การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล ในปัจจุบัน

1.ความหมายของพลเมืองดจิ ิทลั สานกั งานราชบณั ฑิตยสภาให้นิยาม “พลเมือง” (Citizen) ว่า คนท่ีมีสิทธิและหนา้ ที่ใน ฐานะประชาชนของประเทศใดประเทศหน่ึง หรือประชาชนที่อยภู่ ายใตก้ ารปกครองเดียวกนั และมีวฒั นธรรมเดียวกนั ส่วนในการเขา้ ใจของคนทว่ั ไป พลเมือง คือ บุคคลท่ีเกิดในประเทศ น้นั ๆ หรือไดร้ ับสัญชาติและมีความจงรักภกั ดีต่อรัฐ รวมท้งั หมายถึงกลุ่มคนที่มีสิทธิและความ รับผดิ ชอบร่วมกนั ในฐานะสมาชิกของสงั คมอยา่ งไรกด็ ี ส่วนความเป็นพลเมืองดิจิทลั (Digital Citizenship) คือ พลเมืองผใู้ ชง้ านสื่อดิจิทลั และ ส่ือสังคมออนไลนท์ ่ีเขา้ ใจบรรทดั ฐานของการปฏิบตั ิตนใหเ้ หมาะสมและมีความรับผิดชอบใน การใชเ้ ทคโนโลยโี ดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การส่ือสารในยคุ ดิจิทลั เป็นการส่ือสารท่ีไร้พรมแดน

2.มิตขิ องพลเมอื งดจิ ทิ ัล 2.1 มติ ดิ ้านความรู้เกยี่ วกบั ส่ือและสารสนเทศ พลเมืองดิจิทลั ตอ้ งมีความรู้ความสามารถในการเขา้ ถึงการ ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ และส่ือสารขอ้ มูลข่าวสารผา่ นเคร่ืองมือดิจิทลั ดงั น้นั พลเมืองยุคใหม่จึง ตอ้ งมีความรู้ดา้ นเทคนิคในการเขา้ ถึงและใช้เครื่องมือดิจิทลั เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แทบ็ เล็ตไดอ้ ยา่ ง เช่ียวชาญ (Expert) 2.2 มิติด้านจริยธรรม พลเมืองดิจิทลั จะใชอ้ ินเทอร์เน็ตไดอ้ ย่างปลอดภยั มีความรับผิดชอบและมี จริยธรรมไดอ้ ยา่ งไร พลเมืองที่ดีจะตอ้ งรู้จกั คุณค่าและจริยธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี ไม่มีการล่วงละเมิด สิทธิส่วนบุคคลของบุคคลอ่ืน และไม่มีการใหร้ ้าย และการกล่าวหาท่ีไม่มีขอ้ เทจ็ จริง 2.3 มิติด้านการมีส่วนรวมทางการเมืองและสังคม พลเมืองดิจิทลั ตอ้ งรู้จกั ใชศ้ กั ยภาพของอินเทอร์เน็ต ในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อินเทอร์เน็ตเป็ นได้ท้งั เคร่ืองมือเพื่อการมีส่วนร่วม ทางการเมืองในระบบ

3.แนวคดิ ในการเป็ นพลเมืองดจิ ทิ ลั แนวคิดเก่ียวกบั ความเป็ นพลเมืองสามารถแบ่งออกเป็ น 3 แนวคิดหลกั ซ่ึงความเป็ นพลเมืองท้งั สาม แบบน้ีทางานร่วมกนั มากกวา่ แยกขาดจากกนั 3.1 ความเป็ นพลเมืองชาติตามขนบธรรมเนียม (Traditional Citizenship) แนวคิดความเป็นพลเมือง แบบเดิมน้นั ใหค้ วามสาคญั กบั “การเป็นสมาชิกภายใตก้ ฎหมายของรัฐชาติท่ีตนสังกดั ” หรือท่ีเรียกว่า “ความ เป็นพลเมืองภายใตพ้ ลเมืองภายใตก้ ฎหมาย” (Legal Citizenship) 3.2 ความเป็ นพลเมอื งโลก (Global Citizenship) แนวคิดความเป็นพลเมืองโลกวิพากษค์ วามเช่ือที่วา่ พลเมืองจะตอ้ งผูกติดกบั ความเป็ นชาติและวฒั นธรรมชาติที่ตนสังกดั เพียงหน่ึงเดียว ซ่ึงตีกรอบความเป็ น พลเมืองไวค้ บั แคบและกีดดนั กลุ่มคนท่ีมีเช้ือชาติ ศาสนา ภาษา และวฒั นธรรมอนั แตกต่างหลากหลายออก จากความเป็ นพลเมือง 3.3 ความเป็ นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) แนวคิดความเป็ นพลเมืองดิจิทลั พูดถึง ความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือมีส่วนร่วมในสังคมเศรษฐกิจดิจิทลั อย่างมีประสิทธิภาพ มีความ รับผดิ ชอบและปลอดภยั การปฏิวตั ิเทคโนโลยกี ารสื่อสารไดเ้ ปิ ดโอกาสและหยบิ ยน่ื ความทา้ ทายใหม่ๆใหก้ บั พลเมืองดิจิทลั ซ่ึงสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลโดยไร้ขอ้ จากดั เชิงภมู ิศาสตร์

