ลักษณะดนตรีไทยในสมัยธนบุรี

ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี from วิริยะ ทองเต็ม

ลักษณะดนตรีไทยในสมัยธนบุรี

กล่าวกันว่าประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เก่าแก่และดั่งเดิม มีคนหลากหลายสัญชาติ ลาว พม่า จีน อินเดีย
เครื่องดนตรีไทยคือ เครื่องดนตรี ที่สร้างขึ้นมาจากศิลปวัฒนธรรมไทย มีรูปแบบในความเป็นเอกลักษณ์ของไทย
ลอกเลียนแบบมาจากชนชาติอื่นๆ หรือ คล้ายกัน
เครื่องดนตรีไทยเกิดจากคนเชื้อชาติไทยเอง และได้ลอกเลียนแบบต่างๆจากคนจีนในสมัยที่ไทยที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในอาณาจักร ฉ่องหวู่ ในสมัยปัจจุบันได้มีการแลกเปลี่ยนเครื่องดนตรีกัน มีการผสมผสานจากประเทศอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงอีกด้วย เครื่องดนตรีไทยสมัยก่อนที่เก่าและมีชื่อเรียกกันว่า โกร่ง เกราะ กรับ ฉาบ ฉิ่ง ฆ้อง กลอง พิณเปี้ยะและขลุ่ย
ต่อมาไทยได้มีข้อตกลงปรองดองสัมพันธ์กับตะวันตกและอเมริกา ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของเครื่องดนตรีของประเทศนั้นๆ และแบ่งออกได้เป็น 4 ยุคสมัยของไทยดังต่อไปนี้
สมัยสุโขทัย มีหลักฐานในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงหลักที่ 1 ได้บอกไว้ว่าคนไทยได้มีการเล่นเครื่องดนตรีอย่างสนุกสนานมาก และได้กล่าวไว้ว่า”ดบงคมกลอง ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื้อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจะมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน”
สมัยอยุธยา เป็นยุคที่มีการทำศึกสงครามอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งทำให้ดนตรีไทยไม่เจริญก้าวหน้า ตอนหลังยุคสมัยอยุธยา ได้มีการเพิ่มเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งนั่นก็คือ ระนาดเอก ใช้เล่นดนตรีถวายให้แก่พระมหากษัตริย์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยมีเครื่องดนตรีที่เล่นประกอบด้วย กรับ ขลุ่ย โทน ฉิ่ง ซอสามสายและกระจับปี่ ต่อมาได้นำจะเข้มาใช้เล่นแทนกระจับปีและเป็นการผสมผสานที่ดีมากกับดนตรีมอญชิ้นนี้ ทำให้ได้เสียงที่ละมุนมากๆ
สมัยธนบุรี มีเครื่องดนตรีของชาติต่างๆเข้าอย่างมากมาย มีวงดนตรีไทยให้เลือกฟังอยู่ 3 ประเภท วงเครื่องสาย วงปี่พาทย์และวงมโหรี ยุคสมัยธนบุรีได้เปลี่ยนแปลงไปไวมากและไม่มีหลักระบุว่าเป็นของกรุงธนบุรี อาจเป็นของสมัยอยุธยาก็ว่าได้
สมัยรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบัน ในสมัยนี้เป็นยุคที่ยาวนานมากๆ มีกษัตริย์ทั้งหมด 9 พระองค์ และได้มีเครื่องดนตรีเข้ามาอย่างแพร่หลายได้แก่ ทัด เปิงมาง ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ระนาดเหล็กเล็ก ฆ้องเล็ก ระนาดเอก ฆ้องชัย ฆ้องหุ่ย เครื่องปี่ประดับงาและมุก และอื่นๆอีกมากมาย

มีวงดนตรี 3 ประเภท เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา คือ วงปี่พาทย์ วงมโหรี และวงเครื่องสาย แต่มีเครื่องดนตรีของชาติต่างๆ เข้ามาในประเทศไทยหลายชนิด ดังปรากฏในหมายกำหนดการของพระมหากษัตริย์ในสมัยนั้นว่า “ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิณพาทย์ไทย พิณพาทย์รามัญ มโหรีไทย ฝรั่ง มโหรีญวน เขมร ผลัดเปลี่ยนกันสมโภช 2 เดือนกับ 12 วัน” ในงานสมโภชพระแก้วมรกตเป็นต้น

