ข้อสอบอัลกอริทึม พร้อมเฉลย


�Ԫҡ�çҹ�Ҫվ���෤����� (���� �32101) �дѺ �Ѹ���֡�һշ�� 5
Post Test ����ͧ ��š��Է�� (Algorithm) �ӹǹ 10 ���
�� �س������������� �ҹ�Ӿѹ�� �ç���¹ ��᫿�ػ����� �����ҹ ��û��
����� ���͡ �ӵͺ���١����ش��§ 1 ���

��ͷ�� 1)
���㴤�ͤ������¢ͧ Algorithm
   �����ѭ�ҷҧ��á�
   ��þ��٨��ҧ��Ե��ʵ��
   �ٻẺ�����¹�����
   ��鹵͹��÷ӧҹ�ͧ�����

��ͷ�� 2)
�ؤ��㹢��� ����ѹ��Ѻ����� ��š��Է�� (Algorithm)
   Ken Thompson
   Marth Richards
   Dennis M. Ritchie
   Alan The Gorithm Turing

��ͷ�� 3)
���㴤鹾���ҡ�þ��٨��ҧ��Ե��ʵ�����ͻѭ�ҷҧ��á� ����ö�Ҥӵͺ����ªش�ͧ��鹵͹�Ըշ��١��ͧ
   Ken Thompson
   Marth Richards
   Dennis M. Ritchie
   Alan The Gorithm Turing

��ͷ�� 4)
���㴤�ͻ���ª��ͧ��š��Է�� (Algorithm)
   ���ѭ�ѡɳ�᷹�����ѭ��
   �դ����Ѵਹ ��� �����㨤���
   �ա�÷ӧҹ������͹䢷�������˹�
   ����¡��СԨ���� ���������䢻ѭ��������ҧ�Ǵ����

��ͷ�� 5)
����������ٻẺ�����¹��š��Է��
   �ѧ����(function)
   ���ʨ��ͧ (Pseudo Code)
   �����¹�ѧ�ҹ (Flowchart)
   ��ú����� (Narrative Description)

��ͷ�� 6)
�����¹�ѧ�ҹ (Flowchart) �ա��Ẻ
   2 Ẻ
   3 Ẻ
   4 Ẻ
   5 Ẻ

��ͷ�� 7)
������ٻ�Ҿ�ѭ�ѡɳ� ᷹��鹵͹�����¹�������͢���
   �ѧ����(function)
   ���ʨ��ͧ (Pseudo Code)
   �����¹�ѧ�ҹ (Flowchart)
   ��ú����� (Narrative Description)

��ͷ�� 8)
����鴷���¡��鹢���
   �դ����Ѵਹ
   ��� ��㨤���
   ��¹������ٻ�ͧ�����
   ��¹��ٻ�����¹�����

��ͷ�� 9)
�ѧ�ҹ����ա�÷ӫ�� ���¡�ա�����������
   Loop Flowchart
   Condition Flowchart
   Sequemce Flowchart
   Pseudo Code Flowchart

��ͷ�� 10)
�ѧ�ҹẺ�����͹䢷ҧ���͡ ���¡�ա�����������
   Loop Flowchart
   Condition Flowchart
   Sequemce Flowchart
    Pseudo Code Flowchart


 

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 1

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.โครงสร้างข้อมูลหมายถึงอะไร

  . ข้อมูลแบบพอยน์เตอร์

  . กระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์

  . การสร้าฐานข้อมูลเพื่อการใช้งานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง

  . การทำงานของข้อมูลชนิดพื้นฐานและข้อมูลที่ซับซ้อนประกอบเข้าด้วยกัน

2.โครงสร้างข้อมูลแบ่งออกเป็นชนิดใหญ่ๆ ได้กี่ชนิด

  .2 ชนิด                                             .3 ชนิด

  .4 ชนิด                                             . 5 ชนิด

3. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลแบบมาตรฐาน

  . เลขจำนวนเต็มบวก                        . ค่าตรรกะ

  . เลขจำนวนทศนิยมบวก                 . ข้อมูลนามธรรม

4. ข้อใดเป็นข้อมูลมาตรฐานแบบ  Integer

  . “4”                                                  . 11

  .11.00                                              . False

5. ข้อใดเป็นข้อมูลมาตรฐานแบบ  Character

  . AA                                                 .

  .                                                 . ถูกทุกข้อ

6. ข้อใดเป็นข้อมูลมาตรฐานแบบ  Boolean

  . False                                           . mod div

  . True                                            . ข้อ ก. และ ค. ถูก

7. ข้อใดเป็นข้อมูลมาตรฐานแบบ  real

  . False                                          . mod div

  . 88                                              . 88.88

8. กรรมวิธีทางข้อมูลแบบข้อมูล Integer โดยกำหนดข้อมูลคือ 10 ตัวดำเนินการคือ add กับข้อมูล 5 ผลลัพธ์  เป็นเท่าใด

 .5                                                 . 10

 . 15                                               . 50

9. กรรมวิธีทางข้อมูลแบบข้อมูล real  โดยกำหนดข้อมูลคือ 4.5  ตัวดำเนินการคือ more than  กับข้อมูล  5.0 ผลลัพธ์เป็นเท่าใด

  . -0.5                                            . 9.5

  . True                                           .False

10. กรรมวิธีทางข้อมูลแบบข้อมูล boolean  โดยกำหนดข้อมูลคือ False  ตัวดำเนินการคือ and  กับข้อมูล  True  ผลลัพธ์เป็นเท่าใด