4.ประเภทของพลเมืองดจิ ิทัล พลเมืองยคุ ดิจิทลั สามารถแบ่งกลุ่มได้ 2 กลุ่ม ดงั น้ี 4.1 กลุ่มที่ 1 คือกลุ่มที่ชอบการตลาดออนไลน์ คือ การขาย (Sales) และการตลาด (Marketing) ซ่ึงอาชีพที่เกิดใหม่ในสายงานน้ีท่ีเห็นไดใ้ นปัจจุบนั คือ อาชีพนกั รีวิว (Reviewer) และอาชีพบลอ็ กเกอร์สินคา้ (Blogger) เป็ นอาชีพที่เกิดข้ึนมาใหม่เพื่องานบริการและข่าวสารโดยการถ่ายทอดสดวิดีโอต่างๆผา่ นเฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) แอปพลิเคชนั ซ่ึงจะเห็นมากมายในโลกออนไลนย์ คุ น้ี นอกจากน้ีอีกหน่ึงอาชีพท่ีน่า จบั ตา คือ ยทู ูบเบอร์ (Youtuber) เป็นอาชีพท่ีมีการใชก้ ารรีววิ สินคา้ ผา่ นช่องทางวดิ ีโอเช่นกนั

4.2 กลุ่มท่ี 2 คือ กลุ่มคนที่มีความชอบด้านเทคโนโลยี (Technology) คนกลุ่มน้ีจะมีองคค์ วามรู้และถนดั ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ เขียนโปรแกรมได้จะเห็นได้ คือ นักพฒั นาแอปพลิเคชัน (Application Creator) ซ่ึงเป็นอาชีพที่น่าสนใจและน่าจบั ตามองเป็นอยา่ ง มาก อาชีพของคนกลุ่มน้ีสอดคลอ้ งกบั แนวโนน้ ของการพฒั นาเทคโนโลยี ท่ีกาลงั เติมโตข้ึนเร่ือยๆเพราะดว้ ยวถิ ีการใชช้ ีวิตของคนยคุ ดิจิทลั เช่น แอป พลิเคชนั ใชเ้ รียกบริการแทก็ ซี่หรือรถจกั รยานยนตร์ ับจา้ ง ในกลุ่มน้ียงั มีอาชีพนกั สร้างเน้ือหา (Content Editor) ตวั อยา่ งเช่น นกั สร้างเน้ือหาออนไลน์เป็ นอาชีพสร้างสรรคค์ อนเทนต์สู่ผูบ้ ริโภคโดย ผ่านช่องทางออนไลน์ เพราะคนส่วนใหญ่ทุกวันน้ีใช้สมาร์ตโฟน แลป็ ท็อป ในการเขา้ ถึงขอ้ มูลเป็นจานวนมาก รวมถึงอาชีพผดู้ ูแลส่ือสังคม ออนไลนก์ เ็ ป็นท่ีตอ้ งการอีกดว้ ย

5.คุณลกั ษณะทดี่ ขี องพลเมืองดจิ ทิ ัล พลเมืองดิจิทลั ท่ีมีคุณลกั ษณะที่ดี (Good Digtal Citizens) 5.1 การตระหนักถงึ ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยดี จิ ิทลั ของผู้อน่ื ผใู้ ชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั ทุกคนควรตระหนกั วา่ บุคคลมีโอกาสในการเขา้ ถึงและมีศกั ยภาพ ใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั ท่ีแตกต่างกนั พลเมืองดิจิทลั ที่ดีจึงไม่ควรเลือกปฏิบตั ิและดูหมิ่นบุคคลผขู้ าด ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั หากแต่จะตอ้ งช่วยแสวงหามาตรการต่างๆ เพ่ือเสริมสร้างความเสมอ ภาคในการเขา้ ถึง 5.2 การเป็ นผู้ประกอบการการและผู้บริโภคทมี่ จี ริยธรรม เป็ นท่ีทราบกนั โดยทว่ั ไปว่าเทคโนโลยีดิจิทลั ไดเ้ ปลี่ยนแปลงระบบตลาดแบบด้งั เดิม (Traditional Marketplace) ไปสู่ตลาดในระบบการตลาดดิจิทลั (Digital M Marketplace)และไดร้ ับ ความนิยมอยา่ งแพร่หลายจะเห็นไดจ้ ากความหลากหลายของประเภทสินคา้ ท่ีสามารถซ้ือหาไดใ้ น ระบบออนไลนต์ ลอดจนบริการประเภทต่างๆท่ีผบู้ ริโภคสามารถทาธุรกรรมได้

5.3 การเป็ นผู้ส่งสารและรับสารทม่ี มี ารยาท digital / etiquette รูปแบบการสื่อสารไดม้ ีการพฒั นาและเปล่ียนแปลงไปอย่างมากในช่วง ศตวรรษท่ี21 ดังจะเห็นได้จากรูปแบบการส่ือสารผ่านอินเทอร์เน็ตท่ีสะดวก รวดเร็วและมีความเชื่อมโยงทว่ั โลก เช่น อีเมล และส่ือสังคมออนไลนห์ ลากหลาย ประเภท ปัจจุบนั มีผูใ้ ช้ขอ้ ไดเ้ ปรียบของช่องทางการส่ือสารดงั กกล่าวอย่างไม่ เหมาะสม เช่น การส่งสารที่มีเจตนาหมิ่นประมาทผอู้ ื่น และการส่งสารที่มีเจตนา ใหส้ งั คมเกิดความแตกแยก หรือท่ีรู้จกั กนั ดีในนามของ Digital Etiquette 5.4 การเคารพต่อกฎหมายและกฎระเบียบ ปั จ จุ บัน ก า ร ท า ธุ ร ก ร ร ม แ ล ะ นิ ติ ก ร ร ม ท า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ อ ยู่ภ า ย ใ ต้ ขอ้ บงั คบั ของกฎหมายและกฎระเบียบวา่ ดว้ ยการทาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ซ่ึง มีวตั ถุประสงคห์ ลกั ในการป้ องกนั และปราบปรามการละเมิดในรูปแบบต่างๆท่ีมี ลกั ษณะเป็ นอาชญากรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น การลกั ขโมยและการจารกรรม ขอ้ มูลประเภทต่างๆ 5.5 การใช้เทคโนโลยใี ห้มคี วามเหมาะสมและไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ การเทคโนโลยีดิจิทลั ท่ีขาดความเหมาะสมอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพ โดยรวม เช่น ความเครียดต่อสุขภาพจิต ตลอดจนการทาให้เกิดการสูญเสีย สัมพนั ธภาพในสังคมได้ พลเมืองยคุ ดิจิทลั จะตอ้ งควบคุมการใชอ้ ุปกรณ์อเลก็ ทรอ นิกส์ให้มีความเหมาะสมเพื่อป้ องกนั มิให้เกิดอาการเสพติดต่อส่ิงดงั กล่าวจนเกิด ผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมได้

