงาน
คอมเมนต์ในภาษา Python นั้นเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย # คอมเมนต์สามารถเริ่มต้นที่ตำแหน่งแรกของบรรทัดและหลังจากนั้นจะประกอบไปด้วย Whilespace หรือโค้ดของโปรแกรม หรือคำอธิบาย ซึ่งโดยทั่วไปแล้วคอมเมนต์มักจะใช้สำหรับอธิบายซอสโค้ดที่เราเขียนขึ้นและมันไม่มีผลต่อการทำงานของโปรแกรม นี่เป็นตัวอย่างการคอมเมนต์ในภาษา Python
print ('Hello Python.')
++++++
โปรแกรม Scratch
ข้อสอบ วิทยาการ คํา น วณ ม.3 บทที่ 1
หน้าตาของโปรแกรม Scratch โปรแกรม Scratch (อ่านว่า สะ-แครช) เป็นโปรแกรมภาษา ที่ผู้เรียนสามารถสร้างชิ้นงานได้อย่างง่าย เช่น นิทานที่สามารถโต้ตอบกับผู้อ่านได้ ภาพเคลื่อนไหว เกม ดนตรี และศิลปะ และเมื่อสร้างเป็นชิ้นงานเสร็จ แล้ว สามารถนาชิ้นงานที่สร้างสรรค์นี้ แสดง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นบนเว็บไซต์ได้ ทำให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักการทางคณิตศาสตร์ และแนวคิดการโปรแกรมไปพร้อมๆ กับการคิดอย่างสร้างสรรค์ มี เหตุผล เป็นระบบ และเกิดการทางานร่วมกัน

แหล่งเรียนรู้คลิปวิดีโอ

บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทัน มี 2 หัวข้อ 

เหตุผลวิบัติ (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 6) – YouTube

การใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม ตอนที่ 1/2 (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 6) – YouTube

การใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม ตอนที่ 2/2 (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 6) – YouTube

แบบทดสอบ

https://docs.google.com/forms/d/17Ujp_8ijx7QWhW2WFBNEtz66bYZgnGeB82WOJ6fo3T0/edit

บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทัน

บทที่ 1 การพัฒนาแอปพลิเคชัน มี 2 หัวข้อ

ขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 1) – YouTube

การวางแผนการพัฒนา (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 1) – YouTube

บทที่ 2 สร้างสรรค์ผลงานด้วยภาษาไพทอน 

การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตอนที่ 1 (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 2) – YouTube

การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตอนที่ี่ 2 (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 2) – YouTube

บทที่ 3 โปรแกรม Scratch

สนุกกับรายการ (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 3) – YouTube

เกมสอยดาว (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 3) – YouTube

บทที่ 4 การประมวลผลข้อมูล

ทางเลือกที่ดีที่สุด

บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

องค์ประกอบไอโอที (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 5) – YouTube

กรณีศึกษา (วิทยาการคำนวณ ม.3 บทที่ 5) – YouTube

สื่อและแหล่งเรียนรู้จาก สสวท.

หนังสือเรียนวิทยาการคำนวณ ม.3 – โครงการสอนออนไลน์ – Project 14 (ipst.ac.th)

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทัน