ทฤษฎ พฤต กรรมการเล อกซ อ ม อะไรบ าง

3. ครคู วรส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นคดิ อยา่ งอสิ ระ เพ่อื ชว่ ยส่งเสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องนกั เรยี น

4. ครคู วรสอนใหเ้ ดก็ เกดิ ความคดิ รวบยอด

5. ครคู วรสรา้ งแรงจงู ใจภายในใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั ผเู้ รยี น เพราะเป็นสง่ิ จา้ เป็นในการเรยี นรู้

  1. ทฤษฎีการเรยี นรอู้ ย่างมีความหมาย (Theory of Meaningful Verbal Learning)

ทฤษฎีกล่มุ พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) นกั จติ วทิ ยาทมี แี นวคดิ จดั อยใู่ นกลมุ่ น้ีเช่น ธอรน์ ไดท์ (Thorndike) พาฟลอฟ (Pavlov) สกนิ เนอร์ (Skinner) ฮลั ล์ (Hull) มคี วามเช่อื ว่า การเรยี นรจู้ ะเกดิ ขน้ึ เม่อื มี การสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหว่างสงิ่ เร้าและการตอบสนอง ซง่ึ สงิ่ แวดล้อม และประสบการณ์จะเป็นเง่อื นไข เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สดงพฤตกิ รรมอนั เน่ืองมาจากเป็นผลของการเรยี นรนู้ นั้ และการเรยี นรจู้ ะมคี วามถ่มี ากขน้ึ หากได้รบั การเสรมิ แรง ซ่ึงหลักการเรียนรู้ตามทฤษฎีน้ีดงั มีรายละเอียดใน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2543:38-59) ไดแ้ ก่

ก) การเรยี นรเู้ กดิ จากการกระทา้ และการสงั เกตจากผอู้ ่นื ซง่ึ มผี ลก่อใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมการ เรยี นรแู้ บบใหมๆ่

ข) การเสรมิ แรงเป็นสง่ิ ทจี า้ เป็นสาหรบั การเรยี นรทู้ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ และการเสรมิ แรงทางบวก ดกี ว่าการเสรมิ แรงทางลบ

ค) การปฏบิ ตั พิ รอ้ มการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั จะชว่ ยปรบั ปรงุ การเรยี นรู้

ง) การเรยี นรเู้ รมิ่ จากสง่ิ ทง่ี ่ายไปหาสง่ิ ทม่ี คี วามสลบั ซบั ซอ้ น และการเรยี นรู้ จากสว่ นยอ่ ยไป หาสว่ นใหญ่

จ) การเรยี นรคู้ วรเรม่ิ จากทลี ะเลก็ น้อย และเป็นตามลา้ ดบั ขนั้ ตอน

ฉ) การปฏบิ ตั ติ ามตอ้ งการหรอื ผลทไี ดร้ บั จากการเรยี นรู้ ควรมกี ารบอกกล่าว ไว้ลว่ งหน้า เชน่ การกาหนดไวเ้ ป็นจดุ ประสงค์

ช) การเรยี นรจู้ ะเกดิ ขน้ึ ไดเ้ น่อื งจากความใกลช้ ดิ ระหว่างสงิ่ เรา้ และการตอบ สนอง เช่น เมอ่ื ผสู้ อนแสดงบตั รคา้ แลว้ ใหผ้ เู้ รยี นอ่านบตั รคา้ นนั้ ทนั ที

ซ) การฝึกหดั หมายถงึ การทา้ พฤตกิ รรมตอบสนองต่อสงิ เรา้ ใดสงิ่ เรา้ หน่ึงซ้าๆ เพอ่ื ใหจ้ า้ ไดอ้ ยา่ งคงทน ซง่ึ ถอื ว่าเป็นเรอ่ื งทจี า้ เป็นในการเรยี นทกั ษะต่าง ๆ

ฌ) สภาพของแรงขบั (Drive) มคี วามสาคญั ในการเรยี นรู้ การจงู ใจทงั้ ทางกาย และจติ ใจมี ผลต่อการเรยี นรู้

ญ) ความขดั แยง้ และความคบั ขอ้ งใจจะเกดิ ขน้ึ ในกระบวนการเรยี นรเู้ มอ่ื ผู้ เรยี นประสบกบั ปัญหา อาจเป็นไดท้ งั้ อุปสรรคและแรงจงู ใจ

ฎ) ผลของการเรยี นรเู้ ป็นสง่ิ ทสี ามารถสงั เกตได้ หรอื วดั ได้ ตวั อยา่ งของการ จดั การเรยี น การสอนตามทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลุ่มพฤตกิ รรมนิยม เชน่ บทเรยี นสาเรจ็ รปู บทเรยี น โปรแกรมบทเรยี น คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เป็นตน้ ซง่ึ การจดั การเรยี นการสอนดงั กลา่ วมแี นวคดิ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั

ทฤษฎีกล่มุ มนุษยนิยม (Humanism) นักทฤษฎที มี แี นวคดิ จดั อยใู่ นกลุม่ น้ีเช่น มาสโลว์ (Maslow) รอเจอรส์ (Rogers) โนลส์ (Knowles) ซง่ึ มรี ายละเอยี ดระบไวใ้ นทศิ นา แขมมณี (2545:15) ดงั น้ี

  1. ทฤษฎีการเรยี นรขู้ องมาสโลว์ (Maslow)

มาสโลว์ (Maslow) กล่าวว่า กล่าวว่า มนุษยท์ ุกคนมคี วาม ตอ้ งการพน้ื ฐานตามธรรมชาตเิ ป็นลา้ ดบั ขนั้ ไดแ้ ก่ ขนั ความต้องการทางร่างกาย (Physical need) ขนั้ ความต้องการความมนั่ คง ปลอดภยั (Safety Need) ขนั้ ความต้องการการยอมรบั และการยกยอ่ ง จากสงั คม(Belonging Need) และขนั้ ความต้องการทจ่ี ะ พฒั นาศกั ยภาพของตนอย่างเต็มท่ี (Self Esteem)และต้องการท่จี ะรู้จกั ตนเอง และพฒั นาตนเองน้าไปสู่ ความเป็นมนุษยท์ ส่ี มบรู ณ์ (Self Actualization)

จากแนวคิดทฤษฎีตามท่ีกล่าวมา ซ่ึงจะน้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทิศนา แขม มณี(2545:19) ไดส้ รปุ การจดั การเรยี นการสอนตามทฤษฎดี งั กล่าว ควรมหี ลกั การ ดงั น้ีคอื ครคู วรสงั เกตว่า ผเู้ รยี นมคี วามตอ้ งการพน้ื ฐานอย่ใู นระดบั ใด และพยายามช่วยสนองความต้องการ ของเขา เพ่อื ช่วยใหเ้ ขา เกิดการเรียนรู้ได้ดี นอกจากนัน้ การให้อิสรภาพและเสรภี าพแก่ผู้เรยี นในการ เรียนรู้รวมทงั้ การจัด บรรยากาศทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรจู้ ะช่วยสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั ตนเองตามสภาพจรงิ

  1. ทฤษฎีการเรยี นร้ขู องรอเจอรส์ (Rogers)

รอเจอรส์ (Rogers) อธบิ ายว่า อธบิ ายว่า มนุษยส์ ามารถพฒั นาตนเองไดด้ ี หากอยใู่ นสภาพท่ผี ่อน คลายและเป็นอสิ ระบรรยากาศการเรยี นทผ่ี อ่ นคลายและ เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรทู้ ี ดี

จากแนวคิดทฤษฎีตามท่ีกล่าวมา ซ่ึงจะน้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทิศนา แขม มณ(ี 2545:19) ไดส้ รปุ การจดั การเรยี นการสอนตามทฤษฎดี งั กลา่ ว ควรมหี ลกั การ ดงั น้ี