5.6 เรียนรู้วธิ ีการเสริมสร้างความปลอดภยั ในการใช้เทคโนโลยี พลเมืองดิจิทลั นอกจากจะตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีประสิทธิภาพแลว้ จะตอ้ ง ใฝ่ รู้และให้ความสาคัญกับมาตรการเพ่ือความปลอดภัยและการคุ้มครองข้อมูลส่ วนบุคคลด้วย (Digital Security) เน่ืองจากในยคุ ดิจิทลั น้นั ผมู้ ีเจตนากระทาผดิ และหลอกลวงสามารถใชเ้ ทคโนโลยที ี่มีความ ทนั สมยั เพื่อหลอกลวงผอู้ ่ืนไดง้ ่ายกวากระบวนการส่ือสารแบบด้งั เดิมวิธีการเสริมสร้างความปลอดภยั การใช้ เทคโนโลยดี ิจิทลั ท่ีสามารถกระทาไดโ้ ดยง่ายมีหลากหลายวิธี เช่น การติดต้งั ระบบป้ องกนั การจารกรรมและ การทาลายขอ้ มลู ใหก้ บั อุปกรณ์การส่ือสารทุกประเภทตลอดจนรู้เท่าทนั ต่อรูปแบบและกลอุบายของอาชญากร อิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีมกั มีการพฒั นารูปแบบของการกระทาผดิ อยเู่ สมอ

6. ทักษะของพลเมอื งยคุ ดจิ ทิ ลั สมาชิกของโลกออนไลน์ คือ ทุกคนที่ใชเ้ ครือข่ายอินเทอร์เน็ตบนโลกใบน้ี ผใู้ ชส้ ่ือสังคมออนไลน์มีความ หลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม การเป็นพลเมืองในยคุ ดิจิทลั น้นั มีทกั ษะท่ีสาคญั 8 ประการ ดงั น้ี 6.1 ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ท่ีดีของตนเอง (Digital Citizen ldentity) ตอ้ งมีความสามารถในการสร้าง สมดุล บริหารจดั การ รักษาอตั ลกั ษณ์ที่ดีของตนเองไวใ้ ห้ได้ ท้งั ในส่วนของโลกออนไลน์และโลกความจริง โดยตอนน้ีประเด็นเรื่องการสร้างอตั ลกั ษณ์ออนไลน์เป็ นถือเป็ นปรากฏการณ์ใหม่ท่ีทาให้บุคคลสามารถ แสดงออกถึงความเป็ นตวั ตนต่อสังคมภายนอก โดยอาศยั ช่องทางการสื่อสารผ่านเวบ็ ไซตเ์ ครือข่ายสังคมใน การอธิบายรูปแบบใหม่ของการส่ือสาร 6.2 ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตวั (Privacy Management) ดุลพินิจในการบริหารจดั การขอ้ มูลส่วนตวั โดยเฉพาะการแชร์ขอ้ มูลออนไลน์เพื่อป้ องกนั ความเป็ นส่วนตวั ท้งั ของตนเองและผอู้ ่ืนเป็ นสิ่งสาคญั ที่ตอ้ ง ประกอบอยใู่ นพลเมืองดิจิทลั ทุกคน และพวกเขาจะตอ้ งมีความตระหนกั ในความเท่าเทียมกนั ทางดิจิทลั เคารพ ในสิทธิของคนทุกคน รวมถึงตอ้ งมีวิจารณญาณในการรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลตนเองในสังคมดิจิทลั รู้ ว่าขอ้ มูลใดควรเผยแพร่ ขอ้ มูลใดไม่ควรเผยแพร่ และตอ้ งจดั การความเสี่ยงของขอ้ มูลของตนในส่ือสังคม ดิจิทลั ไดด้ ว้ ย