  . False                                          . True

  . 15                                              . 50

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 2

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.อัลกอริทึมคืออะไร

  . คือลักษณะข้อมูลแบบพอยน์เตอร์

  . คือกระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์

  . คือขั้นตอนการทำงานและการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน

  . คือการสร้างฐานข้อมูลเพื่อการใช้งานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง

2. อัลกอริทึมแบบแตกย่อยคืออะไร

  . การทำงานอย่างมีทางเลือก

  . การนำปัญหาต่างๆ มาแตกย่อย

  . การแบ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์

  . ไม่มีข้อใดถูก

3. เหตุผลที่ต้องใช้ผังงานในโครงสร้างข้อมูลเพื่ออะไร

  . ผังงานบ่งบอกถึงการทำงานในโครงสร้างชัดเจน

  . ผังงานช่วยให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนง่ายขึ้น

  . ผังงานสามารถหาผลลัพธ์ออกมาได้ว่าคืออะไร

  . ถูกทุกข้อ

4. ขั้นตอนใดของการจัดทำอัลกอริทึม ที่ต้องทราบถึงสิ่งที่โจทย์ต้องการ

  . Analysis

  . Design

  . Coding/Programming

  . Testing and Debugging

5. ขั้นตอนใดของการจัดทำอัลกอริทึมที่ต้องมีการเขียนผังงานโปรแกรม

    . Analysis

  . Design

  . Coding/Programming

  . Testing and Debugging

6. ข้อใดกล่าวถึงขั้นตอน Coding/Programming ได้ถูกต้อง

  . เป็นการนำผลที่ได้จากการออกแบบ มาเขียนคำสั่งของโปรแกรมเพื่อนำไปประมวลข้อมูลและได้ผลลัพธ์ของโปรแกรมต่อไป

  . เป็นการออกแบบคำสั่งโปรแกรมเพื่อการเขียนผังงานโปรแกรมที่ถูกต้อง

  . เป็นการออกแบบโปรแกรมอย่างเป็นขั้นตอนและมีเหตุมีผล โดยการเขียนเป็นประโยคภาษาอังกฤษอย่างง่าย อธิบายการประมวลผลในแต่ละขั้นตอน

  . เป็นการตรวจสอบว่าผังงานโปรแกรมที่เขียนมานั้นข้อผิดพลาดของโปรแกรมหรือไม่เพื่อทำการแก้ไขต่อไป

7. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของเอกสารอธิบายโปรแกรม

  . คำบรรยายลักษณะโปรแกรม

  . คำอธิบายพร้อมผังงานหรือรหัสเทียม

  . ขั้นตอนการเขียนคำสั่งโปรแกรม

  . ผลการทดสอบโปรแกรม

8.

  จากแผนผังนี้ เป็นโครงสร้างแบบใด

  .โครงสร้างแบบคำสั่งตามลำดับ

  . โครงสร้างโปรแกรมแบบมีการตัดสินใจ

  . โครงสร้างโปรแกรมแบบวงจรปิด

  . โครงสร้างโปรแกรมแบบวงจรเปิด

9. โครงสร้างโปรแกรมแบบใดที่มีลักษณะการทำงานแบบซ้ำซ้อน

  . โครงสร้างแบบคำสั่งตามลำดับ

  . โครงสร้างโปรแกรมแบบมีการตัดสินใจ

  . โครงสร้างโปรแกรมแบบวงจรปิด

  . โครงสร้างโปรแกรมแบบวงจรเปิด

10. โปรแกรมในข้อใดต่อไปนี้ที่จัดได้ว่ามีอัลกอริทึมที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด

  . โปรแกรมที่มีโครงสร้างการทำงานซับซ้อนมาก ใช้เวลานานในการทำงาน

  . โปรมแกรมที่ใช้เวลาในการทำงานนาน และใช้เนื้อที่ในหน่วยความจำน้อย

  . โปรแกรมที่มีความเร็วในการทำงานสูง และใช้เนื้อที่หน่วยความจำมาก

  . โปรแกรมที่มีความเร็วในการทำงานสูง และใช้เนื้อที่หน่วยความจำน้อย

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 3

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.โปรแกรมใดที่จำเป็นต้องใช้ตัวแปรอาร์เรย์

  . โปรแกรมคำนวณหาพื้นที่รูปวงกลม

  . โปรแกรมคำนวณหาพื้นที่รูปวงกลม 20 วง

  . โปรแกรมคำนวณหาพื้นที่และเส้นรอบวงของวงกลม

  . โปรแกรมหาพื้นที่วงกลมใดที่มีค่ามากที่สุดจาก 20 วง

2. ถ้าตัวแปร A เป็นตัวแปรแบบอาร์เรย์แล้ว กลุ่มข้อมูลใดสามารถจัดเก็บตัวแปร A ได้

  . 25 ,    60  ,    boy ,    T

  . A ,   B ,   C ,    D

  . Dog ,   cat  2.50

  . True ,   Somsri ,   10.25

3. จากโปรแกรมต่อไปนี้  Data  มีผลลัพธ์เป็นเท่าไร

         Program  Test  1

         Var Data : integer

         Begin

            Data : = 60;

            Data : = 20;

            Writeln (Data);

          End

  . 60

  . 20

  . 80

  . 40

4. ข้อใดต่อไปนี้ที่ผู้เขียนโปรแกรมควรกำหนดเป็นตัวแปรอาร์เรย์

 . I  เก็บค่านับรอบของลูป จำนวน 20 รอบ

  . Score เก็บค่าคะแนนนักศึกษา 20  คน

  . Mean เก็บคะแนนเฉลี่ยนักศึกษา 20 คน

  . Max เก็บคะแนนนักศึกษาที่มีคะแนนสูงสุดจาก 20 คน

5. ตัวแปรอาร์เรย์ต่างกับตัวแปรเดี่ยวอย่างไร

  . ตัวแปรอาร์เรย์เก็บค่าในฮาร์ดดิสก์ตัวแปรเดี่ยวเก็บค่าใน RAM

  . ตัวแปรอาร์เรย์เก็บค่าแบบ Numeric ตัวแปรเดี่ยวเก็บค่าแบบ String

  . ตัวแปรอาร์เรย์เก็บค่าคงที่ ตัวแปรเดี่ยวเก็บค่าเปลี่ยนแปลงได้

  . ตัวแปรอาร์เรย์เก็บค่าได้หลายค่า  ตัวแปรข้อมูลเดี่ยวเก็บค่าได้เพียงค่าเดี่ยว

6. ประกาศตัวแปร A:array[1..20] of integer; ตัวแปรอาร์เรย์ชุดที่ประกาศนี้สามารถเก็บค่าได้ทั้งหมดกี่ค่า

  . 1 ค่า

  . 19 ค่า

  . 20 ค่า

  . 21 ค่า

7. J : Array [1..100, 1..5] of integer; ตัวแปรอาร์เรย์ J ประกอบด้วยสมาชิกกี่ค่า

  . 5

  . 100

  . 50

  . 500

8. ข้อใดคือความหมายของโครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์

  . กลุ่มข้อมูลที่มีค่าชนิดเดียวกัน

  . กลุ่มข้อมูลที่เป็นตัวเลขเท่านั้น

  . กลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน

  . กลุ่มข้อมูลที่มีการลดความซ้ำซ้อน

9. ถ้าประกาศตัวแปรอาร์เรย์ดังนี้ Data : array [1…5] of integer; ข้อมูลใดไม่สามารถเก็บในอาร์เรย์ชุดนี้ได้

  . 500         20             40            25            2.5

  . 601         2                0             13           100

  . 1            0                0               0              1

 . 0            0                0                0              0

10. การประกาศตัวแปรอาร์เรย์เพื่อใช้งานต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง

  . ชื่ออาร์เรย์    ชนิดข้อมูล

  . ชื่ออาร์เรย์    ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด     ชนิดข้อมูล

  . ชื่ออาร์เรย์    ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด     มิติของอาร์เรย์     ชนิดข้อมูล

  . ชื่ออาร์เรย์    ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด     มิติของอาร์เรย์     ชนิดข้อมูล     จำนวนสมาชิก

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 4

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.โปรแกรมข้อใดที่จำเป็นต้องใช้โครงสร้างข้อมูลแบบเร็คคอร์ดไม่สามารถใช้แบบอาร์เรย์ได้

  . ต้องการเก็บค่าหลายค่า

  . ต้องการเก็บหลายค่าที่ชนิดข้อมูลเหมือนกัน

  . ต้องการเก็บหลายค่าที่ชนิดข้อมูลแตกต่างกัน

  . ต้องการเก็บค่าที่เป็นสตริง

2. ข้อใดคือรายการข้อมูล (Field) ของเร็คคอร์ดนักศึกษา

  . ประวัตินักศึกษา

  . รหัสนักศึกษา

  . จำนวนนักศึกษา

  . ไม่มีข้อใดถูก

3. ฟิลด์เพศ เก็บอักษร M แทนเพศชาย  F แทนเพศหญิง  ควรกำหนดรูปแบบข้อมูลอย่างไร

  . Sex : M,F;

  . Sex : real;

  . Sex : integer;

  . Sex : char;

4. การออกแบบฟิลด์เพื่อเก็บชื่อนักศึกษา ถ้าไม่ต้องการกำหนดว่า Name : string [20];

  . Name : integer;

  . Name : char;

  . Integer : Name;

  . N : string [20];

5. ฟิลด์ Grade มีจุดประสงค์เพื่อเก็บผลการเฉลี่ยของนักศึกษาไม่สามารถกำหนดรูปแบบข้อมูลเป็น integer เนื่องจากข้อใด

  . ระดับผลการเรียนมีจำนวนหลัก

  . ระดับผลการเรียนเป็นตัวเลขต้องนำค่าไปคำนวณ

  . ระดับผลการเรียนอาจเป็นเลขทศนิยมได้

  . ระดับผลการเรียนเป็นการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

6. โครงสร้างข้อมูลแบบเร็คคอร์ดนี้ชื่ออะไร จากการนิยามโครงสร้างข้อมูลเร็คคอร์ด ดังต่อไปนี้

                TYPE PERSON = record

                        Name : String [10];

                        Sex : Char;

               End;

 . Person

  . Record

  . Name

  . Sex

7. การนิยามโครงสร้างข้อมูลเร็คคอร์ด ประกอบด้วยฟิลด์จำนวนกี่ฟิลด์

              TYPE PERSON = record

                        Name : String [10];

                        Sex : Char;

               End;

  .1 ฟิลด์

  . 2 ฟิลด์

  . 3 ฟิลด์

  . 4 ฟิลด์

8. การนิยามโครงสร้างข้อมูลเร็คคอร์ดว่า

             TYPE PERSON = record

                        Name : String [10];

                        Sex : Char;

               End;

   คำใดที่เป็น Reserve words (คำที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้)

 .Type Person record

  . Type Name Sex

  . Person record end

  . Type record end

9. มีการออกแบบโครงสร้างเร็คคอร์ดและตัวแปรโปรแกรมดังต่อไปนี้

              TYPE PERSON = record

                        Name : String [10];