1. ครูควรสรา้ งบรรยากาศทางการเรยี นรใู้ ห้ผูเ้ รยี นรู้สกึ ปลอดภยั ไม่น่ากลวั ท้าให้ผู้เรยี น รสู้ กึ ไวว้ างใจ

2. ครูควรสอนแบบช้แี นะ โดยให้ผู้เรยี นเป็นผู้น้าตนเองในการเรยี นรู้ เน่ืองจากผู้เรยี นมี ศกั ยภาพ และแรงจงู ใจทจี ะพฒั นาตนเองอยแู่ ลว้

  1. แนวคิดเกี่ยวกบั การเรยี นรขู้ องโนลส์ (Knowles)

โนลส์ (Knowles) กล่าวว่า การเรยี นรู้ ของมนุษยเ์ ป็นกระบวนการภายในทอ่ี ยใู่ นความควบคุมของ แต่ละคน ซ่งึ คนจะเรยี นรู้ได้ดเี ม่อื มอี สิ ระท่จี ะเรยี นในสงิ่ ทตี นต้องการด้วยวธิ กี ารท่ตี นพอใจ แต่ละคนมี เอกลกั ษณ์เฉพาะตนซง่ึ ควรไดร้ บั การส่งเสรมิ และควรไดร้ บั เสรภี าพทจี ะตดั สนิ ใจกระทา้ สงิ่ ต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง โดยทจ่ี ะตอ้ ง มคี วามรบั ผดิ ชอบในผลของการตดั สนิ ใจของตน

จากแนวคิดทฤษฎีตามทีกล่าวมา ซ่ึงจะน้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทิศนา แขม มณ(ี 2545:19) ไดส้ รปุ การจดั การเรยี นการสอนตามทฤษฎดี งั กล่าว ควรมหี ลกั การ ดงั น้ี

1. ครคู วรเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นมสี ่วนรว่ มรบั ผดิ ชอบในกระบวนการเรยี นรขู้ องตนและควร เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ลอื กสาระหรอื เรอ่ื งทจี ะเรยี นดว้ ยวธิ เี รยี นดว้ ยตนเอง

2. ครคู วรมคี วามเขา้ ใจและส่งเสรมิ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผเู้ รยี น

3. ครคู วรเปิดโอกาสและสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นตดั สนิ ใจดว้ ยตนเองและยอมรบั ผลของการ ตดั สนิ ใจหรอื การกระทา้ ของตน

ความสามารถทจ่ี ะผสมผสานกนั ออกมาทา้ ใหบ้ ุคคลแต่ละคนมแี บบแผนซง่ึ เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตน หากบุคคลไดร้ บั การสง่ เสรมิ ทเ่ี หมาะสม จะสามารถพฒั นาความสามารถทตี นมอี ยใู่ หเ้ ตม็ ศกั ยภาพไดเ้ ชาวน์ ปัญญา 8 ประการ ดงั กล่าวไดแ้ ก่

1. ดา้ นภาษา

2. ดา้ นคณติ ศาสตรห์ รอื การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะ

3. ดา้ นมติ ิ สมั พนั ธ์

4. ดา้ นดนตรี

5. ดา้ นการเคล่อื นไหวร่างกายและกลา้ มเน้อื

6. ดา้ นการสมั พนั ธก์ บั ผอู้ ่นื

7. ดา้ นการเขา้ ใจตนเอง

8. ดา้ นการเขา้ ใจธรรมชาติ เชาวน์ปัญญาแต่ละดา้ นไม่ได้ท้างานแยกจากกนั แต่มกั จะท้า งานในลกั ษณะผสมผสานกนั ไป เชาวน์ปัญญาทุกด้านได้รบั การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม ส่วนหน่งึ อกี ส่วนหน่งึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากบรบิ ททางสงั คมอนั ไดแ้ ก่ วฒั นธรรมและการศกึ ษา

