โครงงานคณิตศาสตร์ ป. 3 doc

โครงงานคณิตศาสตร์ ป. 3 doc
แบบสำรวจความคิดเห็น

โครงงานคณิตศาสตร์ ป. 3 doc
สถิติผู้เยี่ยมชม
เปิดเว็บไซต์ 30/06/2011
ปรับปรุง 27/04/2022
สถิติผู้เข้าชม 634172
Page Views 738591

โครงงานคณิตศาสตร์ ป. 3 doc
คติ คำคม จากผู้บริหาร

โครงงานคณิตศาสตร์

โครงงานคณิตศาสตร์ ป. 3 doc

โครงงานคณิตศาสตร์
เรื่องทฤษฎีการหารสนุกสนานเศษส่วน
โครงงานคณิตศาสตร์ ป. 3 doc
ดาวน์โหลดไฟล์

โพสเมื่อ : 24 ก.พ. 2564,08:41   อ่าน 7123 ครั้ง

โครงงานคณติ ศาสตร์

โครงงานคณิตฯ กับเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เรอ่ื ง “ เปล่ยี นขยะไร้คา่ มาเป็น...สอ่ื คณิตฯ คิดสนกุ ”

โดย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6
1. เด็กหญิงกญั ญาณฏั ฐ์ แซต่ ัน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
2. เด็กชายกายสิทธ์ิ โกสิต
3. เดก็ ชายนวดล อุดคา

ครทู ่ีปรกึ ษา 1. นายอนศุ กั ด์ิ วงศม์ สู า
2. นายสทุ ธิพร ศรที อง

โรงเรยี นบ้านทา่ เรือ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต
รายงานฉบับนีเ้ ปน็ สว่ นประกอบของโครงงานคณติ ศาสตร์
ประเภทบูรณาการความร้ใู นคณิตศาสตรไ์ ปประยกุ ตใ์ ช้
ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4-6

เนอื่ งในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้งั ท่ี 68 ประจาปกี ารศึกษา 2561

กิตตกิ รรมประกาศ

ผู้จัดทำขอขอบพระคุณผู้อำนวยกำรโรงเรยี น ท่ีสนับสนุนด้ำนงบประมำณและกำรประสำนงำน
ต่ำงๆ และเอ้ือเฟื้อสถำนทีใ่ นกำรปฏิบตั กิ ิจกรรม ขอบคณุ คุณครูทีป่ รึกษำท่ีเปน็ วิทยำกรและใหค้ ำปรึกษำ
เก่ยี วกับกำรทำแบบสอบถำมควำมคดิ เห็นและแบบสอบถำมควำมพงึ พอใจ ใหค้ ำปรกึ ษำด้ำนกำรนำหลัก
ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงมำใช้เป็นหลักกำรทำงำน และให้คำปรึกษำในกำรบูรณำกำรควำมรู้กลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ และให้คำแนะนำในกำรจัดทำรำยงำนรวมทั้งดูแลกำรปฏิบัติกิจกรรมให้สำเร็จ
ลุล่วงไปด้วยดี นอกจำกน้ีคณะทำงำนยังต้องขอขอบคุณผู้ปกครอง คณะกรรมกำรเครือข่ำยผู้ปกครอง
โรงเรียนบ้ำนท่ำเรอื ที่สนับสนุนงบประมำณและสละเวลำในกำรมำรับ-ส่งนกั เรยี นทำโครงงำนนอกเวลำ
โครงงำนน้จี ะเกดิ ข้นึ และสมั ฤทธผ์ิ ลไม่ไดเ้ ลยหำกขำดบุคคลเหล่ำน้ี จงี ขอขอบคุณทุกท่ำนมำ ณ บัดน้ี

คณะผู้จดั ทำ

บทคัดย่อ

โครงงานคณิตศาสตร์ท่ีบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ และบูรณาการหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นโครงงานคณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง “เปลี่ยนขยะไร้ค่ามา
เป็น สือ่ คณติ ฯ คิดสนุก” มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือผลติ สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์จากเศษวัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว และ
ศึกษาความพึงพอใจในการนาสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไปใช้กับนักเรียนในโรงเรียน ผลการดาเนินงาน
ปรากฎว่า ได้สื่อการเรียนรู้ 5 รายการ ได้แก่ 1. ปฏิทินตั้งโต๊ะ ใช้เรียนรู้เกี่ยวกับปฏิทิน วันที่ เดือน
2. ลูกเตา๋ สองสหาย ใชฝ้ กึ ทกั ษะการบวก การลบ การคูณ และการหาร 3. เกมจ๊กิ ซอว์ ใช้ฝกึ การคิด
และฝกึ การหาพ้ืนทรี่ ูปหลายเหลยี่ มและหาความยาวรอบรูป เสน้ รอบรปู 4. ตารางหมากฮอส ใช้ฝกึ การ
คดิ แกป้ ญั หาและความบันเทิง 5. เกมบนั ไดงู ใช้ฝกึ ทกั ษะการนับ การบวก การลบ การคณู และการ
หาร จานวน และเพอื่ ความบนั เทิง

จากผลการประเมินคณุ ภาพของสื่อ โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของครพู บวา่ มีคณุ ภาพ
ในระดบั มากคดิ เป็นร้อยละ 100 โดยพบขอ้ เสนอแนะใหเ้ พิม่ สีสันใหส้ ดใสมากขน้ึ อกี

จากผลการศึกษาความพึงพอใจในการนาสอ่ื การเรียนรไู้ ปใช้กบั นกั เรียน โดยการตอบแบบสอบ
ถามของนักเรยี นเพ่อื ประเมินความพงึ พอใจในการใช้ส่อื คณิตฯ คิดสนกุ พบวา่ สอื่ การเรียนรชู้ ิ้นท่ี 1
ปฏิทนิ ต้งั โตะ๊ มรี ะดับความพึงพอใจคิดเป็นรอ้ ยละ 91.33 สอ่ื การเรยี นรชู้ ิน้ ที่ 2 ลูกเตา๋ สองสหาย มี
ระดับความพงึ พอใจคดิ เปน็ ร้อยละ 80 สื่อการเรยี นรู้ชิ้นที่ 3 เกมจิก๊ ซอว์ มีระดับความพึงพอใจคิดเป็น
รอ้ ยละ 100 สอ่ื การเรยี นรูช้ ้นิ ท่ี 4 ตารางหมากฮอส มีระดบั ความพงึ พอใจคิดเป็นรอ้ ยละ 92.33 และ
สอื่ การเรียนร้ชู น้ิ ที่ 5 เกมบันไดงู มีระดบั ความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 93.73 ตามลาดบั และเมอื่ นา
สอ่ื การเรียนรู้ทั้ง 5 ช้นิ มาหาค่าเฉล่ยี นรวมพบวา่ สอื่ การเรียนรทู้ ้ัง 5 ชิ้น มรี ะดบั ความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากถงึ มากทีส่ ดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 92.68 นอกจากน้ีพบวา่ มขี ้อเสนอแนะใหเ้ พิ่มสสี นั ให้สดใสมากขนึ้
ให้เพิ่มปริมาณของสือ่ คณิตฯ คิดสนกุ ใหม้ ีจานวนมากขึน้ และทาให้มีหลายชนดิ

สารบัญ หนา้
1
กติ ติกรรมประกาศ 2
บทคัดยอ่ 3
สารบัญ 4
สารบัญตาราง 5
สารบญั ภาพ 6
บทท่ี 1 บทนา 8
บทท่ี 2 เอกสารที่เกยี่ วข้อง 18
บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ งาน 28
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน 31
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ
เอกสารอ้างองิ

สารบัญภาพ

ภาพท่ี 1 ปฏทิ ินตั้งโตะ๊ หนา้
ภาพที่ 2 ลูกเตา๋ สองสหาย 19
ภาพที่ 3 เกมจก๊ิ ซอว์ 22
ภาพท่ี 4 ตารางหมากฮอส 23
ภาพท่ี 5 เกมบันไดงู 24
25

สารบัญตาราง หนา้
21
ตารางที่ 1 แสดงวันทตี่ ั้งแต่วนั ท่ี หนึง่ ถึงวันทส่ี ามสบิ เอ็ด 28
ตารางท่ี 2 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพสื่อคณิตฯ คิดสนุก 30
ตารางท่ี 3 แสดงผลการประเมินความพงึ พอใจในการใช้สอ่ื คณิตฯ คิดสนกุ

บทท่ี 1
บทนา

1. ที่มาและความสาคญั
ปัจจุบันในชุมชนและในโรงเรียนมีกระดาษ เอกสาร หนังสือ และเศษวัสดุต่างๆ ท่ีเป็นขยะวนั

ละมากมาย ขยะหลายชนิดยากต่อการกาจัดและทาลาย เม่ือนามาทาลายโดยการเผายังเป็นพิษต่อ
สิ่งแวดล้อมด้วย ขยะบางชนิดไม่สามารถย่อยสลายได้เองด้วยวิธีธรรมชาติ และสิ้นเปลืองพลังงานและ
งบประมาณในการกาจัดและทาลาย ทางคณะผ้จู ดั ทาเกิดความสนใจว่าน่าจะนาขยะเหล่าน้ีสว่ นหน่ึงได้แก่
กระดาษ เอกสาร หนังสือ หนังสือพิมพ์และวัสดุเหลือใช้ต่างๆ มาทาประโยชน์ในโรงเรียน และจาก
การศึกษาพบว่า ทางโรงเรียนได้ใช้งบประมาณในการจัดซ้ือส่ือการเรียนรู้สาหรับนักเรียนในการจัด
กิจกรรม

ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ณ ลานหน้าห้องสมุดให้กับน้องๆ ตอนพักกลางวัน ได้แก่ เกมการ
เรียนรู้ต่างๆ บางชนิดราคาแพงมาก และสื่อบางอย่างชารุดง่าย เพราะน้องๆ เล่นกันทุกวัน ทาให้
โรงเรยี นตอ้ งใช้งบประมาณทสี่ ูงมากในการจัดซอื้ แต่ละปี ดังนนั้ ผ้จู ัดทาจงึ ตดั สินใจท่ีจะศกึ ษาเกี่ยวกับการ
นากระดาษ เอกสาร หนงั สอื หนังสอื พิมพ์ วสั ดุต่างๆ ท่เี ปน็ ขยะมาทาเปน็ สื่อการเรียนรู้โดยบูรณาการ
ความร้กู ล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ทีเ่ ปดิ โอกาสให้เยาวชนทุกคนได้เรียนรูค้ ณิตศาสตร์อยา่ งตอ่ เน่ือง
ตามศักยภาพ เช่น ความรู้เร่ืองจานวนและการดาเนินการ การวัดความยาว พื้นที่ ปริมาตร การนา
ความรู้เก่ียวกับการวัดไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ รูปเรขาคณิต การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระบบ
ข้อมูล การนาเสนอข้อมูล ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทาง
คณิตศาสตร์ และการเช่อื มโยงคณติ ศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ ื่นๆ และการมีความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ รวมทั้งใช้
หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ไดแ้ ก่ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมีภมู คิ ้มุ กันในตัวที่ดี อาศยั
ความรอบรู้ ความรอบคอบในการนาวชิ าการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและดาเนินการทกุ ข้นั ตอน คณะ
ผู้จัดทาได้เห็นความสาคัญในการช่วยลดปัญหาขยะ การลดเชื้อเพลิงในการทาลายขยะและลดภาวะโลก
ร้อนเป็นกาส่งเสริมให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ส่งเสริมความสามัคคี การช่วยเหลือแบ่งปันกันใน
โรงเรียน ทั้งยังเป็นการบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์มาบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอีก
ด้วย จงึ ได้จัดทาโครงงานคณติ ศาสตรก์ บั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เรอื่ ง “ เปลี่ยนขยะไรค้ า่ มาเปน็ ส่ือคณิตฯ คิด
สนกุ ” ขึ้น

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพอื่ ผลิตสือ่ การเรียนรูค้ ณิตศาสตร์จากเศษวัสดุทีไ่ ม่ใช้แล้ว
2.2 เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจในการนาส่ือการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ไปใช้กับนกั เรยี นในโรงเรียน

3. สมมุตฐิ าน
3.1 ส่ือการเรียนรู้คณติ ศาสตร์จากเศษวัสดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ล้ว มคี ณุ ภาพในระดับมาก
3.2 ความพึงพอใจในการนาส่ือการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ไปใช้กบั นักเรยี นในโรงเรยี น มีคุณภาพใน

ระดับมาก
4. ขอบเขตของทาโครงงาน

4.1 ตัวแปรทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
ตวั แปรต้น สอื่ การเรยี นรู้คณิตศาสตร์จากเศษวสั ดุที่ไมใ่ ชแ้ ล้ว
ตัวแปรตาม คุณภาพของส่ือการเรียนรู้คณิตศาสตร์และความพึงพอใจของ

นกั เรียน
4.2 กล่มุ เปา้ หมาย นกั เรียนโรงเรยี นบา้ นทา่ เรอื
4.3 สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนบา้ นทา่ เรอื ตาบลศรสี ุนทร อาเภอถลาง จังหวดั ภูเกต็
4.4 ระยะเวลาดาเนินการ เดือนมิถุนายน – สงิ หาคม 2561

5. งบประมาณและเหล่งท่มี าของปงบประมาณ
5.1 วัสดุอุปกรณ์ในการดาเนนิ งาน ได้แก่ เศษกระดาษ ค่าเอกสาร สี เศษวัสดทุ ไ่ี ม่ใช้แล้ว ใน

การผลติ สื่อคณิตฯ คิดสนกุ การทาแผงโครงงานจากการบรจิ าคและสนับสนนุ ของผู้ปกครองและชมุ ชน
5.2 วัสดุในการจัดทาเอกสาร แบบประเมิน การทารายงาน การอัดรูป และการจัดบอร์ด

โครงงาน จากงบประมาณของโรงเรียนประมาณ 300 บาท

6. ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั จากการทาโครงงาน
6.1 ไดส้ ่ือการเรียนรู้คณิตศาสตรท์ ่ีทาจากเศษวัสดทุ ไ่ี มใ่ ช้แล้ว
6.2 ได้แนวคดิ ในการนาเศษวัสดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ล้วไปใช้ประโยชนใ์ นด้านอื่นๆ

บทท่ี 2
เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง

โครงงานคณิตศาสตร์กบั เศรษฐกิจพอเพียง เรอ่ื ง “ เปลยี่ นขยะไรค้ ่า มาเป็นส่อื คณติ ฯคิดสนุก ”
มีเอกสารที่เก่ียวข้อง ได้แก่

1. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. การวเิ คราะหห์ ลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาบูรณาการในการเรียนรู้

1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
1.1 จุดมุ่งหมาย
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มงุ่ พฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ ป็นคนดี มปี ัญญา มคี วามสขุ มี

ศกั ยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพจึงกาหนดเปน็ จุดหมายเพ่ือใหเ้ กดิ กบั ผ้เู รียน เม่อื จบการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน ดังน้ี

1มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มที่พงึ ประสงคเ์ หน็ คณุ คา่ ของตนเองมวี นิ ัยและปฏิบตั ิตนตาม .
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนับถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะ
ชีวิต

3.มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรกั การออกกาลงั กาย
4.มีความรักชาติ มีจิตสานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมน่ั ในวถิ ชี ีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
5. มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาสงิ่ แวดล้อม
มีจติ สาธารณะที่มุง่ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสงิ่ ท่ดี ีงามในสังคม และอยรู่ ่วมกันในสงั คมอย่างมคี วามสขุ
1.2 สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2560 (ปรับปรงุ 2551) มุง่ ให้ผู้เรยี นเกิด
สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังต่อไปน้ี

1. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวฒั นธรรมใน
การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความร้คู วามเข้าใจ ความรสู้ กึ และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปล่ยี นขอ้ มลู
ขา่ วสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อ

ขจัดและลดปญั หาความขดั แยง้ ต่างๆการเลือกรบั หรือไม่รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารด้วยหลักเหตุผลและความ
ถูกต้องตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสอื่ สาร ท่มี ีประสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบทีม่ ีตอ่ ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การ
คิด อย่างสรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอ่ื นาไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพอ่ื การตัดสินใจเก่ียวกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคต่าง
ๆ ทเ่ี ผชญิ ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสมั พันธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คมแสวงหาความร้ปู ระยุกตค์ วามรู้มาใชใ้ น
การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา และมีการตดั สนิ ใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนต่อตนเอง
สงั คมและส่ิงแวดล้อม

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไป
ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวันการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องการทางานและการอยรู่ ว่ มกนั
ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบคุ คล การจดั การปัญหาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อยา่ ง
เหมาะสม การปรับตัวใหท้ นั กบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรจู้ กั หลีกเล่ยี ง
พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใชเ้ ทคโนโลยี
ดา้ นต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การ
ส่อื สารการทางาน การแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรคถ์ ูกต้องเหมาะสมและมคี ุณธรรม

1.3 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์เพอ่ื ให้
สามารถอย่รู ว่ มกบั ผอู้ ่ืนในสงั คมได้อยา่ งมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลกดังตอ่ ไปนนี้ ้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซือ่ สตั ย์สุจรติ
3. มวี ินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งม่นั ในการทางาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

สรุปได้ว่า หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน มีจุดหมายเพื่อพัฒนานักเรียนเรียนใหเ้ ป็นคน
ดี มีปัญญา มคี วามสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี ได้แก่ มีความรู้ความสามารถใน
การสอื่ สาร การคิด การแก้ปัญหารวมท้ังมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์เห็นคุณคา่ ของ
ตนเอง ยดึ หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พเพยี ง มีจิตสานกึ ในการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาส่งิ แวดลอ้ ม มีจติ สาธารณะที่
มงุ่ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งส่ิงท่ดี ีงามในสังคมและอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างมคี วามสขุ
2. กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

2.1 ความสาคัญของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตรม์ บี ทบาทสาคญั ยิง่ ต่อการพัฒนาความคดิ มนษุ ย์ทาใหม้ นษุ ยม์ คี วามคิดสร้างสรรค์
คดิ อยา่ งมีเหตุผล เปน็ ระบบ มแี บบแผน สามารถวิเคราะหป์ ญั หาหรือสถานการณ์ไดอ้ ยา่ งถี่ถ้วนรอบคอบ
ช่วยใหค้ าดการณ์ วางแผน ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หา และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
นอกจากนี้คณิตศาสตรย์ ังเปน็ เครอื่ งมือในการศึกษาทางด้านวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและศาสตรอ์ ืน่ ๆ
คณิตศาสตร์จึงมปี ระโยชนต์ ่อการดาเนนิ ชวี ิตช่วยพัฒนาคุณภาพชวี ิตให้ดีขึ้นและสามารถอยูร่ ่วมกับผู้อน่ื ได้
อยา่ งมีความสุข

2.2 สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์เปิดโอกาสใหเ้ ยาวชนทุกคนได้เรียนรคู้ ณติ ศาสตร์อย่างตอ่ เน่อื ง
ตามศักยภาพ โดยกาหนดสาระหลักทจ่ี าเป็นสาหรับผ้เู รียนทุกคนดังน้ี

จานวนและการดาเนินการ: ความคดิ รวบยอดและความรสู้ กึ เชิงจานวน ระบบจานวน
จรงิ สมบัตเิ ก่ียวกับจานวนจรงิ การดาเนินการของจานวน อัตราสว่ น ร้อยละ การแก้ปัญหาเกยี่ วกบั จานวน
และการใช้จานวนในชีวติ จริง

การวดั : ความยาว ระยะทาง น้าหนกั พ้ืนที่ ปรมิ าตรและความจุ เงินและเวลา หนว่ ยวัด
ระบบตา่ ง ๆ การคาดคะเนเกย่ี วกับการวดั อตั ราส่วนตรโี กณมิติ การแก้ปัญหาเก่ียวกับการวดั และการนา
ความรู้เกีย่ วกับการวดั ไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ

เรขาคณติ : รูปเรขาคณิตและสมบตั ิของรปู เรขาคณติ หน่ึงมติ ิ สองมติ ิ และสามมิติ การนึก
ภาพ แบบจาลองทางเรขาคณติ ทฤษฎบี ททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต (geometric
transformation)ในเรื่องการเลอื่ นขนาน (translation) การสะท้อน (reflection) และการหมุน
(rotation)

พีชคณติ : แบบรูป (pattern) ความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ นั เซตและการดาเนินการของเซต
การใหเ้ หตุผล นิพจน์ สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลาดับเลขคณติ ลาดับเรขาคณิต อนกุ รมเลข
คณติ และอนกุ รมเรขาคณิต

การวิเคราะหข์ ้อมูลและความนา่ จะเปน็ : การกาหนดประเดน็ การเขยี นขอ้ คาถาม การ
กาหนดวิธกี ารศกึ ษา การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การจดั ระบบขอ้ มูล การนาเสนอขอ้ มูล ค่ากลางและการ
กระจายของขอ้ มูล การวเิ คราะหแ์ ละการแปลความข้อมูล การสารวจความคิดเห็น ความนา่ จะเป็น การ
ใช้ความร้เู กย่ี วกับสถิตแิ ละความนา่ จะเปน็ ในการอธบิ ายเหตุการณ์ต่างๆ และชว่ ยในการตดั สินใจในการ
ดาเนนิ ชีวิตประจาวนั

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร:์ การแก้ปัญหาด้วยวธิ กี ารทหี่ ลากหลายการให้
เหตผุ ล การสื่อสาร การส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชอ่ื มโยงความร้ตู ่างๆ ทาง
คณติ ศาสตร์ และการเช่อื มโยงคณิตศาสตรก์ บั ศาสตร์อื่นๆ และความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์

2.3 คณุ ภาพผ้เู รยี น
คุณภาพผูเ้ รยี นเม่อื จบจบชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ใช้วธิ ีการทีห่ ลากหลายแก้ปญั หา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรแ์ ละ

เทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาในสถานการณต์ ่างๆ ได้อย่างเหมาะสมให้เหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจและสรปุ ผล
ไดอ้ ย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสญั ลักษณท์ างคณิตศาสตรใ์ นการสอื่ สาร การสอ่ื ความหมาย และการ
นาเสนอได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสมเชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ ในคณิตศาสตรแ์ ละเชอ่ื มโยงคณติ ศาสตรก์ บั
ศาสตร์อื่น ๆ และมคี วามคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์

2.4 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนนิ การ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้

จานวนในชวี ิตจริง
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถงึ ผลที่เกิดขน้ึ จากการดาเนนิ การของจานวนและ

ความสมั พันธร์ ะหว่างการดาเนนิ การต่าง ๆ และสามารถใชก้ ารดาเนินการในการแก้ปญั หา
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปญั หา
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบตั เิ กี่ยวกบั จานวนไปใช้

สาระที่ 2 การวดั
มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ

ที่ตอ้ งการวดั
มาตรฐาน ค 2.1 แกป้ ัญหาเกย่ี วกับการวัด

สาระท่ี 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สองมิติและสามมติ ิ
มาตรฐาน ค3.2 ใช้การนกึ ภาพ (visualization) ใชเ้ หตุผลเก่ียวกับปรภิ มู ิ

(spatial reasoning) และใชแ้ บบจาลองทางเรขาคณติ )geometric model) ในการแก้ปญั หา
สาระที่ 4 พีชคณติ
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวเิ คราะหแ์ บบรปู (pattern) ความสมั พันธ์ และ

ฟงั กช์ ัน
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชงิ คณิตศาสตร์

(mathematical model) อน่ื ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค 5.1 เขา้ ใจและใช้วิธกี ารทางสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มลู
มาตรฐาน ค 5.2 ใชว้ ธิ ีการทางสถติ ิและความรเู้ กีย่ วกับความนา่ จะเปน็ ในการ

คาดการณไ์ ดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรูเ้ กีย่ วกับสถติ ิและความนา่ จะเปน็ ชว่ ยในการ

ตดั สินใจและแกป้ ญั หา
สาระที่ 6 ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปญั หา การใหเ้ หตผุ ล การสื่อสาร

การส่ือความหมายทางคณิตศาสตรแ์ ละการนาเสนอ การเชอ่ื มโยงความรูต้ ่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ
เชอ่ื มโยงคณิตศาสตรก์ ับศาสตรอ์ ื่น ๆ และมคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์

สรุปไดว้ ่า กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ มจี ุดมุ่งหมายใหน้ กั เรียนสามารถนาความรู้
ทางคณิตศาสตร์ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน รวมทัง้ มคี วามคิดรเิ ริ่มส้รางสรรค์ สามารถใช้ความรู้
ความคดิ ใชท้ ักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์และเทคโนโลยีทไี่ ดเ้ รียนร้ไู ปใช้แกป้ ัญหาในสถานการณ์
ต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มเี หตุผลและสามารถนาเสนอได้อยา่ งถูกตอ้ ง

3. หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ แนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั เปน็ ปรัชญาท่ีชี้ถงึ แนว

การดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแตร่ ะดับครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถึงระดับรฐั
ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพ่อื ให้
กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภวิ ฒั น์ ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผลรวมถึงความ
จาเป็นทจ่ี ะต้องมีระบบภมู ิคมุ้ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควร ต่อการมผี ลกระทบใดๆ อนั เกิดจาการเปลี่ยนแปลง
ทัง้ ภายนอกและภายนทง้ั น้จี ะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอยา่ งยง่ิ ในการ
นาวชิ าการต่างๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดาเนนิ ทกุ ขน้ั ตอน และขณะเดียวกันจะตอ้ งเสรมิ สร้าง
พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หน้าที่ของรฐั นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทกุ ระดับให้มคี วาม

สานึกในคุณธรรม ความซือ่ สัตยส์ จุ ริตและให้ความรอบรู้ที่เหมาะสมดาเนนิ ชวี ิตด้วยความอดทน ความ
เพียร มสี ติปัญญาและความรอบคอบเพือ่ ให้สมดุลและพรอ้ มตอ่ การรองรบั การเปล่ยี นแปลงอยา่ รวดเร็ว
และกวา้ งขวางทัง้ ดา้ นวตั ถุ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี

3.1 หลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง คอื การพัฒนาท่ีตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของทางสายกลางและ
ความไมป่ ระมาท โดยคานงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันทดี่ ีในตัว ตลอดจนใช้
ความร้คู วามรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทา
3.2 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 สว่ น ดังนี้
กรอบแนวคดิ เป็นปรชั ญาทช่ี แ้ี นะแนวทางการดารงอย่แู ละปฏบิ ัตติ นในทางที่ ควรจะเป็น โดยมี
พื้นฐานมาจากวิถชี วี ิตด้งั เดิมของสงั คมไทย สมารถนามาประยุกตใ์ ชไ้ ด้ตลอดเวลา และเปน็ การมองโลกเชงิ
ระบบทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา มุ่งเนน้ การรอดพน้ จากภัย และวิกฤตเพือ่ ความมนั่ คงและ
ความยั่งยืน ของการพฒั นา
เศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนามาประยกุ ต์ใชก้ ับการปฏิบัติตนได้ในทกุ ระดบั โดยเนน้ การปฏบิ ตั ิ
บนทางสายกลาง และการพัฒนาอยา่ งเปน็ ข้นั ตอน
ความพอเพียง จะตอ้ งประกอบด้วย 3 คณุ ลกั ษณะพรอ้ มๆกนั ดงั นี้

ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีท่ไี ม่นอ้ ยเกนิ ไปและไมม่ ากเกนิ ไปโดยไมเ่ บยี ด
เบยี นตนเองและผูอ้ ืน่ เช่นการผลติ และการบรโิ ภคท่อี ยู่ในระดับพอประมาณ

ความมีเหตุผล หมายถงึ การตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั ระดับของความพอเพยี งน้นั จะต้อง
เปน็ ไปอยา่ งมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตปุ จั จัยที่เก่ยี วขอ้ งตลอดจนคานงึ ถงึ ผลที่คาดวา่ จะเกดิ ขึน้ จากการ
กระทานั้นๆอย่างรอบคอบ

การมีภมู คิ ุ้มกนั ทีด่ ใี นตวั หมายถึง การเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มรับผลกระทบและการ
เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขึ้นโดยคานงึ ถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ
ในอนาคตทั้งใกล้และไกล

เง่อื นไข การตดั สนิ ใจและการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้อยู่ในระดบั พอเพยี งน้ันต้องอาศัยทัง้
ความรู้ และคุณธรรมเป็นพ้นื ฐาน กล่าวคือ

เงอื่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกบั วิชาการตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้องอยา่ งรอบ
ดา้ นความรอบคอบทจ่ี ะนาความรูเ้ หล่าน้นั มาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผน และความ
ระมัดระวงั ในข้นั ปฏบิ ตั ิ

เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ท่จี ะต้องเสริมสร้างประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความ

ซือ่ สัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนินชีวิต
แนวทางปฏบิ ตั ิ/ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์

ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและย่งั ยนื พรอ้ มรับตอ่ การเปลีย่ นแปลงในทกุ ด้านทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม
ส่งิ แวดล้อมความรแู้ ละเทคโนโลยี

3.3 หลกั การพ่งึ ตนเองตามหลกั ปรชัญาเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ด้านจิตใจ ทาตนให้เปน็ ทพ่ี ่ึงตนเองมีจิตสานกึ ทด่ี ี สร้างสรรค์ให้ตนเองและชาติ

โดยรวมมีจิตใจเอื้ออาทร ประณปี ระนอมเห็นประโยชนส์ ว่ นรวมเป็นท่ตี ัง้
2. ด้านสงั คม แตล่ ะชุมชนต้องชว่ ยเหลือเกือ้ กูลกันเชือ่ มโยงกันเปน็ เครอื ข่ายชุมชนที่