                        Sex : Char;

               End;

                       Var student : person;

  ถ้าต้องการบันทึก M ในฟิลด์ Sex

  .Sex  = ‘M’;

  . Person : = ‘M’;

  . Sex , Person ; = ‘M’;

  . Student , Sex : = ‘M’;

10. มีการออกแบบโครงสร้างเร็คคอร์ดและตัวแปรโปรแกรมดังต่อไปนี้

              TYPE PERSON = record

                        Name : String [10];

                        Sex : Char;

               End;

          Var student : person;

  ถ้าต้องการอ่านค่าเก็บฟิลด์ Sex ใช้คำสั่งใด

  .Writeln (sex);

  . Writeln (person.sex);

  . Writeln (Student.sex);

  . Writeln (record.sex);

 

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 5

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.การนำข้อมูลเข้าสแต็กเรียกว่าอะไร

 . Push

  . Pop

  . Stack

  . Top

2. คุณสมบัติของสแต็กที่เรียกว่า LIFO เนื่องจากสาเหตุใด

  . มีบัฟเฟอร์สำรองและจัดสรรการเข้าออกของข้อมูล

  . ข้อมูลเข้าก่อนออกก่อนข้อมูลเข้าทีหลัง ออกทีหลัง

  . ข้อมูลเข้าก่อนออกทีหลัง ข้อมูลเข้าที่หลังออกก่อน

  . ข้อมูลเข้าก่อนมีสิทธิออกก่อน หรือทีหลังก็ได้

3. ข้อใดที่กล่าวถึง Operations เกี่ยวกับสแต็กไม่ถูกต้อง

  . Push A

  . Push 20

  . Pop A

  . Pop

4. ขณะที่สแต็กว่าง ถ้ามีการดำเนินการ Push W , Push D , Push x , Push Q , หลังจากนั้นทำการ Pop ค่าที่ออกจากแสต็กคือค่าใดบ้าง

  . W    D     X       Q

  . W    D     Q       X

  . Q     X     D      W

  . Q     X     W     D

5. ข้อใดที่เป็นนิพจน์อินฟิกซ์

  . A+B-C

  . +AB-C

  . +-ABC

  . AB+C-

6. ข้อใดที่เป็นนิพจน์โฟสต์ฟิกซ์

  . A+B-C

  . +AB-C

  . +-ABC

  . AB+C-

7. ข้อใดเป็น Operators ทั้งหมด

  ก. +   -   *   /    ^

  . +  ( )    =   >

  . A     Z     %    ( )   ^

  . +    %    ( )   ^

8. นิพจน์ AB+  เรียกว่านิพจน์อะไร

  . นิพจน์อินฟิกซ์

  . นิพจน์โพสต์ฟิกซ์

  . นิพจน์พรีฟิกซ์

  . ไม่มีข้อใดถูก

9. แปลงนิพจน์ A+B/C*D=E

  . ABC/D*+E-

  . ABC/D*E+ -

  . ABC/D+E* -

  . ABC/D*E+ -

10. แปลงนิพจน์พรีฟิกซ์ - 5 + 9 * 3 – 1 2 เป็นนิพจน์โพสต์ฟิกซ์ได้คำตอบตามข้อใด

  . 5    9     3    1     2     -      *     +     -

  . 5  -  9   +   3   *   1   -   2

  . 5   9   -  3   *  1   +   2    

  . -    +     *    -   5     9      3      1      2

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 6

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.โครงสร้างข้อมูลแบบคิวมีลักษณะการทำงานแบบใด

  . Last In First Out

  . Last In Last Out

  . First In Last Out

  . First In First Out

2. ข้อใดกล่าวถึงการสร้างคิวได้ถูกต้อง

 . ใช้อาร์เรย์ 1 มิติเป็นตัวคิวและมีพอยน์เตอร์ 1 ตัว เป็นตัวชี้

  . ใช้อาร์เรย์ 1 มิติเป็นตัวคิวและมีพอยน์เตอร์ 2 ตัว เป็นตัวชี้

  . ใช้อาร์เรย์ 2 มิติเป็นตัวคิวและมีพอยน์เตอร์ 1 ตัว เป็นตัวชี้

  . ใช้อาร์เรย์ 2 มิติเป็นตัวคิวและมีพอยน์เตอร์ 2 ตัว เป็นตัวชี้

จากนิยามนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 3-4

การนิยามโครงสร้างแบบคิวว่า

 const Max = 100;                                                                  บรรทัดที่ 1

 type QueueItem = integer;                                                  บรรทัดที่ 2

 Queue = record;                                                                    บรรทัดที่ 3

 Item : Array [1…Max] of QueueItem;                           บรรทัดที่ 4

  Front,Rear ; integer                                                             บรรทัดที่ 5

 end;                                                                                          บรรทัดที่ 6

 var q : Queue;                                                                        บรรทัดที่ 7