6.3 ทักษะในการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking) ความสามรถในการวิเคราะห์ แยกแยะระหว่างขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งและขอ้ มูลที่ผิด ขอ้ มูลที่มีเน้ือหาดีและขอ้ มูลที่เขา้ ข่ายอนั ตราย รู้ว่าขอ้ มูล ลกั ษณะใดที่ถูกส่งผา่ นทางออนไลน์แลว้ ควรต้งั ขอ้ สงสัย หาคาตอบใหช้ ดั เจนก่อนเชื่อและนาไปแชร์ดว้ ยเหตุ น้ี พลเมืองดิจิทลั จึงตอ้ งมีความรู้ความสามารถในการเขา้ ถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ และส่ือสาร ขอ้ มูลข่าวสารผา่ นเคร่ืองมือดิจิทลั ซ่ึงจาเป็นตอ้ งมีความรู้ดา้ นเทคนิคเพ่ือใช้เคร่ืองมือดิจิทลั เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์โฟน แทบ็ เลต็ ไดอ้ ยา่ งเชี่ยวชาญ 6.4 ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen time Management) ทกั ษะในการบริหารเวลากบั การใช้ อุปกรณ์ยุคดิจิทลั รวมไปถึงการควบคุมเพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างโลกออนไลน์และโลกภายนอกนบั เป็ นอีก หน่ึงความสามารถท่ีบ่งบอกถึงความเป็ นพลเมืองดิจิทลั ได้เป็ นอย่างดี เพราะเป็ นที่รู้กันอยู่แลว้ ว่าการใช้ เทคโนโลยดี ิจิทลั ที่ขาดความเหมาะสมยอ่ มส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวม ท้งั ความเครียดต่อสุขภาพจิตและเป็น สาเหตุก่อให้เกิดความเจ็บป่ วยทางกาย ซ่ึงนาไปสู่การสูญเสียทรัพยส์ ินเพ่ือใชร้ ักษาและเสียสุขภาพในระยะ ยาวโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ 6.5 ทักษะในการรับมอื กบั การคุกคามทางโลกออนไลน์ ( Cyberbullying Management) จากขอ้ มูลทาง สถิติล่าสุด สถานการณ์ในเร่ือง Cyber Bullying ในไทย มีค่าเฉล่ียการกลนั่ แกลง้ บนโลกออนไลนใ์ นรูปแบบ ต่างๆ ท่ีสูงกว่าค่าเฉล่ียโลกอยทู่ ี่ 47% และเกิดในรูปแบบท่ีหลากหลาย อาทิ การด่าทอกนั ดว้ ยขอ้ ความหยาบ คาย การตดั ต่อภาพ สร้างขอ้ มูลเทจ็ รวมไปถึงการต้งั กลุ่มออนไลน์กีดกนั เพื่อนออกจากกลุ่ม ฯลฯ ดงั น้นั วา่ ท่ี พลเมืองดิจิทลั ทุกคน จึงควรมีความสามารถในการรับรู้และรับมือการคุกคามข่มข่บู นโลกออนไลน์ไดอ้ ยา่ ง ชาญฉลาด เพอ่ื ป้ องกนั ตนเองและคนรอบขา้ งจากการคุกคามทางโลกออนไลนใ์ หไ้ ด้

6.6 ทกั ษะในการบริหารจัดการข้อมูลทผี่ ู้ใช้งานทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) มีรายงานการ ศึกษาวิจยั ยืนยนั ว่า คนรุ่น Baby Boomer คือ กลุ่ม Aging มกั จะใชง้ านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือ โทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีของผอู้ ่ืน และเปิ ดใชง้ าน WiFi สาธารณะ เสร็จแลว้ มกั จะละเลย ไม่รับรหสั ผา่ นหรือประวตั ิ การใชง้ านถึง 47% ซ่ึงเส่ียงมากท่ีจะถูกผอู้ ่ืนสวมสิทธิ ขโมยตวั ตนบนโลกออนไลน์ 6.7 ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurily Management) ความ สมารถในการป้ องกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ท่ีเขม็ แขง็ และป้ องกนั การโจรกรรมขอ้ มูลไม่ให้ เกิดข้ึนได้ ถา้ ตอ้ งทาธุรกรรมกบั ธนาคารหรือซ้ือสินคา้ ออนไลน์ เช่น ซ้ือเส้ือผา้ ชุดเดรส ฯลฯ ควรเปล่ียนรหสั บ่อยๆ และควรหลีกเล่ียงการใช้คอมพิวเตอร์สาธารณะ และหากสงสัยว่าขอ้ มูลถูกนาไปใช้หรือสูญหาย ควรรีบแจง้ ความและแจง้ หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งทนั ที 6.8 ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยอี ย่างมจี ริยธรรม (Digital Empathy) ความมารถในการเห็นใจและสร้าง ความสัมพนั ธ์ท่ีดีกบั ผูอ้ ื่นบนโลกออนไลน์ พลเมืองดิจิทลั ท่ีดีจะตอ้ งรู้ถึงคุณค่าและจริยธรรมจากการใช้ เทคโนโลยี จอ้ งตระหนกั ถึงผลพวงทางสงั คม การเมือง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรมท่ีเกิดจากการใชอ้ ินเทอร์เน็ต การกดไลท์ กดแชร์ ขอ้ มูล ข่าวสาร ออนไลน์ รวมถึงรูจกั สิทธิและความรับผดิ ชอบออนไลน์อาทิ เสรีภาพใน การพดู การเคารพทรัพยส์ ินทางปัญญาของผอู้ ื่น

