การจ ดการส ขภาพในระบบหล กประก นส ขภาพของโรงพยาบาลส งเสร มส ขภาพตำบลมะขามล ม

การจ ดการส ขภาพในระบบหล กประก นส ขภาพของโรงพยาบาลส งเสร มส ขภาพตำบลมะขามล ม

คลังความรู้ ครูนรินทร์ธร พัฒนไชยการ Download

  • Publications :0
  • Followers :0

แผนพัฒนาการศึกษา ปี2563-2567 กศน.อ.บางปลาม้า

แผนพัฒนาการศึกษา ปี2563-2567 กศน.อ.บางปลาม้า

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

แผนพัฒนาการศึกษา ปี2563-2567 กศน.อ.บางปลาม้า

รพ.สต.ดอนคา รพ.สต.บางกงุ รพ.สต.บา นอยู า (ใหม) โรงรพพย.าศบุภามลิตเจรา พระรยพา.ยสมตร.บาาชนดอนกลาง

รพ.สต.โคกโคเฒา รพ.สต.ร้วั ใหญ รพ.พรชัยรพ.สต.ไผขวาง รพ.สต.บานดอนขนุ ราม รพ.สต.บา นโปงพรานอนิ ทร รพ.สต.บานตนี เปด

รพ.สต.ศาลาขาว รพ.สต.ดอนกำยาน รพ.สต.ทับตีเหลก็ รพ.สต.ทา ระหัด

รพ.สต.หนองโอง รพ.สต.สวนแตง รพ.สต.ดอนโพธทิ์ อง สสอ.บางปลามา รพ.สต.จรเขใ หญ รพ.สต.บา นสงั ฆจายเถร รพ.สต.บา นหว ยหนิ

รพ.สต.อทู อง (บานโคก) รพ.สต.บานกระจัน รพ.สต.บางปลามา โรงพยาบาลบางปลามา รพ.สต.บานสามัคคีธรรม รพ.วภิ าวดี-ปย ราษฎร รพ.ธนบุรีอูท อง รพ.สต.วงั น้ำเย็น รพ.สต.มะขามลม รพ.สต.ตะคา

โรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทวั่ ไป สสอ.อทู อง รพ.สต.เจดยี  รพ.สต.องครกั ษ โรงพยาบาลชมุ ชน โรงพยาบาลอทู อง รพ.สต.บานหนองชะโด โรงพยาบาลเอกชน รพ.สต.บา นไผล กู นก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ รพ.สต.บานดอนขาด รพ.สต.วัดโบสถ รพ.สต.วดั ดาว รพ.สต.บานแหลม รพ.สต.ไผกองดนิ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล รพ.สต.กฤษณา รพ.สต.สาลี ถนน รพ.สต.จรเขสามพนั รพ.สต.ยุงทะลาย รพ.สต.บางใหญ แมน้ำ รพ.สต.บา นวงั หลุมพอง รพ.สต.บานดอน รพ.สต.บา นดอนกระเบื้อง

รพ.สต.บานทา ไชย

รพ.สต.สระยายโสม รพ.สต.หวั โพธ์ิ รพ.สต.บานกมุ รพ.สต.บานเสาธงทอง รพ.สต.บา นชาง รพ.สต.บานราษฎรบูรณะ รพ.สต.สระพงั ลาน รพ.สต.ดอนมะเกลือ

รพ.สต.บานบอ ปน รพ.สต.บานหนองขาวงาย รพ.สต.บางพลบั

รพ.สต.บานข่ือชนก โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองคท่ี17 รพ.สต.บา นบางสะแก รพ.สต.บา นยานซื่อ

รพ.สต.หนองบอ รพ.สต.หนองกระทู รพ.สต.ศรีสำราญ รพ.สต.ตน ตาล รพ.สต.บางตะเคียน รพ.สต.บานหนองเฝา รพ.สต.บา นลองตอง สสอ.สองพี่นอ ง รพ.สต.บานบางเกลด็ รพ.สต.บางตาเถร รพ.สต.เนินพระปรางค

รพ.สต.ดอนมะนาว รพ.สต.บางเลน รพ.สต.บานไผโ รงววั

รพ.สต.ทงุ คอก

รพ.สต.บา นหัววัง

รพ.สต.เฉลมิ พระเกยี รติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (บอ สุพรรณ)

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 1

วสิ ัยทัศน์ : เปน็ หนว่ ยงานหลักในการกำหนดทศิ ทาง กำกับ ดูแล ขบั เคลื่อนนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข

สู่การปฏิบัติ เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี โดย “สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นองค์กรบริหาร จัดการสุขภาพทีด่ ี ภาคเี ป็นเลิศ ระบบข้อมลู ทนั สมัย ใส่ใจเจ้าหนา้ ท่ี คนสพุ รรณบรุ ีมีสุขภาวะ”

พันธกิจ : พัฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ ตลอดจนจัดสรรทรัพยากร และบริหารจัดการ