3. จากนิยามนี้ บรรทัดใดเป็นการกำหนดชนิดตัวเก็บข้อมูลของคิว

  . บรรทัดที่ 1

 . บรรทัดที่ 2

  . บรรทัดที่ 3

  . บรรทัดที่ 4

4. จากนิยามนี้ โครงสร้างคิวมีจำนวนช่องก็บข้อมูลเท่าใด

  . จำนวน 10

  . จำนวน 100

  . ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ เพราะไม่มีการกำหนดจำนวน

  . เก็บข้อมูลได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด

5. เมื่อมีข้อมูลเพิ่มจะเข้าเพิ่มที่ตำแหน่งใดของคิว

  . Front

  . First

  . Rear

  . Last

6. คำสั่ง DeQ คืออะไร

  . มีการเพิ่มข้อมูลเข้าในขณะข้อมูลในคิวเต็ม

  . เมื่อเพิ่มข้อมูลเข้าในคิวแล้วคิวเต็มพอดี

  . นำข้อมูลเข้าอยู่คิวแรกสุด

  . การนำข้อมูลออกจากคิว

7. คำสั่ง EnQ คืออะไร

  . เมื่อเพิ่มข้อมูลเข้าในคิวแล้วคิวเต็มพอดี

  . นำข้อมูลออกในขณะที่ในคิวมีข้อมูลอยู่ 1 คิว

  . นำข้อมูลออกในขณะที่ในคิวไม่มีข้อมูลอยู่เลย

  . การนำข้อมูลเข้าไปเพิ่มในคิว ตรวจสอบก่อนถ้าคิวเต็มไม่เพิ่ม ถ้าคิวไม่เต็มเพิ่มคิวได้

8. คิววงกลม มีลักษณะอย่างไร

   . ส่วนหัวคิวไล่ตามหางคิวไปเป็นวงกลมเหมือนงูเลื้อย

  . การสร้างคิวเพิ่มขึ้นไม่สิ้นสุด จำนวนช่องเก็บข้อมูลคิวมาก

  . ส่วนหัวคิวและปลายคิวจะมีพอยน์เตอร์คอยชี้

  . การทำงานแบบเข้าก่อนออกทีหลัง

9. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับคิววงกลมได้ถูกต้อง

  . เพื่อให้สามารถนำที่ว่างในส่วนหัวคิวมาใช้ได้อีกเป็นคิววงกลม

  . เพื่อให้โปรแกรมสามารถวนซ้ำได้จึงใช้คิววงกลม

  . เพื่อป้องกันการเกิดสถานการณ์ Under Flow จึงเป็นคิววงกลม

  . เพื่อป้องกันการเกิดสถานการณ์ Over Flow  จึงเป็นคิววงกลม

10. กำหนดคิววงกลมมีขนาด 4 ช่อง มีสถานะว่าง ถ้ามีการดำเนินการ

    insert A,            insert B,           insert C,           remove A,        remove B,         insert D,

    insert E,             insert F,           remove C    ผลลัพธ์ที่จะได้เป็นอย่างไร

  . ข้อมูลเก็บดังนี้      A         B         C           D          E          F

  . ข้อมูลเก็บดังนี้      D          E          F

  . ข้อมูลเก็บดังนี้      E          F          D

  . ไม่สามารถ remove C ได้ เพราะการ remove จะต้องทำกับข้อมูลตัวที่อยู่หัวคิวก่อน

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 7

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.ตัวแปรชนิดพอยน์เตอร์คืออะไร

  . ตัวแปรชนิดค่าของมันจะชี้หรืออ้างถึงตำแหน่ง

  . ตัวแปรชนิดบูลีน

  . ตัวแปรชนิดจำนวนเต็ม

  . ตัวแปรชนิดอักขระ

2. นิยามของลิงค์ลิสต์คืออะไร

  . เข้าก่อนออกก่อน

  . เข้าก่อนออกทีหลัง

  . เข้าทีหลังออกก่อน

  . เข้าออกพร้อมกัน

3. ควรใช้โครงสร้างลิงค์ลิสต์เมื่อใด

   . เมื่อเก็บข้อมูลที่มีมาก

  . เมื่อเก็บข้อมูลที่มีน้อย

  . เมื่อต้องการเก็บข้อมูลที่ไม่รู้ว่ามีมากหรือน้อย

  . เมื่อต้องการเก็บข้อมูลที่มีมากและซับซ้อน

4. Node (P) มีความหมายว่าอย่างไร

  . ส่วนข่าวสารของโหนดที่ถูกชี้โดย P

  . ส่วนแอดเดรสของโหนดที่ชี้โดย P

  . โหนดที่ระบุ (ถูกชี้) โดยพอยน์เตอร์

  . ข่าสารที่ระบุตรงโหนด P

 5. Info (P) มีความหมายว่าอย่างไร

  . โหนดที่ระบุ (ถูกชี้) โดยพอยน์เตอร์ P

  . ส่วนข่าวสารของโหนดที่ถูกชี้โดย P

  . ส่วนแอดเดรสของโหนดที่ถูกชี้โดย P

  . แอดเดรส ของพอยน์เตอร์

6. Link  (P) มีความหมายว่าอย่างไร

  . โหนดที่ระบุ (ถูกชี้) โดยพอยน์เตอร์ P

  . ส่วนข่าวสารของโหนดที่ถูกชี้โดย P

  . ส่วนแอดเดรสของโหนดที่ชี้ถูกโดย P

  . ส่วนของตัวข่าวสาร

7. Singly Linked List หมายถึงอะไร

  . Link List คู่

  . Link List ผสม

  .Link List เดี่ยว

  . Link List เดี่ยวและคู่

8. ลิงค์ลิสต์เดี่ยวมีโครงสร้างสำคัญ 2 ส่วนคืออะไร

  . ส่วนอินโฟ (Info) กับส่วนพอยน์เตอร์ (Pointer)

  . ส่วนโหนด (Node)  กับส่วนอินโฟ (Info)

  . ส่วนพอยนเตอร์ (Pointer) ส่วนโหนด (Node) 