แข็งแรงเป็นอสิ ระ
3. ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใหใ้ ช้และจัดการอย่างฉลาด พรอ้ มท้ังหาทาง

เพ่ิมมูลค่าโดยใหย้ ดึ อยบู่ นหลกั การความย่ังยืน
4. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดลอ้ มท่ีเปลีย่ นแปลงรวดเรว็ เทคโนโลยที ่ีเข้ามาใหมท่ ้ังดี

และไม่ดจี ึงตอ้ งแยกแยะบนพน้ื ฐานของภูมปิ ญั ญาชาวบ้านและเลอื กใชเ้ ฉพาะที่สอดคลอ้ งกับความต้องการ
และสภาพแวดล้อม และควรพฒั นาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง

5. ดา้ นเศรษฐกิจ แต่เดิมนกั พฒั นามักมุ่งทีก่ ารเพมิ่ รายได้ และไม่มกี ารมงุ่ ทก่ี ารลด
รายจ่ายในเวลาเช่นนจี้ ะตอ้ งปรบั ทิศทางใหม่ คือ จะตอ้ งมงุ่ ลดรายจ่ายก่อนเป็นสาคัญ และยึดหลักพออยู่
พอกิน พอใช้

สรุปได้วา่ เศรษฐกิจพอเพียงในระดบั บคุ คล คือ ความสามารถในการดารงชวี ติ ได้อย่างไม่
เดือดรอ้ น มีความเปน็ อย่างประมาณตนตามฐานะ ตามอัตภาพ และทส่ี าคัญไมห่ ลงใหลไปตามกระแสของ
วัตถุนิยมมอี ิสรภาพเสรีภาพ ไม่พ้นธนาการอย่กู บั สง่ิ ใด หากกลา่ วโดยสรปุ คอื ทนั กลับมายึดเสน้ ทางสาย
กลางในการดารงชวี ิต

4. การวเิ คราะหห์ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการเรียนรู้
จากการศึกษาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการศึกษาสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ดงั กล่าว รวมท้งั การศกึ ษาสภาพปญั หาในโรงเรยี นและชมุ ชน ทางคณะผู้จดั ทาได้นาแนวทางมาดาเนินงาน
โครงงานคณติ ศาสตร์กบั เศณษฐกจิ พอเพียงเรอื่ ง “ เปลี่ยนขยะไรค้ ่ามาเปน็ สอ่ื คณิคคดิ สนุก ” โดยเน้น
การอยู่พอเพียงโดยใช้หลกั 3 หว่ ง 2 เงือ่ นไข หลกั 3 ห่วง ไดแ้ ก่ หลักความพอประมาณ หลักการมี
เหตผุ ล หลักการมีภูมิคุ้มกนั ท่ดี ใี นตัว 2 เง่ือนไข ได้แก่ เงื่อนไขด้านความรู้และเงือ่ นไขด้านคุณธรรม ดังนี้

หลกั ความพอประมาณ หมายถงึ การดาเนินงานโครงงานคณิตศาสตร์กับเศรษฐกจิ พอเพียง
เร่ือง “ เปลยี่ นขยะไร้คา่ มาเปน็ ส่ือคณิคคิดสนุก ” เป็นกจิ กรรมทม่ี ีความเหมาะสมกบั ตนเองกับชมุ ชน

โรงเรียนและเพ่อื นๆ ในโรงเรียน มคี วามพอดีทีไ่ ม่น้อยเกดิ ไปและไมม่ ากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผ้อู ่ืนดงั น้ี

1. กิจกรรมการผลติ สอื่ คณิตฯคิดสนกุ มคี วามเหมาะสมกบั วยั และศักยภาพของตนเอง
2. กาหนดเวลาในการดาเนินงานได้เหมาะสม ทาได้ตามแผนงานทว่ี างไว้
3. กจิ กรรมทีทามคี วามเหมาะสมกับสภาพความเป็นอย่ใู นชมุ ชนและในโรงเรยี น
4.การใช้เศษวัสดแุ ละสิง่ ของเหลอื ใช้มาดดั แปลงใหเ้ กิดประดยชน์ทาใหใ้ ชง้ บประมาณ
นอ้ ยแตไ่ ด้ประโยชน์คมุ้ ค่า
5. สือ่ คณิตฯ คิดสนุกทีเ่ ลือกทา มีความเหมาะสมกบั วยั และศกั ยภาพของน้องและ
นกั เรียนเรียนร่วม
หลักการมีเหตุผล หมายถึง การดาเนนิ งานโครงงานคณติ ศาสตร์กบั เศรษฐกิจพอเพยี ง เรื่อง “
เปล่ียนขยะไรค้ า่ มาเป็นส่ือคณคิ คิดสนกุ ” เป็นกิจกรรมท่ที าให้คณะผู้จัดทามีความสามารถในการคดิ
วเิ คราะหต์ ัดสินใจอยา่ งมีเหตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตแุ ละผลทีค่ าดวา่ จะเกดิ ขึน้ จากการกระทานนั้ ๆ อย่าง
รอบคอบ ดงั น้ี
1. สามารถวเิ คราะห์สภาพปญั หาในชุมชนและสรุปปญั หาทต่ี ้องแก้ไขได้
2. เกิดทักษะกระบวนการคดิ สามารถอธบิ ายไดถ้ ูกต้อง
3. เกดิ ทักษะในการวางแผนในการทางาน
4. เกดิ ทกั ษะในการทาโครงงาน เกดิ กระบวนการท่เี ปน็ ข้ันตอนตามความสามารถของ
ตนเอง
5. การนาขยะมาใช้ประดยชน์เปน็ การรักษาสิ่งแวดล้อมและช่วยลดภาวะโลกรอ้ น
6. การเลอื กใช้เศษวัสดทุ ่ีเหมาะสมในการจดั ทาส่ือคณติ ฯ คิดสนุก ชว่ ยในการประหยัด
งบประมาณ
7. สือ่ คณิตฯ คดิ สนุก มปี ระโยชน์ตอ่ น้องๆ และนกั เรยี นเรียนร่วม ทาใหไ้ ด้ฝึกการคดิ
และได้รับความบันเทงิ
8. การผลติ สอื ่คณติ ฯ คดิ สนุก เกดิ ประโยชน์ต่อโรงเรียนทาให้โรงเรียนประหยดั
งบประมาณในการจดั ซือ้ สื่อการเรียนรู้
หลกั สรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ทด่ี ี หมายถึง การดาเนนิ งานโครงงานคณิตศาสตร์กบั เศรษฐกิจพอเพียงเร่อื ง
“ เปลยี่ นขยะไร้คา่ มาเปน็ สือ่ คณิคคิดสนุก ” ทาใหท้ างคณะผ้จู ดั ทาสามารถเตรยี มตัวเองให้พร้อมโดบฝึก
ตัวเองให้รจู้ ักการคดิ การวางแผนทางานให้เป็นเพือ่ ใหส้ ามารถรับผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงดา้ น
ต่างๆ ท่จี ะเกิดขึ้นในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล ดงั นี้
1. สามารถนาปัญหาท่พี บในโรงเรียนและชุมชนไปวิเคราะห์และรว่ มแก้ปัยหาได้

2. รจู้ ักคดิ วางแผนการปฏบิ ตั ิงาน ได้อยา่ งเป็นระบบและถกู ต้องตามหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. รู้จักการทางานที่ประหยัดเวลาและค่าใชง้ านท่ีมคี วามปลอดภยั
4. รจู้ ักการคาดการณ์สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ปญั หาท่เี กดิ ข้ึน
5. รคู้ ณุ ค่าของขยะและเลือกใช้ได้อยา่ งคุ้มคา่
6. การฝึกการทางานทเี่ ป็นระบบจะชว่ ยใหน้ ักเรยี นนาความรู้ และประสบการณ์ที่ไดร้ ับ
จากการทางานไปปรับใช้ในชวี ิตประจาวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในอนาคต
เงือ่ นไขดา้ นความรู้ หมายถึง การดาเนนิ งานโครงงานคณิตศาสตรก์ บั เศรษฐกิจพอเพียง
เรอ่ื ง“ เปลยี่ นขยะไรค้ า่ มาเป็นส่อื คณิคคดิ สนกุ ” ทาให้ทางคณะผู้จดั ทามีความรอบร้เู ก่ยี วกบั วชิ าการต่างๆ
ท่ีเกี่ยวข้องอยา่ งรอบด้านความรอบคอบท่ีจะนาความรูเ้ หลา่ นั้นมาพิจารณาให้เชือ่มโยงกันเพ่อื ประกอบ
การวางแผน และความระมดั ระวงั ในข้ันปฏิบัติ ดังนี้
1. มคี วามรเู้ ก่ียวกบั หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
2. รหู้ ลักการวิเคราะห์ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
3. มีความรู้เกีย่ วกบั สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
4. ร้หู ลกั การใชภ้ าษาสือ่ สาร ทงั้ การฟัง การพูด การอ่าน การพูดนาเสนอและเขียนอยา่ ง
ถกู ตอ้ ง
5. มีทกั ษะในการตอบคาถามและการสรุปความ
6. มีทกั ษะในการทาโครงงาน
เงื่อนไขดา้ นคุณธรรม หมายถงึ การดาเนนิ งานโครงงานคณติ ศาสตร์กบั เศรษฐกจิ พอเพียงเร่อื ง“
เปลีย่ นขยะไรค้ า่ มาเปน็ สอ่ื คณิคคิดสนกุ ” ทาใหท้ างคณะผู้จัดทามคี วามตระหนกั ในคุณธรรม มีความ
ซือ่ สัตย์สจุ ริตและมคี วามอดทน มีความเพยี รใชส้ ติปัญญาในการดาเนนิ ชวี ิต ดังน้ี
1. รูจ้ กั การประหยดั อดออมในการใช้เศษวสั ดุที่ไม่ใชแ้ ล้วให้เกดิ ประโยชนค์ ุม้ คา่
2. มคี วามรบั ผิดชอบในการจัดทาสอื่ การเรยี นรู้
3. มีความสามัคคีและช่วยเหลอื กันในการรว่ มกิจกรรม
4. เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีในดา้ นการประหยดั
5. มีความขยันหม่นั เพียร ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องเหมาะสม
6. มีความอดทนและตั้งใจในการทางาน
7. มคี วามเสียสละในการทางานเพอื่ น้องๆ และโรงเรยี น
สรุปไดว้ า่ การดาเนินงานโครงงานคณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพยี งเร่อื ง“ เปลีย่ นขยะไรค้ ่ามา