7. Digital Literacy ปัจจุบนั โลกมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว จากยคุ แอนะลอ็ กไปสู่ยคุ ดิจิทลั และยคุ Robotic จึงทาใหเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั มีอิทธิพลต่อการดารงชีวติ และการทางาน ภาครัฐซ่ึงเป็นแกนหลกั ของการ พฒั นาประเทศจึงตอ้ งปรับตวั ใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทของการเปล่ียนแปลง ทกั ษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั หรือ Digital Literacy หมายถึง ทกั ษะในการนา เคร่ืองมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทลั ท่ีมีอยใู่ นปัจจุบนั อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ โปรแกรม คอมพิวเตอร์และส่ือออนไลน์ มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสื่อสาร การปฏิบตั ิงานและการ ทางานร่วมกนั หรือใชเ้ พื่อพฒั นากระบวนการทางาน หรือระบบงานในองคก์ รให้มีความทนั สมยั และมีประสิทธิภาพ สามารถแบ่งเป็น 4 ส่วนสาคญั ดงั น้ี

7.1 ใช้ (Use) หมายถึง ความคล่องแคล่วทางเทคนิคที่จาเป็ นในการใช้ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ทกั ษะและความสามารถท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั คาว่า “ใช”้ ครอบคลุมต้ังแต่เทคนิคข้ันพ้ืนฐาน คือ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมประมวลผลคา เวบ็ เบราวเ์ ซอร์ อีเมล และเคร่ืองมือสื่อสาร อื่นๆ 7.2 เข้าใจ (Understand) ชุดของทกั ษะที่จะช่วยผเู้ รียนให้เขา้ ใจบริบทและ ประเมิ น สื่ อดิ จิ ทัล เพื่อให้สา มา รถตัดสิ นใ จเกี่ ยว กับ อะไ รที่ ทา และพบ บนโล ก ออนไลน์ จัดว่าเป็ นทกั ษะท่ีสาคญั และจาเป็ นท่ีจะตอ้ งเร่ิมสอนเด็กให้เร็วที่สุด ขณะที่เขา้ สู้โลกออนไลน์ เขา้ ใจและรวมถึงการตระหนกั ว่าเทคโนโลยีเครือข่ายมี ผลกระทบต่อพฤติกรรมและมุมมองของผเู้ รียนอยา่ งไร 7.3 สร้าง (Create) คือ ความสมารถในการผลิตเน้ือหาและการส่ือสารอยา่ ง มีประสิทธิภาพผ่านเคร่ืองมือส่ือดิจิทลั ที่หลากหลายการสร้างด้วยส่ือดิจิทลั เป็ น มากกว่าแค่การรู้วิธีการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคาหรือการเขียนอีเมล แต่ยงั รวม ความสามารถในการดดั แปลงส่ิงที่ผูเ้ รียนสร้างสาหรับบริบทและผูช้ มท่ีแตกต่าง และหลากหลายความสมารถในการสร้างและส่ือสารดว้ ยการใช้ Rich Media เช่น ภาพ วดิ ีโอ และเสียงตลอดจนความสามารถในการมีส่วนร่วมกบั Web 2.0 อยา่ งมี ประสิทธิภาพ

7.4 เข้าถึง (Access) คือ การเขา้ ถึงและใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยดี ิจิทลั และ ขอ้ มูลข่าวสารเป็ นฐานรากในการพฒั นา การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ผูเ้ รียนจาเป็ นตอ้ งเขา้ ใจอินเทอร์เน็ต และการเขา้ ถึงอินเทอร์เน็ตดว้ ยช่องทางต่างๆ รวมถึงขอ้ ดีและขอ้ เสียของแต่ละช่องทางได้ เพื่อใหส้ ามารถใช้ Search Engine คน้ หา ขอ้ มูลที่ตอ้ งการจากอินเทอร์เน็ตไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี ยงั จาเป็ นตอ้ ง เขา้ ใจสื่อทางดิจิทลั ชนิดต่างๆ รวมถึงการนาไปประยกุ ตใ์ ชง้ านในปัจจุบนั การรู้ดิจิทลั คือ ความหลากหลายของทกั ษะท่ีเก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กัน ซ่ึง ทกั ษะเหล่าน้นั อยภู่ ายใต้ 1. การรู้ส่ือ (Media Literacy) 2. การรู้เทคโนโลยี ( Technology Literacy ) 3. การรู้สารสนเทศ ( lnformation Literacy ) 4. การรู้เก่ียวกบั ส่ิงท่ีเห็น ( Visual Literacy ) 5. การรู้การสื่อสาร ( Communication Literacy ) 6. การรู้สงั คม ( Social Literacy )