  . ส่วน Link  และ Rlink

9. ระหว่าง Single Link List  กับ Doubly Link List ข้อใดไม่ถูก

  . Single Link List ไม่สามารถเก็บค่าได้

  .  Doubly Link List ใช้เนื้อที่มากกว่า

  . Single Link List  มีเนื้อที่มากกว่า

  . Doubly Link List ไม่สามารถเก็บค่าได้มาก

10. การเก็บข้อมูลของลิงค์ลิสต์เก็บข้อมูลอะไรบ้าง

  . เก็บข่าวสารและตำแหน่งของโหนดถัดไป

  . เก็บคำสั่งของตัวชี้พอยน์เตอร์

  . เก็บค่าของโหนดสุดท้ายของชุดข้อมูล

  . เก็บเฉพาะค่าที่เป็นลบ

11. ลักษณะของลิงค์ลิสต์แบบวงกลมเป็นอย่างไร

  . ลิงค์ลิสต์แบบวงกลมมีโหนดพิเศษเป็นหัวโหนดอยู่

  . ลิงค์ลิสต์แบบวงกลมมีโหนดพิเศษอยู่ท้ายโหนด

  . ลิงค์ลิสต์แบบวงกลมมีโหนดพิเศษกลางโหนด

  . ข้อ ก. และ ข.  ถูก

12. Doubly Link List หมายถึงอะไร

  . Link List คู่

  . Link List ผสม

  .Link List เดี่ยว

  . Link List เดี่ยวและคู่

13.Doubly Link List แต่ละโหมดมีกี่ Pointer

  . 2 Pointer

  . 3 Pointer

  . 4 Pointer

  . 6 Pointer

14. ชื่อโหนดพอยน์เตอร์ของ Doubly Link List คืออะไร

  . Info  Node

  . Link  Node

  . LLink และ RLink

  . RLink

15. Infinite Loop คืออะไร

  . การซ้ำไปเรื้อยๆ

  . การประมวลผลเกิดการทำงานซ้ำไม่รู้จบ

  . การประมวลผลแทนค่าโหนดแรกของ Pointer

  . การประมวลผลการนำโหนดออกจากหรือคืนโหนด

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 8

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.รีเคอร์ชันคืออะไร

  . รีเคอร์ชันคือการทำงานแบบมีเงื่อนไข

  . รีเคอร์ชันคือการทำงานแบบต่อเนื่อง

  . รีเคอร์ชันเป็นเทคนิคการทำงานเรียงลำดับเข้าก่อนออกก่อน

 ง รีเคอร์ชันเป็นเทคนิคการแก้ปัญหา เป็นการทำงานแบบวนซ้ำ

2. ข้อใดคือหลักการของ รีเคอร์ชัน

  . เขียนโปรแกรมวนซ้ำเพื่อลดปัญหาของโปรแกรมที่ซับซ้อน

  . การหาค่าแฟกทอเรียฟังก์ชั่นเพื่อเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ

  . การแก้ปัญหาในรูปตัวปัญหาเอง หรือค่าแฟกทอเรียฟังก์ชั่น

  . การแก้ปัญหาค่าแฟกทอเรียฟังก์ชั่นคือ เขียนโปรแกรมหยุดการวนซ้ำ

3. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับโปรแกรมรีเคอร์ซีฟได้ถูกต้อง

  . คือ โปรแกรมที่ใช้คำสั่ง Do Loop เพื่อทำให้เกิดการวนซ้ำ

  . คือ โปรแกรมเรียกตัวเองเพื่อแก้ปัญหาการวนซ้ำ

  . คือ โปรแกรมที่ทำให้เกิดปัญหาการทำงานวนซ้ำ

  . ไม่มีข้อใดถูก

4. จงคำนวณหาค่า Factorial(5) จะมีค่าเท่ากับเท่าไร

  .40

  . 80

  . 120

  . 160

5. จงหาผลบวกจาก 1 ถึง n ด้วยวิธีเคอร์ชัน โดยกำหนดให้ n = 10 จะมีค่าเท่ากับเท่าไร

  .5

  . 10

  . 25

  . 55

6. กรณีจะมีการคำนวณซ้ำกันโดยไม่มีที่สิ้นสุด ดังนั้นค่าของ n จะต้องกำหนดให้มีค่าเท่าไร

  . น้อยกว่า 0

  . มีค่าเท่ากับ 1

  . น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0

  . มากกว่าหรือเท่ากับ 0

7. จงหาผลบวก ด้วยวิธีการรีเคอร์ชัน 10 ถึง 1 กรณีที่ n = 1 จะมีค่าเท่ากับเท่าไร

  . 45

  . 55

  . 75

  . 125

8. คำสั่งใดต่อไปนี้มีส่วนทำซ้ำซ้อนในโปรแกรมเรียกตัวเอง (ในภาษาปาสคาล)