ประวัติดนตรีไทยในสมัยอยุธยา-ธนบุรี

 ประวัติดนตรีไทยในสมัยอยุธยา

         ปรากฎหลักฐานเกี่ยวกับ ดนตรีไทย ในสมัยนี้ ในกฏมลเฑียรบาล ซึ่งระบุชื่อ เครื่องดนตรีไทย เพิ่มขึ้น จากที่เคยระบุไว้ ในหลักฐานสมัยสุโขทัย จึงน่าจะเป็น เครื่องดนตรี ที่เพิ่งเกิดในสมัยนี้ ได้แก่ กระจับปี่ ขลุ่ย จะเข้ และ รำมะนา นอกจากนี้ในกฎมณเฑียรบาลสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) ปรากฎข้อห้ามตอนหนึ่งว่า "...ห้ามร้องเพลงเรือ เป่าขลุ่ย เป่าปี่ สีซอ ดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีโทนทับ ในเขตพระราชฐาน..." ซึ่งแสดงว่าสมัยนี้ ดนตรีไทย เป็นที่นิยมกันมาก แม้ในเขตพระราชฐาน ก็มีคนไปร้องเพลงและเล่นดนตรีกันเป็นที่เอิกเกริกและเกินพอดี จนกระทั่งพระมหากษัตริย์ต้องทรงออกกฎมลเฑียรบาล ดังกล่าวขึ้นไว้เกี่ยวกับลักษณะของ วงดนตรีไทย ในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาขึ้นกว่าในสมัยสุโขทัย ดังนี้ คือ

1. วงปี่พาทย์ ในสมัยนี้ ก็ยังคงเป็น วงปี่พาทย์เครื่องห้า เช่นเดียวกับในสมัยสุโขทัย แต่มี ระนาดเอก เพิ่มขึ้น ดังนั้น วงปี่พาทย์เครื่องห้า ในสมัยนี้ประกอบด้วย เครื่องดนตรี ดังต่อไปนี้ คือ
  1. ระนาดเอก
  2. ปี่ใน
  3. ฆ้องวง (ใหญ่)
  4. กลองทัด ตะโพน
  5. ฉิ่ง

ลักษณะดนตรีไทยในสมัยธนบุรี

2. วงมโหรี ในสมัยนี้พัฒนามาจาก วงมโหรีเครื่องสี่ ในสมัยสุโขทัยเป็น วงมโหรีเครื่องหก เพราะได้เพิ่ม เครื่องดนตรี เข้าไปอีก 2 ชิ้น คือ ขลุ่ย และ รำมะนา ทำให้ วงมโหรี ในสมัยนี้ ประกอบด้วย เครื่องดนตรี จำนวน 6 ชิ้น คือ
  • ซอสามสาย
  • กระจับปี่ (แทนพิณ)
  • ทับ (โทน)
  • รำมะนา
  • ขลุ่ย
  • กรับพวง

ลักษณะดนตรีไทยในสมัยธนบุรี


                                               ประวัติดนตรีไทยในสมัยธนบุรี

     เนื่องจากในสมัยนี้เป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่ 15 ปี และประกอบกับเป็นสมัย แห่งการก่อร่างสร้างเมือง และการป้องกันประเทศเสียโดยมากวงดนตรีไทย ในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่า ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงขึ้น สันนิษฐานว่า ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของ ดนตรีไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง

ลักษณะดนตรีไทยในสมัยธนบุรี



เขียนโดย Unknown ที่22:53

ลักษณะดนตรีไทยในสมัยธนบุรี

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

วงดนตรีไทยใดที่ปรากฏในสมัยธนบุรี คือ

วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี สรุป วงดนตรีไทยในสมัยอยุธยา ประกอบด้วย ดนตรีไทยสมัยธนบุรี ในสมัยนี้ วงดนตรีมีทั้ง วงปี่พาทย์ วงมโหรีวงเครื่องสาย

วงดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยมีอะไรบ้างและมีลักษณะอย่างไร

การประสมวงดนตรีไทย สมัยสุโขทัย มีการประสมวง 4 แบบ คือ การบรรเลงพิณ วงขับไม วงปพาทยเครื่องหา และ วงเครื่องประโคม สมัยกรุงศรีอยุธยา มีการประสมวง 4 แบบ คือ วงขับไม วงปพาทย วงเครื่องสาย และวง มโหรี สมัยรัตนโกสินทร มีการประสมวง 5 แบบ คือ วงขับไม วงเครื่องกลองแขก วงเครื่องสาย วงปพาทย และวงมโหรี

ดนตรีไทยในสมัยรัชกาลที่ 1 มีลักษณะอย่างไร

สมัยรัชกาลที่ 1 ดนตรีไทย ในสมัยนี้ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะ และ รูปแบบตามที่มีมาตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือ การเพิ่ม กลองทัด ขึ้นอีก 1 ลูก ใน วงปี่พาทย์ ซึ่ง แต่เดิมมา มีแค่ 1 ลูก พอมาถึง สมัยรัชกาลที่ 1 วงปี่พาทย์ มี กลองทัด 2 ลูก เสียงสูง (ตัวผู้) ลูกหนึ่ง และ เสียงต่ำ (ตัวเมีย) ลูกหนึ่ง และ ...

ดนตรีไทยในสมัยอยุธยามีลักษณะอย่างไร

ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดนตรีไทยมีลักษณะเป็นการขับลำนำ และร้องเล่น วรรณคดี "ไตรภูมิพระร่วง" กล่าวถึงเครื่องดนตรี ได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉิ่ง แฉ่ง (ฉาบ) บัณเฑาะว์ พิณ ซอ ปี่ไฉน ระฆัง กรับ และกังสดาล