8. เทคโนโลยดี จิ ิทลั ในอาชีพทคี่ วรเรียนรู้ เทคโนโลยดี ิจิทลั ในอาชีพท่ีควรเรียนรู้ มีดงั น้ี 8.1 Digital Transformation คือ การปรับตวั เพื่อความอยรู่ อดของธุรกิจใน ยุคท่ีสังคมและเทคโนโลยีมีความเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมีการใช้ เทคโนโลยใี นการวางแผนต่างๆ เขา้ มาผสมผสานเพ่ือนาองคก์ รฝ่ ากระแส แม้หลายองค์กรในไทยโดยเฉพาะองค์กรใหญ่ๆ พยายามขยบั ตัวและ วางแผนท่ีจะเปล่ียนแปลงเองในยคุ ดิจิทลั ไปบา้ งแลว้ 8.2 Big Data คาจากดั ความของขอ้ มูลจานวนมากที่รวมตวั กนั อยอู่ ยา่ งเป็น ระเบียบมีหมวดหมู่ท่ีชดั เจน โดยสามารถนาขอ้ มูลเหล่าน้ีไปใชป้ ระโยชน์ดา้ น ต่างๆตามที่ตอ้ งการผ่านการใช้เคร่ืองมือเฉพาะทางในการวิเคราะห์ เช่น การ วเิ คราะห์พฤติกรรมการซ้ือของลูกคา้ เพอ่ื นาไปสู่การเจาะลึกถึงความตอ้ งการ แมไ้ ม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ที่ผา่ นมาหลายองคก์ รเพิ่งเร่ิมใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูล จานวนมหาศาลเท่าน้นั

8.3 Artifcial lntelligence : Al เป็นเทคโนโลยที ่ีถูกกล่าวถึงบ่อยๆ ในช่วงท่ีผ่านมา เพราะเป็ นเทคโนโลยีที่เป็ นเบ้ืองหลงั ของนวตั กรรม ต่างๆ ที่นาไปสู่การเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจ และตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของ ผบู้ ริโภคในอุตสาหกรรมต่างๆเร็วกวา่ แม่นยากวา่ การใชม้ นุษย์ องคก์ รต่างๆ ท่ีมองเห็นกระแสของเทคโนโลยีน้ีเร่ิมลงทุนใน Al ท่ีคาดวา่ จะไดเ้ ห็นชดั เจนข้ึนในปี หนา้ 8.4 5G คือ เทคโนโลยสี ่ือสารไร้สายในเจอเนอเรชนั ท่ี 5 โดยจะ มีศกั ยภาพและการทางานท่ีมีประสิทธิภาพท้งั ภาพและเสียงมากกว่า 4G ถึง 1,000 เท่า รวมถึงรองรับการใชง้ านไดม้ ากกว่าไม่เพียงแต่ในสมาร์ต โฟนเท่าน้นั แต่เป็ นการใชง้ านท่ีครอบคลุมไปถึง loT ( lnternet of Things) รองรับการอปั โหลดท่ีรวดเร็ว ดาวนโ์ หลดไฟลข์ อ้ มูลขนาดใหญ่ หรือแทบจะครอบคลุมทุการใชง้ าน