เปน็ ส่อื คณิคคิดสนุก ” ทาใหท้ างคณะผู้จดั ทาไดด้ าเนินชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง มีความเป็นอยู่
อย่างพอเพียงเหมาะสมกับตวั เอง สามารถเป็นตวั อย่างแก่นักเรียนคนอนื่ ๆ และเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติ
ตนในอนาคตได้

บทที่ 3
วิธกี ารดาเนินงาน

ขั้นตอนการดาเนนิ งาน
การดาเนินงานโครงงานคณิตศาสตร์กับเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง “ เปลี่ยนขยะไร้ค่า มาเป็นสื่อ

คณติ ฯ คดิ สนกุ ” มีรายละเอียดข้ันตอนการดาเนินงาน ดงั นี้
1. นักเรยี นสารวจปัญหาและรวบรวมปญั หา ได้แก่ ขยะในโรงเรยี นและในชมุ ชนมมี ากมาย

ส้ินเปลืองพลังงานในการทาลาย และก่อปัญหาภาวะโลกร้อน โดยการสารวจปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับตัวเอง
ครอบครัวและชุมชน สรุปปัญหาร่วมกัน พบว่า ปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม ได้แก่ ขยะ เป็นปัญหาเร่งด่วนท่ี
ต้องแก้ไข

2. ศกึ ษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ และแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว ได้แก่
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และวิธีการดัดแปลงขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์ พบแนวทางการ
แก้ปัญหาโดยการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับคุณธรรมตามหลักธรรม
ศาสนา แนวเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั และคาดว่าจะสามารถแกป้ ญั หาทเ่ี กิดข้ึน
ได้ ศกึ ษาความรทู้ างคณิตศาสตร์ ได้แก่ การวัดความยาวและรูปเรขาคณิตมาใชใ้ นการทาสอ่ื การเรียนรู้
ส่อื คณติ ฯ คิดสนกุ

3. วางแผนการนาขยะมาใชป้ ระโยชน์โดยทาเป็นสื่อการเรียนรู้สอื่ คณติ ฯ คดิ สนุก โดยทาเป็น
โครงรา่ งของโครงงาน

4. นาโครงร่างของโครงงานเสนอต่อครูที่ปรึกษาเพ่ือปรบั ปรงุ แกไ้ ข
5. ดาเนนิ การจดั ทาสอื่ การเรยี นร้คู ณิตฯ คิดสนุก โดยมีครู ผูป้ กครองเป็นทปี่ รึกษาและให้
คาแนะนา
6. ประเมินคณุ ภาพสื่อการเรียนรู้สอื่ คณติ ฯ คิดสนกุ และปรบั ปรุงแก้ไข โดยใช้แบบประเมนิ
คณุ ภาพ
7. นาส่อื คณิตฯ คิดสนุก ไปใหน้ กั เรียนชน้ั ตา่ งๆ ใช้ โดยนาไปให้นอ้ งๆ เล่นในตอนพักกลางวัน
8. ประเมินความพึงพอใจในการเรยี นรู้ส่ือคณติ ฯ คดิ สนุก โดยใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
9. สรุปผลโครงงาน
10. รายงานผล
11. จัดปา้ ยนเิ ทศและนาเสนอผลงาน

เครอื่ งมือการดาเนนิ งาน
การดาเนนิ งานโครงงานคณติ ศาสตรก์ บั เศรษฐกิจพอเพียงเรอ่ื ง “ เปลี่ยนขยะไร้คา่ มาเปน็ ส่อื คณิตฯ คิด

สนกุ ” มีเคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการดาเนนิ งาน ไดแ้ ก่
1. ส่ือการเรียนรู้คณิตฯ คิดสนกุ มี 5 รายการ
2. แบบประเมนิ คณุ ภาพของส่ือคณิตฯ คิดสนกุ
3. แบบประเมินความพงึ พอใจในการใช้ส่ือคณิตฯ คิดสนกุ
1. ส่ือการเรยี นรู้คณติ ฯ คิดสนุก มี 5 รายการ ได้แก่
1.ปฏทิ ินตง้ั โต๊ะ

ภาพท่ี 1 ปฏิทินตัง้ โตะ๊
1.1 จุดประสงค์ เพ่ือเรยี นรเู้ ร่อื ง วนั ที่ เดอื น
1.2 วสั ดอุ ุปกรณ์ที่ใช้ กระดาษลัง กาว กระดาษสี
1.3 สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตรท์ ่ีใช้ ได้แก่ ลกู บาศก์ทรงสี่เหลี่ยม จานวนและชอื่ เดือน
1.4 วธิ ีทา

1.4.1 การทาลกู บาศกท์ ี่ใชแ้ ทนวนั ท่ี
ทาได้โดย นากล่องกระดาษทใ่ี ส่อุปกรณก์ ีฬาลูกตะกร้อ 2 ลูกทม่ี ีลักษณะเปน็
ทรงลูกบาศก์ เพมิ่ ความแข็งแรงโดยตัดกระดาษลงั เปน็ รูปสเี่ หลีย่ มจัตุรัสปิดให้ครบท้งั หกด้าน เพ่ิมความ
สวยงามโดยปดิ ทับด้วยกระดาษสี และตัดกระดาษเป็นตัวเลขสาหรับปะตดิ ตวั เลข โดยใช้หลกั การคิดวา่
ลกู บาศกแ์ ตล่ ะลูกมหี กหนา้ และลกู บาศกท์ ง้ั 2 ลูก มจี านวนทต่ี ้องซา้ กัน 3 ตวั ไดแ้ ก่ 0 , 1 และ 2 ใช้
แทนวันท่ี 11 และวนั ท่ี 22 และเลข 0 ของลกู บาศก์ หลกั สิบใชแ้ ทน 0 เพอ่ื แสดงวันท่ี 1-9 ที่เปน็ เลข
หลกั หน่วย เชน่ วันท่ี 1 ใช้ 01 และยังใชแ้ ทน 0 ในหลักหนว่ ย เชน่ วนั ที่ 10 , 20 , 30 อีกด้วย ดังน้นั
จะเหลอื ลูกบาศกอ์ ีกลกู ละ 3 หนา้ ท่ีต้องใส่ตัวเลขอีก 7 ตัว ไดแ้ ก่ 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 จึงต้องใช้

9 และ 6 ด้วยตัวเลขเดยี วกัน โดยใชก้ ารกลบั หัวเพอื่ ใหเ้ หลือจานวนเลข 6 ตัว เทา่ กับจานวนหน้าของ
ลูกเตา๋ อีก 6 หน้า ดงั น้ี

ลกู บาศก์ลูกที่ 1 จะตอ้ งมีเลข 0 , 1 , 2 , 5 , 6 , 7
ลูกบาศก์ลกู ท่ี 2 จะตอ้ งมีเลข 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 8
การวางลูกบาศก์ในหนึ่งเดือนโดยตัวเลขสเี ขยี วใช้แทนลกู บาศก์ลูกท่ี 1 ท่ีมีตัวเลข 0 , 1 2 , 5 ,
6 , 7 และตวั เลขสแี ดงใช้แทนลกู บาศกล์ ูกที่ 2 มเี ลข 0 , 1 2 , 3 , 4 , 8 แสดงวันที่ ตั้งแต่วันที่ 1
ถงึ วันท่ี 31 ดงั น้ี

ตารางที่ 1 แสดงการใชล้ กู บาศกแ์ สดงวนั ที่ ตัง้ แต่วันท่ี 1 ถึงวันที่ 31

วนั ท่ี หลักสิบ หลักหน่วย หมายเหตุ
1 0 1 ใช้เลข 6 กลบั หัวเป็นเลข 9
2 0 2 ใชเ้ ลข 6 กลับหวั เปน็ เลข 9
3 0 3 ใชเ้ ลข 6 กลับหวั เป็นเลข 9
4 0 4
5 0 5
6 0 6
7 0 7
8 0 8
9 0 9
10 1 0
11 1 1
12 1 2
13 1 3
14 1 4
15 1 5
16 1 6
17 1 7
18 1 8
19 1 9
20 2 0
21 2 1
22 2 2
23 2 3
24 2 4
25 2 5
26 2 6
27 2 7
28 2 8
29 2 9
30 3 0
31 3 1

1.4.2 การทาแท่งทรงสีเ่ หล่ียมที่ใช้แทนเดอื น ใชแ้ ท่งสี่เหลีย่ ม 3 แทง่ สาหรบั
เขียนช่ือแทนโดยคานวณวา่ แทง่ ทรงสเี่ หลี่ยมเม่อื วางในแนวนอนจะมี 4 ดา้ นจงึ ตอ้ งใช้ 3 แท่ง เพอื่ เขยี น
เดือนให้ครบ 12 เดือน

แท่งทรงสี่เหล่ียมแท่งที่ 1 ใช้เขยี นแทนเดือน มกราคม ถึง เมษายน
แท่งทรงสีเ่ หล่ียมแท่งท่ี 2 ใช้เขียนแทนเดอื น พฤษภาคม ถงึ สงิ หาคม
แท่งทรงส่เี หลี่ยมแท่งท่ี 3 ใช้เขยี นแทนเดือน กันยายน ถึง ธันวาคม
1.5 การนาไปใชป้ ระโยชน์ ใช้เรยี นรูเ้ รื่อง เวลา เปน็ ปฏทิ นิ สาหรับวางไว้ในชน้ั เรียน
และเป็นโจทยส์ าหรบั ฝกึ คดิ เร่ืองวนั ที่ วา่ จะวางตัวเลขหลักใดเพราะบางวนั ทีต่ อ้ งมกี ารสลบั ลูกบาศก์
1.6 ประโยชนท์ ี่ได้รับ เพอื่ ฝกึ การคิดเกี่ยวกบั วางตัวเลขวนั ท่ี และเปน็ ปฏิทินสาหรบั วาง
ไวใ้ นชัน้ เรียน