  .Repeat

  . Loop

  . While

  . ถูกทุกข้อ

9. ข้อใดคือนิยามของแฟกทอเรียฟังก์ชันได้ถูกต้อง

  . n! = n*(n-1)! if n < 0

  . n! = n*(n-1)! if n  > 0

  . n! = n*(n*n)! if n < 0

  . n! = n*(n*n)! if n > 0

10. ข้อใดคือผลลัพธ์จากการคำนวณหาค่าแฟกทอเรียล เมื่อ n = 4

  . 12

  . 16

  . 24

  .32

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 9

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟเปรียบได้กับอะไร

   . เซ็ตของจุด

  . เซ็ตของเส้น

  . เส้นการเชื่อมต่อ

  . ถูกทุกข้อ

2. กราฟรูปนี้เป็นกราฟชนิดใด

  . กราฟระบุทิศทาง

  . กราฟไม่ระบุทิศทาง

  . กราฟระบุน้ำหนัก

  . ผิดทุกข้อ

3. รูปแบบโครงสร้างที่กำหนดเชื่อมต่อแบบเส้นมีความสัมพันธ์แบบใด

  . One to One

  . One to many

  .Many to One

  . Many to Many

4. การท่องเข้าไปในกราฟแบบ Breadth First Traversal ท่องอย่างไร

  . เข้าจากโหนดล่างสุดจากซ้ายไปขวา

  . เข้าจากโหนดล่างสุดจากขวาไปซ้าย

  . เข้าจากตัวโหนดแรกแล้วลงซ้ายไปขวา

  . เข้าจากตัวโหนดแรกแล้วลงขวาไปซ้าย

5. การท่องเข้าไปในกราฟแบบ Depth First Search (BFS) ท่องอย่างไร

  . เข้าจากโหนดล่างสุดจากซ้ายไปขวา

  . เข้าจากโหนดล่างสุดจากขวาไปซ้าย

  . ท่องเข้ายังโครงสร้างทรีแบบอินออเดอร์

  .ท่องเข้ายังโครงสร้างทรีแบบพรีออเดอร์

6. Node  of  Graph  มีความหมายตรงกับข้อใด

  . การเชื่อม

  . เซ็ตของจุดบนกราฟ

  . เซ็ตของเส้นบนกราฟ

  . โหนดของกราฟหรือโหนด

7.Critical path method  มีความหมายตรงกับข้อใด

  . เส้นทางการเชื่อมต่อ

  . เซ็ตของจุดบนกราฟ

  . เส้นทางเดินบนกราฟ

  . การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤต

8.Shortest path analysis มีความหมายตรงกับข้อใด

  . เส้นทางสั้นๆ

  . เส้นทางเดินบนกราฟ

  . การวิเคราะห์เส้นทางที่สั้นที่สุด

  . การออกแบบเส้นทางเดินที่สั้นที่สุด

9. รูปแบบข้อมูลของกราฟเป็นอย่างไร

  . เป็นข้อมูลเชิงเส้น

  . มีเส้นทางเดินบนกราฟทางเดียวกัน

  . ข้อมูลที่จัดเก็บต้องกำหนดเป็นชนิดเดียวกัน

  . มีความสัมพันธ์ระหว่างโหนดในลักษณะ many to many

10. กราฟระบุน้ำหนักเป็นอย่างไร

  . เป็นกราฟที่ไม่ระบุทิศทาง

 . เป็นกราฟที่ระบุทิศทางและบอกน้ำหนักได้

  . เป็นกราฟที่ใช้ชั่งน้ำหนักของสินค้าที่ใช้ในการซื้อขาย

  . ไม่มีข้อใดถูก

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 10

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้เป็นโครงสร้างชนิดใด

  . ชนิดเชิงเส้น

  . ชนิดไม่เชิงเส้น

  . ชนิดตัดสินใจเลือก

  . ชนิดทำงานซ้ำ

2. โหนดพิเศษโหนดหนึ่งที่อยู่บนสุดแรกเรียกว่าอะไร

  . Father

  .Subtree

  .Leat Node

  . Root Node

3.Level มีความหมายตรงกับข้อใด

  . รูท

  . ดีกรีของโหนด

  . โหนดที่เป็นใบ

  . ระดับของโหนด

4. ดีกรีของโหนดคืออะไร

  . รูทโหนด

  . จำนวนต้นไม้ 1 ต้น

  . ต้นไม้แบบพรีออเดอร์

  . จำนวนต้นไม้ย่อยของโหนดนั้น

5. ป่าไม้ในโครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้ หมายถึงสิ่งใด

  . กลุ่มของต้นไม้

  . ต้นไม้ย่อยซ้าย

  . ต้นไม้ย่อยขวา

  . การดูแลต้นไม้

6. โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้ มีลักษณะคล้ายสิ่งใด

  . ใบไม้

  . รากของต้นไม้

  . ลำต้นของต้นไม้

  . กิ่งก้านของต้นไม้

7. ต้นไม้ธรรมชาติจะงอกจากล่างขึ้นบน ส่วนโครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้นั้นจะเจริญเติบโตอย่างไร

  .จากล่างไปบน

  . จากบนลงล่าง

  . จากซ้ายไปขวา

  . จากขวาไปซ้าย

8. ต้นไม้ Binary ที่แต่ละโหนดภายในจะมีโหนดย่อยซ้ายโหนดย่อยขวาและโหนดใบหมายถึงต้นไม้แบบใด

  . ต้นไม้ไบนารีคู่

  . ต้นไม้ไบนารีเดี่ยว

  . ต้นไม้ไบนารีแบบสมบูรณ์

  . ต้นไม้ไบนารีแบบไม่สมบูรณ์

9. ข้อใดไม่ใช่การแทนต้นไม้ไบนารีในหน่วยความจำ

  . การแทนโดยอาศัยพอยน์เตอร์

  ข การแทนโดยอาศัยแอดเดรสของโหนด

  . การแทนแบบวีแควนเชียล

  . การแทนแบบลำดับชั้น

10.LVR คือวิธีการเดินเข้าแบบใด

  . แบบพรีออร์เดอร์

  . แบบอินออร์เดอร์

  . แบบโพสต์ออร์เดอร์

  . ไม่มีข้อใดถูก

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 13

ตอนที่ 2 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.ถ้าประกาศตัวแปรอาร์เรย์ว่า Data : Array [1…10] of integer ; ในการเรียงระดับข้อมูลในอาร์เรย์ชุดนี้แบบ Bubble Sort  จากน้อยไปหามากต้องการวนรอบมากที่สุดกี่รอบ จึงเรียง ลำดับสำเร็จ