การด์ เนอร์ (Gardner) อธบิ ายว่า เชาวน์ปัญญาของบคุ คลจะแสดงออกทางความสามารถ 3 ประการ ไดแ้ ก่

1. ความสามารถในการแก้ปัญหาในสภาพการณ์ทเ่ี ป็นไปตามธรรมชาตแิ ละตามบรบิ ททาง วฒั นธรรมของบุคคลนนั้

2. ความสามารถในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและสมั พนั ธ์ กบั บรบิ ททาง วฒั นธรรม

3. ความสามารถในการแสวงหาหรอื ตงั้ ปัญหาเพอ่ื หาคา้ ตอบและเพม่ิ พนู ความรู้

จากแนวคิดทฤษฎีตามทีกล่าวมา ซ่ึงจะน้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทิศนา แขม มณ(ี 2545:21-22 ไดส้ รปุ การจดั การเรยี นการสอนตามทฤษฎดี งั กล่าว ควรมหี ลกั การ ดงั น้ี

1. ครคู วรจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ หี ลากหลายทส่ี ามารถส่งเสรมิ เชาวน์ปัญญาหลายๆ ด้าน หรอื ทเี รยี กว่า Whole Brain Activities เพ่อื ให้ผู้เรยี นมโี อกาสทจี ะพฒั นาตนเองอย่างรอบดา้ นและ พฒั นาความสามารถเฉพาะตนใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ

2. ครูควรช่วยให้ผู้เรยี นค้นหาเอกลกั ษณ์เฉพาะตน ภาคภูมใิ จในเอกลกั ษณ์ของตนและ เคารพในเอกลกั ษณ์ของผอู้ ่นื รวมทงั้ เหน็ คุณค่าและเรยี นรทู้ ่จี ะใชค้ วามแตกต่างของแต่ละบุคคลให้ เกดิ ประโยชน์ต่อส่วนรวม

3. ครูควรจดั การเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั ระดบั เชาวน์ปัญญาในแต่ละด้านของผู้เรยี น เน่ืองจากผเู้ รยี นมรี ะดบั พฒั นาการในเชาวน์ปัญญาแต่ละดา้ นไม่เท่ากนั ครจู า้ เป็นต้องคา้ นึงถงึ ความ

แตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรยี นและจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกันส้าหรบั ผู้เรียน ท่ีมี ความสามารถแตกต่างกนั

4. ครคู วรวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ หค้ รอบคลุมทุกดา้ น และในการวดั ผลควรใหส้ มั พนั ธ์ กบั บรบิ ททแ่ี ทจ้ รงิ ของการใชค้ วามสามารถตามปกตใิ นดา้ นทจ่ี ดั นนั้

การเรียนร้ตู ามทฤษฎีของบลมู

การเรยี นรตู้ ามทฤษฎขี องบลมู (Bloom,1972: 186-238) ไดแ้ บง่ การเรยี นรเู้ ป็น 6 ระดบั ดงั น้ี คอื 1. ความรทู้ เ่ี กดิ จากความจา้ (Knowledge) ซง่ึ เป็นระดบั ล่างสุด 2. ความเขา้ ใจ (Comprehend) เขา้ ใจว่า คอื อะไร 3. การประยกุ ต์ (Application) ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทา้ งาน 4. การวเิ คราะห์ (Analysis) สามารถแกป้ ัญหา ตรวจสอบได้ 5. การสงั เคราะห์ (Synthesis) สามารถน้าส่วนต่าง ๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้

แตกต่างจากรปู เดมิ เน้นโครงสรา้ งใหม่ 6. การประเมนิ คา่ (Evaluation) วดั ไดแ้ ละตดั สนิ ไดว้ า่ อะไรถกู หรอื ผดิ ประกอบการตดั สนิ ใจ