2. ลูกเตา๋ สองสหาย

ภาพที่ 2 ลกู เต๋าสองสหาย

2.1 จดุ ประสงค์ เพอ่ื ฝกึ ทักษะการบวก การลบ การคูณ และการหาร
2.2 วัสอุ ุปกรณท์ ่ีใช้ กล่องใส่ลกู ตะกรอ้ ทรงลูกบาศก์ กระดาษลัง กาว กระดาษสี
สาหรับทารปู วงกลมเท่ากบั ขนาดเหรียญหา้ บาทหรือสบิ บาท
2.3 สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ที่นามาใชไ้ ดแ้ ก่ จานวน รปู ทรงเรขาคณิต การบวก
การลบ การคณู และการหาร
2.4 วธิ ีทาลกู เต๋าสองสหาย นากลอ่ งกระดาษท่ใี ส่อุปกรณก์ ีฬาลูกตะกรอ้ 2 ลูกที่มี
ลกั ษณะเปน็ ทรงลกู บาศก์ เพ่ิมความแขง็ แรงโดยตดั กระดาษลังเป็นรปู ส่ีเหลีย่ มจัตุรัสปดิ ให้ครบทง้ั หกดา้ น
เพิ่มความสวยงามโดยปิดทบั ดว้ ยกระดาษสี และตัดกระดาษสีสาหรับทาแต้มลูกเตา๋ สาหรับปะตดิ แตม้ ทา
เหมอื นลกู เต๋า โดยใช้หลักการขอลูกเต๋า คือ ผลรวมของแตม้ ลูกเตา๋ หนา้ ตรงกนั ข้ามมารวมกันใหไ้ ด้ 7
แตม้ แตม้ 1 ตรงขา้ มกบั 6 แตม้ 2 ตรงขา้ มกับ 5 แต้ม 3 ตรงข้ามกบั 4 โดยทาท้ังสองลูกเหมือนกัน

2.5 การนาไปใช้ โดยให้นกั เรยี นทอดลกู เต๋าทั้ง 2 ลกู ขน้ึ แต้มอะไรให้นาจานวนทั้งสอง
มาบวก ลบ คูณ หาร กนั เช่น

ถ้าลกู เต๋าลกู ที่หน่ึงขนึ้ หน้า 2 ลูกเต๋าลกู ที่สองข้นึ หนา้ 3 อาจจะนาสองจานวน
มาบวกกันแล้วหาคาตอบดงั น้ี เช่น 2 + 3 = 5

ถา้ ลูกเต๋าลกู ท่ีหนง่ึ ขึ้นหน้า 5 ลกู เตา๋ ลกู ทส่ี องขน้ึ หน้า 4 อาจจะนาสองจานวน
มาลบกนั แลว้ หาคาตอบดงั น้ี เชน่ 5 – 4 = 1

ถ้าลูกเต๋าลูกที่หนึง่ ขึ้นหน้า 4 ลูกเตา๋ ลูกทสี่ องขึ้นหนา้ 2 อาจจะนาสองจานวน
มาคณู กนั แล้วหาคาตอบดงั น้ี เชน่ 4 × 2 = 8

ถ้าลกู เต๋าลกู ท่ีหนง่ึ ขึ้นหน้า 6 ลูกเตา๋ ลกู ทส่ี องขึ้นหนา้ 3 อาจจะนาสองจานวน
มาลบกนั แล้วหาคาตอบดงั น้ี เชน่ 6 ÷ 3 = 2

2.6 ประโยชน์ในการใช้ ใชเ้ ปน็ แบบฝึกสาหรบั กการคิดเลขบวก ลบ คูณ หาร สาหรับ
นกั เรยี นทกุ ระดบั ชั้นเรยี นตามความสามารถ

3. เกมจก๊ิ ซอว์

ภาพท่ี 3 เกมจกิ๊ ซอว์

3.1 จุดประสงค์ เพ่อื ฝึกการคิด ฝกึ ฝนทกั ษะดา้ นการสังเกต การฝกึ สมาธิ
3.2 วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใช้ กระดาษลงั กาว กระดาษสี ไม้บรรทดั สไี ม้ ดนิ สอ มีดคัต
เตอร์ กรรไกร พลาสติกใสสาหรับเคลอื บ ฟิวเจอรบ์ อร์ด
3.3 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รูปเรขาคณิตสองมติ ิ (รูปส่เี หลีย่ ม รูปสามเหลีย่ ม) การ
หาพื้นที่
3.4 วธิ ีทา

3.4.1 วาดภาพหรอื หาภาพจากอนิ เตอรเ์ น็ตสาหรับทาเป็นจกิ ซอว์

3.4.2 นาภาพที่ไดไ้ ปวางทับลงบนกระดาษแข็งตามขนาดทีต่ อ้ งการ แล้วใชด้ นิ
สอนขดี เสน้ เพ่อื งา่ ยตอ่ การทาขั้นตอนตอ่ ไป

3.4.3 วัดจากขอบของกระดาษแข็งประมาณ 5 เซนติเมตร เพอื่ ทาเปน็ ขอบ
ของจกิ ซอว์ จานวน 2 ชิ้น ชิ้นที่หนึง่ สาหรับเปน็ ฐานรอง และช้ินที่สองสาหรับทาขอบของจกิ ซอว์ โดยตดั
ตรงกลางออก ให้เหลือเฉพาะขอบ อาจจะเสริมความแขง็ แรงโดยใช้กระดาษแขง็ หรือฟิวเอจร์บอรด์ มา
รองอกี ชนั้ หนง่ึ

3.4.4 นารปู ภาพท่ไี ด้ไปทากาวและติดลงบนกระดาษแข็งหรือฟิวเจอรบ์ อรด์ อกี
ชั้นหน่งึ เพื่อความแข็งแรงและทนทานตอ่ การใช้

3.4.5 ใช้มดี คตั เตอร์ตัดรปู ภาพให้เปน็ รูปเรขาสองมิติ เช่น รูปส่ีเหลีย่ ม รูป
สามเหล่ียม รูปหลายเหลี่ยมตามความต้องการให้ได้หลายๆ ชิ้น

3.4.6 นารูปท่ตี ัดไดม้ าเคลอื บดว้ ยพลาสติกใส เพอ่ื ความสวยงามและคงทน
3.5 การนาไปใช้ โดยใหน้ กั เรียนฝึกคิด ฝกึ การสงั เกต อาจจะเล่นต่อจิกซอว์เป็นรายบคุ คล
หรอื หลายคน โดยใหน้ าไปต่อให้เปน็ ภาพท่สี มบรู ณ์ หรืออาจนาไปใช้เรยี นร้เู กีย่ วกับการฝึกคิดหาพ้ืนทหี่ รอื
ความยาวรอบรูปของรปู ส่ีเหลี่ยม รปู สามเหลยี่ ม หรือโดยให้นักเรยี นใชว้ ัดความยาว ความกวา้ ง ความ
สงู ของรูปสามเหลย่ี ม รปู ส่ีเหล่ียมและหาพนื้ ทหี่ รือความยาวรอบรูป
3.6 ประโยชนใ์ ชเ้ ป็นแบบฝึกสาหรบั ฝึกทกั ษะการคิดคานวณ และนาชนิ้ ส่วนมาต่อให้เป็น
รปู ภาพ

4. ตารางหมากฮอส

ภาพท่ี 4 ตารางหมากฮอส

4.1 จดุ ประสงค์ เพ่ือฝกึ ทกั ษะการคดิ แกป้ ัญหาและเพ่อื ความบันเทิง
4.2 วสั ดอปุ กรณ์ กระดาษลงั กาว กระดาษสี สไี ม้ ฝาขวดนา้ อดั ลม กระดาษแข็ง

4.3 สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตรท์ ่นี ามาใช้ ได้แก่รูปสีเ่ หลี่ยมจตั ุรัส การวัด เส้นทะแยง
มุม

4.4 วธิ ีการทา โดยตัดกระดาษสาหรับวางพน้ื เปน้ รปู สเี่ หล่ียมจตั รุ สั และนากระดาษแขง็
สีขาว มาตีตารางเป็นรูปสเี่ หลย่ี มจัตรุ ัสขนาด 1.5 × 1.5 นว้ิ จานวน 64 ช่อง แลว้ ระบายสีหรือแรเงา
หรอื ตัดเป็นเส้นทะแยงมมุ หรอื ตกแต่งลวดลายต่างๆ หน่งึ ช่องเว้นหนงึ่ ชอ่ งเป็นตารางหมากฮอส

4.5 การนาไปใช้โดยให้นักเรยี นฝึกคิด เลน่ กัน 2 คนหรือเลน่ เปน็ กล่มุ เพอ่ื ช่วยคิด โดย
ใช้โจทย์ปัญหา

4.6 ประโยชนใ์ ชเ้ ปน็ แบบฝกึ คิดแก้ปญั หา สาหรับนกั เรียนตง้ั แตช่ ั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6

5. เกมบันไดงู

ภาพท่ี 5 เกมบนั ไดงู
5.1 จุดประสงค์ เพ่อื ฝึกสมาธิ ฝกึ การคิด และเพอื่ ความบันเทงิ
5.2 วัสดอุ ุปกรณ์ท่ีใช้ กระดาษลัง กาว กระดาษสี สีไม้ ฝาขวดนา้ อัดลม กระดาษ
แข็ง
5.3 สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ท่นี ามาใช้ รูปสเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ จานวนนบั การนับ
5.4 วิธีทา
ทาภาพบันไดงู โดยตดั กระดาษสาหรับวางพ้ืนเปน็ รูปสเ่ี หลย่ี มผืนผา้ และนากระดาษ
แข็ง มาวาดเป็นรูปงู ตชี ่องให้ได้ความยาวจากหางถงึ คองูได้ 45 ชอ่ ง อาจจะทาให้มากว่านก้ี ไ็ ด้ แล้ว
วาดบันไดสาหรบั ให้ข้นึ ทางลัด และสาหรบั ตกจากท่สี ูงตามคาสง่ั ทก่ี าหนดใชฝ้ าน้าอัดลมเปน็ ตวั เล่น และ
ใชล้ กู เตา๋ หรอื บัตรโจทย์ปัญหาเพ่ือให้ไดแ้ ตม้ สาหรับได้ฝกึ คิด

ทาบัตรโจทยสาหรบั คดิ คานวณ แทนการทอดลกู เตา๋ เช่น

2+5=? 6-4=? 9+3=? 8×1= ?