  .10 รอบ

  .20 รอบ

  .90 รอบ

  .100 รอบ

2..ถ้าประกาศตัวแปรอาร์เรย์ว่า Data : Array [14…3] of integer ; ในการเรียงลำดับข้อมูลในอาร์เรย์ชุดนี้แบบ Bubble Sort  จากมากไปหาน้อยต้องการวนรอบมากที่สุดกี่รอบ จึงเรียง ลำดับสำเร็จ

  .10 รอบ

  .12 รอบ

  . 24 รอบ

  . ไม่มีข้อใดถูก

3. การเรียงลำดับข้อมูลแบบเลือกมีความหมายตรงกับข้อใด

  .Bubble Sort

  .Insertion Sort

  .Merge Sort

  . Selection Sort

4. การเรียงลำดับข้อมูลแบบผสานมีความหมายตรงกับข้อใด

  . Bubble Sort

  .Insertion Sort

  .Merge Sort

  . Selection Sort

5. การเรียงลำดับข้อมูลแบบบับเบิล ในอาร์เรย์ที่มีข้อมูล 34 52 27 99 66 24 13 57 จากน้อยไปมาก ใช้เวลาในการจัดเรียวกี่รอบถึงจะเสร็จสมบูรณ์

  . 3 รอบ

  . 5 รอบ

  . 7 รอบ

  . 9 รอบ

6. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริทึมแบบเลือกค่าฟังชั่น Big – O Nation ที่ได้คืออะไร

  .O(n)

  . O(n2)

  .O(log2n)

  .O(nlog2n)

7.การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริทึมแบบแทรกค่าฟังชั่น Big – O Nation ที่ได้คืออะไร

  .O(n)  

. O(n2)

.O(log2n)

  .O(nlog2n)

8.การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริทึมแบบเร็วค่าฟังชั่น Big – O Nation ที่ได้คืออะไร

  .O(n)       

  . O(n2)

  .O(log2n)

  .O(nlog2n)

9. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริทึมแบบผสานค่าฟังชั่น Big – O Nation ที่ได้คืออะไร

  . O(n)       

  . O(n2)

  .O(log2n)

  .O(nlog2n)

10. การเรียงลำดับโดยการผสาน (Merge Sort)

 . แบ่งข้อมูลออกเป็นสองกลุ่ม

  . แบ่งข้อมูลออกเป็นสองกลุ่ม

  . แบ่งข้อมูลออกเป็นสองกลุ่ม

  . แบ่งข้อมูลออกเป็นสองกลุ่ม

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 14

ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ต้องการ

1.ข้อใดคือคีย์ลัดในการออกจากโปรแกรมภาษาปาสคาล

  . (Ctrl + Esc)

  . (Ctrl + F9)

  . (Alt + X)

  . (Alt + F9)

2. ข้อใดเป็นปัญหาในการออกจากโปรแกรมภาษาปาสคาล

  . ไวยากรณ์โปรแกรมผิด

  . ยังไม่ทำคอมไพล์โปรแกรม

  . เขียนและแก้ไขโปรแกรมโดยยังไม่บันทึก

  . ไม่มีการเขียนโปรแกรมใน Editor window

3. คำสั่งรันในภาษาปาสคาลใช้ทำอะไร

  . บันทึกโปรแกรม

  . ตรวจสอบไวยากรณ์โปรแกรม

  . คอมพิวเตอร์ทำการคอมไพล์โปรแกรม

  . คอมพิวเตอร์ทำงานและแสดงผลตามที่เขียนใน Editor window

4. ในกรณีที่ยังไม่ได้ทำการบันทึก จะกำหนดชื่อแฟ้มได้ถูกต้อง

  .NONAMEOO.PAS
  .NONAMEOO.EXX

  .NONAMEOO.COM

  . NONAMEOO

5. Text Editor คืออะไรในภาษาปาสคาล

  . พื้นที่ในการเขียนโปรแกรม

  . ฟังก์ชั่นคีย์ลัดในการเรียกใช้งาน

  . บรรทัดแรกสุดในการออกแบบโปรแกรม

  . บรรทัดสุดท้ายในการออกแบบโปรแกรม

6. ข้อมูลของตัวแปรในภาษาปาสคาลมีกี่แบบ

  .2 แบบ

  . 3 แบบ

  .4 แบบ

  . 5 แบบ

7. คำสั่ง Compile โปรแกรมที่เขียนไว้ ใช้คีย์ลัดใดแทนได้

  . (Ctrl + Esc)

  . (Ctrl + F9)

  . (Alt + X)

  . (Alt + F9)

8. การบันทึกข้อมูลในภาษาปาสคาลใช้คีย์ลัดใดแทนได้

  .(Ctrl + F1)

  . (Ctrl + F2)

  .(F2)

  . (F10)

9. การใช้ Help ในภาษาปาสคาลใช้คีย์ลัดใดแทนได้

  .(F1)

  . (F2)

  . (F5)

  .(F10)

10. โครงสร้างในภาษาปาสคาลประกอบด้วยอะไรบ้าง

  . ส่วนหัว (Header)

  . ส่วนข้อกำหนด (Declaration)

  . ส่วนตัวโปรแกรม (Program body)

  . ถูกทุกข้อ