บนพน้ื ฐานของเหตุผลและเกณฑท์ แ่ี น่ชดั จากความหมายดงั กล่าวสรุปไดว้ ่า การเรยี นรขู้ องบลูม (Bloom’s Taxonomy) เม่อื น้ามาวเิ คราะห์ พบว่า การเรยี นการสอนตอ้ งการใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ สามารถวเิ คราะห์และสงั เคราะห์ รวมทงั้ สามารถน้าไปประยกุ ตใ์ หเ้ กดิ รปู แบบใหมไ่ ด้ การเรยี นร้ตู ามทฤษฎีของไทเลอร์

การเรยี นรตู้ ามทฤษฎขี องไทเลอร์ (Tyler, 1949: 136) 27 ไดแ้ บ่งออกเป็น 3 สว่ น ดว้ ยกนั คอื

1. ความต่อเน่ือง (Continuity) หมายถึง ในวิชาทกั ษะต้องเปิดโอกาสให้มกี ารฝึกฝนใน กจิ กรรมและประสบการณ์บอ่ ย ๆ และต่อเน่อื ง

2. การจดั ช่วงลา้ ดบั (Sequence) หมายถงึ การจดั สง่ิ ทค่ี วามงา่ ยไปสสู่ ง่ิ ทม่ี คี วามยาก ดงั นนั้ การจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ใหม้ กี ารเรยี บลา้ ดบั ก่อนหลงั ใหไ้ ดเ้ รยี นเน้อื หาทล่ี กึ ซง้ึ ยงิ่ ขน้ึ

3. บูรณาการ (Integration) หมายถึง การจดั ประสบการณ์จึงควรเป็นในลกั ษณะท่ชี ่วย ผู้เรยี นได้เพมิ่ พูนความคดิ เหน็ และได้แสดงพฤตกิ รรมท่สี อดคลอ้ งกบั เน้ือหาท่เี รยี น เป็นการเพม่ิ ความสามารถทงั้ หมดของผูเ้ รยี นทจ่ี ะไดใ้ ชป้ ระสบการณ์ไดใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ กบั ประสบการณ์ การเรยี นรจู้ งึ เป็นแบบแผนของปฏสิ มั พนั ธ์ (Interaction) ระหวา่ งผเู้ รยี นกบั สถานการณ์แวดลอ้ ม

การเรยี นร้ตู ามทฤษฎีของกาเย่

กาเย่ (Gayne, Robert; & Briggs, 1979: 185-187) 28 ไดจ้ ดั การเรยี นรอู้ อกเป็น 8ขนั้ ตอนดว้ ยกนั คอื

1. การจงู ใจ (Motivation Phase) หมายถงึ การคาดหวงั ของผเู้ รยี นเป็นแรงจงู ใจในการ เรยี นรู้

2. การรบั รตู้ ามเป้าหมายทต่ี งั้ ไว้ (Apprehending Phase) หมายถงึ ผเู้ รยี นจะรบั รสู้ ง่ิ ท่ี สอดคลอ้ งกบั ความตงั้ ใจ

3. การปรงุ แต่งสง่ิ ทร่ี บั รไู้ วเ้ ป็นความจา้ (Acquisition Phase) เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความจาระยะสนั้ และระยะยาว

4. ความสามารถในการจา้ (Retention Phase)

5. ความสามารถในการระลกึ ถงึ สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรไู้ ปแลว้ (Recall Phase)

6. การน้าไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั สง่ิ ทเ่ี รยี นรไู้ ปแลว้ (Generalization Phase)

7. การแสดงออกพฤตกิ รรมทเ่ี รยี นรู้ (Performance Phase)

8. การแสดงผลการเรยี นรกู้ ลบั ไปยงั ผเู้ รยี น (Feedback Phase) ผเู้ รยี นไดร้ บั ผลเรว็ จะทาให้ มผี ลดแี ละประสทิ ธภิ าพสงู

การเรียนร้ตู ามทฤษฎีของเมเยอร์ (Mayor’s Tasonomy)