ชว่ ยการคดิ อาจใช5้ล.ูก5เกตาา๋ รน2าลไปูกใชก้โด็ไดย้ใหแ้นลว้ักกเราียหนนฝดกึ ใหหดัห้ าผเลลน่ บควรกง้ั =ลผะ?ลล2บ คผนลคหูณรือเหลร=่นอื ก?ผันลเหปาน็ รกขลอุ่มงเลพกู ื่อเต๋า
5.6 ประโยชน์ ใช้เป็นแบบฝึกคดิ คานวณ สาหรับนกั เรียนทกุ ชนั้ เพอื่ ฝึกการคิดและ

ความบนั เทิง
2. แบบประเมินคุณภาพ สอื่ คณิตฯ คิดสนุก

2.1 รายการประเมิน
แบบประเมนิ คณุ ภาพสือ่ คณิตฯ คิดสนุก เป็นเครื่องมอื ทีจ่ ดั ทาขึ้นเพ่ือใช้แบบประเมนิ

คุณภาพของสอ่ื คณติ ฯ คิดสนกุ มรี ายการประเมนิ ไดแ้ ก่
- สอดคล้องกบั สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
- สอดคลอ้ งกับหลกั เศรษฐกิจพอเพียง
- ความแข็งแรงของส่ือคณิตฯ คิดสนุก
- ความสวยงามของสอ่ื คณติ ฯ คดิ สนกุ
- ความนา่ สนใจของสื่อคณิตฯ คดิ สนกุ
- มปี ระโยชนใ์ นด้านการส่งเสรมิ การคดิ
- ประโยชน์ในการนาไปใชใ้ นการเรยี นรู้

2.2 ระดบั ความคดิ เห็น
ใหผ้ ตู้ อบแบบประเมนิ แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับคุณภาพของสอื่ คณิตฯ คิดสนกุ โดย

ทาเครอื่ งหมาย  ในช่องระดบั ความคิดเห็น 5 ระดบั ไดแ้ ก่
ระดบั 1 หมายถงึ นอ้ ยท่ีสุด
ระดบั 2 หมายถงึ น้อย
ระดบั 3 หมายถงึ ปานกลาง
ระดบั 4 หมายถงึ มาก
ระดบั 5 หมายถึง มากที่สดุ

2.3 ผู้ตอบแบบประเมิน
ผ้ตู อบแบบประเมิน ได้แก่ ครู จานวน 10 คน

2.4 เมอ่ื รวบรวมแบบประเมินไดค้ รบ 10 ชุด แลว้ นาความคดิ เหน็ มาสรปุ ในแบบบนั ทกึ
ความคดิ เหน็

3. แบบประเมินความพึงพอใจในการใชส้ อื่ คณิตฯ คดิ สนกุ
3.1 รายการประเมนิ
แบบประเมินความพึงพอใจในการใชส้ ื่อคณิตฯ คิดสนุก เป็นเครือ่ งมือท่ีจัดทาขน้ึ เพือ่ ใช้

ประเมนิ ความพงึ พอใจในการใช้สอื่ คณิตฯ คดิ สนกุ มีรายการประเมิน ได้แก่
- ความนา่ สนใจ
- ความสวยงาม
- เป็นประโยชนต์ ่อส่ือแวดล้อม
- ส่งเสรมิ การใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์
- มคี วามพอเพียงและประหยัด
- สง่ เสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์
- สง่ เสรมิ การคิดแก้ปญั หา
- ส่งเสรมิ การมีจติ สาธารณะ
- ชว่ ยลดขยะในโรงเรียนและชุมชน
- ส่งเสรมิ นิสัยทีด่ ีในการแบง่ ปัน

3.2 ระดบั ความคดิ เหน็
ใหผ้ ู้ตอบแบบประเมนิ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั คณุ ภาพของสื่อคณิตฯ คิดสนกุ โดย

ทาเครือ่ งหมาย  ในช่องระดับความคดิ เหน็ 5 ระดับ ได้แก่
ระดบั 1 หมายถึง นอ้ ยที่สดุ
ระดบั 2 หมายถงึ นอ้ ย
ระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง
ระดับ 4 หมายถงึ มาก
ระดบั 5 หมายถึง มากที่สุด

3.3 ผูต้ อบแบบประเมิน
ผตู้ อบแบบประเมนิ ไดแ้ ก่ นกั เรียนจานวน 30 คน
นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ชั้นละ 5 คน

3.4 เมอื่ รวบรวมแบบประเมินได้ครบ 30 ชุด แลว้ นาความคดิ เห็นมาสรุปในแบบบันทึกความ
คิดเห็น

บทที่ 4
ผลการดาเนนิ งาน

ผลการดาเนนิ งาน ตามวัตถปุ ระสงค์ ขอ้ ท่ี 1

วัตถปุ ระสงค์ข้อท่ี 1 ไดแ้ ก่ เพ่ือผลติ ส่อื การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ จากเศษวสั ดทุ ่ไี มใ่ ช้แลว้ ได้ผลงาน

นักเรยี นสือ่ คณิตฯ คิดสนกุ เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์เปน็ สือ่ สาหรับเรียนรู้และบนั เทงิ 5 รายการ ดังน้ี

1. ปฏิทนิ ต้งั โต๊ะ 2. ลูกเต๋าสองสหาย 3. เกมจ๊ิกซอว์ 4. ตารางหมากฮอส 5. เกมบันไดงู

ผลการพฒั นาสอ่ื คณิตฯ คดิ สนกุ

สมมุติฐานข้อท่ี 1 สอื่ การเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ จากเศษวัสดุท่ไี มใ่ ช้แลว้ มคี ุณภาพในระดบั มาก

การหาคณุ ภาพครง้ั ท่ี 1

เมื่อผู้จัดทาได้ทาสื่อคณิตฯ คิดสนุก แล้วนาไปหาคุณภาพ โดยนาไปใหค้ ุณครชู ว่ ยกนั ตรวจ

ผลงานประเมนิ พบขอ้ บกพรอ่ ง ได้แก่ สีสันไมส่ วยงาม รูปทรงไม่แขง็ แรง จึงนามาปรับปรงุ

การหาคุณภาพครั้งท่ี 2

นาไปใหค้ ุณครปู ระมนิ ผลงานเป็นครง้ั ท่ี 2 โดยใช้แบบสอบถาม สรปุ ผลการประเมินตามตาราง

ไดด้ ังน้ี

ตาราง 2 แสงผลการประเมนิ คุณภาพส่ือคณติ ฯ คิดสนุก

ท่ี รายการ ระดับความคดิ เหน็
5 4 321

1 สอดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 80 20 - - -

2 สอดคล้องกบั หลักเศรษฐกิจพอเพียง 60 40 - - -

3 สอดคล้องกบั วัตถุประสงคข์ องโครงงาน 70 30 - - -

4 ความแข็งแรงของส่อื คณติ ฯ คดิ สนุก 50 50 - - -

5 ความสวยงามของส่อื คณิตฯ คิดสนุก 70 30 - - -

6 ความนา่ สนใจของสือ่ คณิตฯ คดิ สนกุ 30 70 - - -

7 มปี ระโยชนใ์ นด้านการส่งเสริมการคดิ 80 20 - - -

8 ประโยชนใ์ นการนาไปใช้ในการเรียนรู้ 90 10 - - -

รวม 530 270 - - -

เฉลย่ี รอ้ ยละ 66.25 33.75 - - -

เฉลย่ี รวม 100 - - -

จากตารางท่ี 1 สรุปไดว้ ่า สื่อคณิตฯ คดิ สนกุ มีคุณภาพในระดบั มากถึงมากท่ีสุดทกุ รายการ
พบวา่ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 และพบข้อเสนอแนะใหเ้ พ่มิ สีสันให้สดใสมากข้นึ อีก

นับว่าสอดคลอ้ งกบั สมมุตฐิ านข้อที่ 1 ไดแ้ ก่ สอื่ การเรียนรคู้ ณติ ศาสตรจ์ ากเศษวสั ดุทีไ่ ม่ใช้แลว้
มคี ุณภาพในระดับมาก

ผลการดาเนินงานตามวัตถปุ ระสงค์ข้อที่ 2
วัตถปุ ระสงค์ข้อที่ 2 ไดแ้ ก่ เพ่ือศกึ ษาความพงึ พอใจในการนาสอื่ การรเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ไปใช้
กับนักเรยี นในโรงเรียน
ผลการศึกษาความพงึ พอใจ
สมมุติฐานขอ้ ที่ 2 ความพงึ พอใจในการทาสอ่ื การเรียนรคู้ ณติ ศาสตรไ์ ปใช้กับนกั เรียนใน
โรงเรียนมคี ุณภาพในระดบั มาก
จากการนาสอ่ื การเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ สอ่ื คณิตฯ คดิ สนกุ ไปให้น้องๆ และนักเรียนไปใช้แล้วให้
ตอบแบบสอบถาม เพ่อื ประเมินความพึงพอใจในการใชส้ ่อื คณิตฯ คิดสนุกแสดงเปน็ กราฟได้ดังน้ี