8.5 บล็อกเชน (Blockhain) ในปี หนา้ คาดว่าองคก์ รต่างๆ จะมีการ เริ่มตน้ ในการใชง้ านบลอ็ กเชน โดยยดึ ประโยชนข์ องระบบบลอ็ กเชนมากกวา่ การใชใ้ นเรื่องของสินทรัพยด์ ิจิทลั ที่ผ่านมามีหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน นาข้อดีของบล็อกเชน เหล่าน้ีมาใชใ้ นการบริหารจดั การระบบงาน อาทิ ธนาคารแห่งประเทศไทย เร่ิมประยุกต์ใช้บล็อกเชนงานของธนาคารแห่งประเทศไทยเอง เพื่อให้ ธนาคารแห่งประเทศไทย และผูเ้ กี่ยวขอ้ งไดเ้ รียนรู้บล็อกเชนในเชิงลึกและ ประเมินความเหมาะสมในการนาไปใชจ้ ริง 8.6 NDID (National Digital ID ) ระบบพิสูจนแ์ ละยนื ยนั ตวั ตน ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ที่มีบริษทั เนชนั แนลดิจิทลั ไอดี จากดั เป็นตวั กลางในการ ทาหนา้ ท่ีเช่ือมโยงขอ้ มูลระหว่างภาครัฐและเอกชน ทาให้เอกสารและขอ้ มูล ต่างๆ ท่ีปรากฏมีความน่าเชื่อถือ และไดร้ ับการรองรับทางกฎหมายในการทา ธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์บนโลกดิจิทลั

8.7 IT Security / Data Privacy แมก้ ารเช่ือมโยงขอ้ มูลต่างๆ ไดท้ ุกท่ีทุกเวลาจะมีขอ้ ดีอยู่ มาก แต่สิ่งท่ีตอ้ งให้ความสาคญั คือ ความปลอดภยั ของขอ้ มูล โดยเฉพาะขอ้ มูลส่วนบุคคลท่ี นาไปสู่การยนื ยนั ตวั ตนและทาธุรกรรมต่างๆ กระแสใชเ้ ทคโนโลยเี หล่าน้ี ทาให้ทุกองคก์ รตอ้ งให้ความสาคญั กบั ระบบ IT Security (ความปลอดภยั ทางไซเบอร์) และ Data Privacy (ความเป็นส่วนตวั ของขอ้ มูล) ใหม้ ากข้ึน เช่น การเตรียมระบบรองรับ ป้ องกนั ภยั ไซเบอร์ ระบบรักษาความปลอดภยั ภายในองคก์ ร ป้ องกนั การ ร่ัวไหลของขอ้ มลู ที่สาคญั ท้งั สาวนของขอ้ มลู ลกู คา้ และขอ้ มูลทางธุรกิจขององคก์ รดว้ ย

8.8 FinTech/Mobile Payment สองกระแสทางการเงินท่ีธุรกิจต่างๆหนีไม่พน้ คือ Fintech หรือ Financial Technology ที่เป็นการผสมผสานนวตั กรรมทางเทคโนโลยี เขา้ กบั การบริหารกางเงิน ซ่ึงมีส่วนทาให้ผบู้ ริโภครายยอ่ ยเขา้ ถึงบริการทางการเงินมาก ข้ึน เช่น เคร่ืองมือจดั การกองทุน แอปพลิเคชนั เทรดหุ้นวอลลุ่มต่าหรือแมแ้ ต่แอปพลิเค ชนั ลงทุนในทองคาที่ไม่จาเป็นตอ้ งใชเ้ งินจานวนมาก อีกหน่ึงกระแสที่มาแรง และเห็นไดช้ ดั เจนท่ีสุดช่วงปี ที่ผา่ นมา คือ Cashless Society หรือสังคมไร้เงินสดที่ใชก้ นั อยา่ งแพร่หลาย นบั ต้งั แต่ธนาคารพรณิชยป์ ระกาศ ฟรีค่าธรรมเนียมในการโอนเงินผ่านธนาคารอิล็กทรอนิกส์ กระแสน้ีมีแนวโน้มไดร้ ับ ความนิยมมากข้ึนเร่ือยๆ ดงั น้นั ธุรกิจที่เพ่ิมบริการชาระเงินออนไลน์ ซ้ือสินคา้ ออนไลน์ และบริการอื่นๆ ที่ผบู้ ริโภคไดป้ ระโยชน์จากการซ้ือสินคา้ ท่ีไม่ใช่เงินสด จึงเป็ นโอกาส เพ่มิ รายไดใ้ นการทาธุรกิจท่ามกลางตลาดท่ีเขม็ ขน้ ได้