1. พฤตกิ รรม ควรชช้ี ดั และสงั เกตได้

2. เงอ่ื นไข คอื พฤตกิ รรมสา้ เรจ็ ได้ ควรมเี งอ่ื นไขในการชว่ ยเหลอื

3. มาตรฐาน คอื พฤตกิ รรมทไ่ี ดน้ นั้ อยใู่ นเกณฑก์ า้ หนด

ทฤษฎีการเรียนรขู้ องบรเู นอร์ (Bruner’s Taxonomy)

ทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ องบรเู นอร์ ไดก้ ล่าวไวว้ ่า

1. ความรถู้ ูกสรา้ งหรอื หลอ่ หลอมดว้ ยประสบการณ์

2. ผเู้ รยี นมบี ทบาทรบั ผดิ ชอบในการเรยี น

3. ผเู้ รยี นเป็นผสู้ รา้ งความหมายขน้ึ จากแง่มุมต่าง ๆ

4. ผเู้ รยี นอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มจรงิ

5. ผเู้ รยี นเลอื กเน้อื หาและกจิ กรรมเอง

6.เน้อื หาควรถกู สรา้ งในภาพรวม

จากความหมายดงั กลา่ ว สรปุ ไดว้ า่ การเรยี นรตู้ ามทฤษฎขี องเมเยอร์ (Mayor’s Tasonomy)และการ เรยี นรตู้ ามทฤษฎขี องบรเู นอร์ (Bruner’s Taxnomy) คอื การจดั ประสบการณ์ทเ่ี หมาะสมใหน้ กั เรยี นเพ่อื ให้ เกดิ การเรยี นรู้ หรอื เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมไปในทางทด่ี ขี น้ึ จงึ เป็นกระบวนการสา้ คญั ทจ่ี ะทา้ ใหเ้ กดิ การ เรยี นรู้ จงึ จะสามารถก่อใหเ้ กดิ ประสบการณ์ทม่ี คี วามหมายต่อการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

องคป์ ระกอบการเรยี นรู้

กาเย่ (Gayne, Robert M.,1985: 183-209) ไดจ้ ดั องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ทก่ี ่อใหเ้ กดิ การเรยี นรไู้ ดแ้ ก่

พฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย มีอะไรบ้าง

ด้านสังคม เริ่มเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ แต่มักจะเป็นเพศเดียวกันกับตนมากกว่า มักโกรธกันแต่ไม่นานเด็กก็จะกลับมาเล่นกันอีก รู้จักการให้อภัย การขอโทษ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย รู้จักเก็บของเล่น มีมารยาทในการอยู่ร่วมกัน

หลักในการเขียนจุดมุ่งหมายของการวิจัยมีอะไรบ้าง

ข้อสำคัญ วัตถุประสงค์การวิจัย ไม่ใช่ประโยชน์ของการวิจัย หลักการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย มีดังนี้ 1. ต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหาและชื่อเรื่อง 2. ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการศึกษาและตัวแปร 3. ต้องระบุสิ่งที่ต้องการศึกษา ตัวแปร กลุ่มที่ศึกษา (ทำอะไร กับใคร อย่างไร ) สามารถกำหนดรูปแบบการวิจัยได้ ตั้งสมมุติฐานได้

วิจัยแต่ละบทมีอะไรบ้าง

หัวข้อ เอกสารวิจัย 5 บท ให้จัดทําโดยแบ่งเป็น 5 บท บท ดังนี้ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคมีอะไรบ้าง

ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค (Personal factors influencing consumer behavior) ซึ่งการตัดสินใจของผู้บริโภคที่ได้รับอิทธิพลจากลักษณะส่วนบุคคลทางด้าน ต่างๆ ได้แก่ อายุ วงจรชีวิตครอบครัว อาชีพ โอกาสทางเศรษฐกิจ การศึกษา ค่านิยมหรือคุณค่าและ รูปแบบการด ารงชีวิต ดังนี้