กราฟท่ึ 1 แสดงคา่ เฉลี่ยความพึงพอใจต่อการใช้ส่อื การเรียนรู้คณติ ฯ คดิ สนุก จานวนนักเรียน 30 คน
ของนักเรยี นโรงเรยี นบา้ นท่าเรือ

กราฟแสดงคา่ เฉล่ียความพงึ พอใจต่อการใช้สื่อการเรยี นรคู้ ณติ ฯ คิดสนกุ
จานวนนกั เรียน 30 คน ของนักเรยี นโรงเรียนบา้ นทา่ เรอื

ร้อยละ 120
100
80 ลกู เตา๋ สอง เกมจิก๊ ซอว์ ตารางหมาก เกมบนั ไดงู
60 สหาย 100 ฮอส 93.73
40
20 80 92.33

0

ปฏทิ ินต้ังโตะ๊

ชุดข้อมลู 1 91.33

สือ่ การเรียนร้คู ณติ ฯ คดิ สนกุ

จากกราฟที่ 1 สรปุ ไดว้ า่ สือ่ คณิตฯ คดิ สนุก มีคุณภาพในระดบั มากถงึ มากทีส่ ุดทกุ รายการ

พบวา่ ส่ือการเรียนรูช้ ้ินที่ 1 ปฏิทินตงั้ โต๊ะ มีระดบั ความพงึ พอใจคดิ เป็นรอ้ ยละ 91.33 สือ่ การเรยี นรู้
ชิ้นท่ี 2 ลกู เตา๋ สองสหาย มรี ะดบั ความพงึ พอใจคิดเปน็ รอ้ ยละ 80 สือ่ การเรียนร้ชู ิ้นที่ 3 เกมจ๊ิกซอว์
มีระดบั ความพงึ พอใจคดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 สือ่ การเรยี นรูช้ นิ้ ที่ 4 ตารางหมากฮอส มีระดับความพงึ พอใจ
คิดเปน็ รอ้ ยละ 92.33 และส่ือการเรียนรู้ช้นิ ที่ 5 เกมบนั ไดงู มีระดบั ความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 93.73
ตามลาดับ นอกจากนี้พบวา่ มขี ้อเสนอแนะใหเ้ พิ่มสีสันให้สดใสมากข้ึน ให้เพิม่ ปรมิ าณของสื่อคณิตฯ คิด
สนกุ ใหม้ ีจานวนมากขนึ้ และทาใหม้ หี ลายชนิด นบั วา่ สอดคล้องกบั สมมุติฐานข้อที่ 2 ได้แก่ ความพึง
พอใจในการนาสอ่ื การเรยี นรคู้ ณิตศาสตรไ์ ปใชก้ บั นักเรียนในโรงเรยี นมีคณุ ภาพนระดับมาก

ตารางท่ี 3 แสดงผลรวมต่อความพงึ พอใจต่อการใชส้ ือ่ การเรยี นรู้ คณิตฯ คดิ สนุกทงั้ 5 ชนิ้

ช้ินท่ี สอ่ื การเรยี นรู้ ค่าเฉลีย่ ความพงึ พอใจของ
สือ่ คณิตฯ คิดสนกุ

1 ปฏิทนิ ตัง้ โต๊ะ 91.33

2 ลกู เต๋าสองสหาย 86

3 เกมจ๊ิกซอว์ 100

4 ตารางหมากฮอส 92.33

5 เกมบนั ไดงู 93.73

รวม 463.39

เฉล่ีย 92.68

จากตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ส่อื คณติ ฯ คิดสนกุ พบวา่ สอ่ื คณติ ฯ คิดสนกุ มรี ะดบั ความพึง

พอใจอยู่ในระดับมากถงึ มากท่ีสุดทกุ รายการ โดยที่สือ่ การเรียนรูช้ น้ิ ท่ี 3 เกมจกิ๊ ซอว์ มีระดับความพงึ

พอใจมากทสี่ ุด รองลงมาคอื สอื่ การเรยี นรู้ชิ้นที่ 5 เกมบนั ไดงู รองลงมาคือ ตารางหมากฮอส ปฏิทนิ ตงั้

โต๊ะและลกู เตา๋ สองสหาย ตามลาดับ นับวา่ สอดคล้องกับสมมุตฐิ านขอ้ ท่ี 2 คือ ความพึงพอใจในการนา

สื่อการเรยี นร้คู ณติ ศาสตรไ์ ปใชก้ ับนกั เรียนในโรงเรียนมีคุณภาพในระดับมากคิดเปน็ ร้อยละ 92.68

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
จากการผลิตสือ่ การเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ จากเศษวสั ดุทไี่ ม่ใช้แลว้ ได้ผลงานนกั เรยี นเปน็ ไปตาม
วตั ถุประสงคเ์ ปน็ สอื่ สาหรับเรียนรู้และบันเทิง 5 รายการ ดังน้ี
1. ปฏทิ ินต้งั โตะ๊
2. ลกู เตา๋ สองสหาย
3. เกมจกิ ซอว์
4. ตารางหมากฮอส
5. เกมบนั ไดงู
ผลการประเมนิ คุณภาพของสอ่ื โดยใชแ้ บบสอบถามความคิดเหน็ ของครูพบว่า มคี ุณภาพในระดับ
มากคดิ เปน็ ร้อยละ 100 โดยพบข้อเสนอแนะใหเ้ พิม่ สีสนั ใหส้ ดใสมากขึน้ อกี
ผลการศกึ ษาความพึงพอใจในการนาสือ่ การเรยี นร้ไู ปใช้กับนกั เรียน โดยการตอบแบบสอบถาม
เพือ่ ประเมนิ ความพึงพอใจในการใชส้ ือ่ คณิตฯ คดิ สนกุ พบว่าสอ่ื การเรยี นร้ชู น้ิ ที่ 1 ปฏิทินตง้ั โต๊ะ มรี ะดบั
ความพงึ พอใจคดิ เป็นรอ้ ยละ 91.33 สอื่ การเรยี นรชู้ นิ้ ท่ี 2 ลกู เต๋าสองสหาย มรี ะดับความพึงพอใจคดิ
เปน็ ร้อยละ 80 ส่อื การเรียนร้ชู ิน้ ที่ 3 เกมจ๊ิกซอว์ มีระดับความพงึ พอใจคิดเป็นรอ้ ยละ 100 สอื่ การ
เรียนรู้ช้ินท่ี 4 ตารางหมากฮอส มีระดบั ความพึงพอใจคดิ เปน็ ร้อยละ 92.33 และสอ่ื การเรียนรู้ชิ้นที่ 5
เกมบนั ไดงู มีระดบั ความพึงพอใจคดิ เปน็ ร้อยละ 93.73 ตามลาดบั และเมอ่ื นาส่อื การเรียนร้ทู งั้ 5 ชิน้
มาหาค่าเฉล่ยี นรวมพบวา่ ส่ือการเรียนรูท้ งั้ 5 ช้ิน มรี ะดับความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากถึงมากที่สุดคิด
เป็นรอ้ ยละ 92.68 นอกจากนพ้ี บวา่ มีขอ้ เสนอแนะให้เพิ่มสีสันให้สดใสมากข้ึน ให้เพ่มิ ปรมิ าณของสอ่ื
คณติ ฯ คดิ สนุก ให้มีจานวนมากข้ึนและทาใหม้ ีหลายชนิด
อภปิ รายผล
การผลิตและพฒั นาสื่อการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ จากเศษวัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว สอ่ื คณติ ฯ คิดสนุก เม่อื
นาไปให้น้องๆ ไดเ้ ล่น พบวา่ น้องๆ มคี วามพึงพอใจ เพราะสอ่ื คณิตฯ คิดสนุกได้ฝกึ คิด และเป็นตวั อยา่ งให้
นอ้ งนาไปทาตามที่บ้านได้ด้วยเน่อื งจากเปน็ ส่ือการเรยี นรู้ทส่ี รา้ งขึน้ ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
โดยการวเิ คราะห์ปัญหาและสาเหตุ พบว่า ปัญหาใหญใ่ นชมุ ชนปัจจุบนั ไดแ้ ก่ ขยะในโรงเรยี นและใน
ชุมชนมากมาย ก่อให้เกิดความรกรงุ รงั และสกปรก เป็นแหล่งเชอื โรค สน้ิ เปลอื งพลังงานในการทาลายและ
ก่อปัญหาภาวะโลกรอ้ น น่าจะชว่ ยลดขยะโดยการนาขยะกลบั มาใช้ใหม่ เพอื่ สง่ เสริมในการทาความดีโดย
การใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ ร่วมกนั คดิ แก้ปญั หา ส่งเสรมิ ความสามัคคี การชว่ ยเหลือแบ่งปันกันใน
โรงเรียน ช่วยลดปัญหาขยะ การลดเชื้อเพลงิ ในการทาลายชยะ ลดภาวะโลกร้อนได้อีกดว้ ย

ขอ้ เสนอแนะ
1. ควรมีการนาขยะประเภทอน่ื ๆ นาไปใชใ้ นการประดิษฐ์เกมคณิตศาสตรต์ ่างๆ ให้นักเรียนเล่น

เพ่อื ฝึกการคดิ
2. ค ว ร มี ก า ร น า ข ย ะ ป ร ะ เ ภ ท อ่ื น ๆ ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ สื่ อ ก า ร เ รีย น รู้ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ต่ า ง ๆ เช่น

วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย ให้นกั เรียนฝึกการคดิ การอ่าน และการเขียน

เอกสารอ้างอิง

กรมวิชาการ,กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. แนวการจดั การเรยี นรเู้ กษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง. กรงุ เทพฯ :
(2546)
กฤษมนั ต์ วฒั นาณรงค์. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. พิมพ์คร้ังท่ี 3.

กรงุ เทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. (2553)
เบรน โบลท์ และเดวดิ ออบส์. 101 โครงงานคณิตศาสตร์. กรงุ เทพฯ : ครุ ุสภาลาดพร้าว. (2540)
ยุพนิ พพิ ิธกุล. โครงงานคณติ ศาสตร์. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพแ์ ม็ค. (2550)