เพ่ือให้บรรลุเปา้ หมาย และเกิดผลสมั ฤทธ์ิตามภารกจิ ของกระทรวงสาธารณสขุ ดงั นี้ 1. บริหารจัดการ ระบบบรหิ าร บรกิ าร ด้านสขุ ภาพ 2. บูรณาการภาคีเครือข่ายและสร้างความเข้มแขง็ สคู่ วามเป็นเลศิ 3. พฒั นาระบบข้อมลู สขุ ภาพใหม้ ีความทนั สมยั เอ้ือตอ่ การปฏบิ ัตงิ าน และการเข้าถึงของประชาชน 4. สร้างเสริมความสุขใหแ้ ก่บุคลากรอยา่ งย่ังยนื

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์

1. ยกระดับการบรหิ ารจัดการ ระบบบรหิ าร และบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพส่คู วามเป็นเลิศ 2. เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ และความเป็นเลิศของภาคเี ครือข่ายด้านสุขภาพ 3. พฒั นาบคุ ลากรและระบบขอ้ มูลใหเ้ อือ้ ต่อการปฏิบตั ิงาน

เป้าประสงค์

1. บริหารจัดการ ระบบบริหาร และบรกิ ารดา้ นสุขภาพ 1.1 ระบบบรหิ ารจัดการมธี รรมาภิบาล และเออื้ ต่อการปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 1.2 ระบบบริการมีคุณภาพ ครอบคลุมและเขา้ ถงึ ได้ 1.3 ประชาชนมสี ุขภาพดีเหมาะสมตามวยั

2.บรู ณาการภาคีเครอื ขา่ ยและสร้างความเข้มแขง็ สคู่ วามเป็นเลิศ 2.1 ภาคีเครอื ข่ายมีประสทิ ธภิ าพและผลงานสงู

3.พฒั นาระบบข้อมูลสุขภาพให้มีความทันสมัย เออ้ื ตอ่ การปฏบิ ัติงานและ การเขา้ ถึงของประชาชน 3.1 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพมีประสิทธิภาพ (ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย ทันเวลา

เชื่อมโยง เขา้ ถงึ งา่ ย) 4.สรา้ งเสริมความสุขใหแ้ ก่บุคลากรอย่างยงั่ ยนื 4.1 บุคลากรมคี วามรู้ มคี ุณค่า มคี วามกา้ วหน้า และมีความสขุ

2 รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี

ค่านิยมองค์กรของสำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี “MOPH SUPHAN” M : Mastery - เปน็ นายตนเอง O : Originality - เรง่ สร้างสิ่งใหม่ P : People centered - ใสใ่ จประชาชน H : Humility - ถ่อมตนอ่อนน้อม S : Service mind - มีจิตบริการ U : Unity - สามคั คีเป็นหน่งึ เดียว P : People center - ประชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง H : Honesty - ซ่อื สัตย์ สุจรติ A : Appreciation - ชนื่ ชมในความสำเร็จ N : Network - ทำงานเป็นเครอื ขา่ ย

กลยทุ ธ์

1.จัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการปฏิรูประบบสุขภาพให้ครอบคลุมทุกด้านรวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพ การใชร้ ะบบตดิ ตามประเมินผลเพ่ือพัฒนาระบบสขุ ภาพจงั หวัด

2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มมาตรการเชิงรุกให้กับกลุ่มที่เข้า ไม่ถึงบริการ

3.ประสานงานภาคีเครือข่ายในการบูรณาการแผน การกำกับติดตาม และเพิ่มศักยภาพของภาคี เครือขา่ ยในการดูแลสุขภาพประชาชน

4.พัฒนาศักยภาพบุคลากรสู่การปฏิบัติ รวมทั้งเพิ่มมาตรการสร้างแรงจูงใจ และความก้าวหน้าของ บุคลากรให้สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์

5.พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อตอบสนองความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ให้บริการและผู้รับบริการผ่าน ช่องทางที่ทันสมัยและหลากหลาย (ชุดข้อมูลที่จำเป็น, เพิ่มโอกาสการเข้าถึงข้อมูล, ลดความซ้ำซ้อนของรายงาน/ โปรแกรม)

6.พฒั นาระบบการควบคุม การป้องกัน การจัดบรกิ าร และการบริหารจดั การโรคอบุ ัติใหม่อุบตั ซิ ำ้

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี 3

สรุปปัญหาสาธารณสุข ปงี บประมาณ 2565 จำแนกตาม 4 Excellence ดงั น้ี PP&P Excellence

1. โรคจากความเสอ่ื มและปญั หาการดแู ลในผสู้ ูงอายุ 2. ปญั หาวยั รุ่น (ท้องก่อนวัย, ยาเสพติด, บุหร่ี, สุรา) 3. ANC คณุ ภาพยงั ไมค่ รอบคลมุ 4. โรคไข้เลอื ดออก และ COVID-19 5. สงู ดีสมสว่ นในวัยเรียน ฟนั ไม่ผุ 6. ปญั หาสุขภาพจติ (ซมึ เศร้า/จิตเวช/ฆา่ ตัวตาย) 7. โรคเรอื้ รงั การควบคุม DM HT 8. การดูแลกลมุ่ เปราะบาง (ผู้สงู อายุ ผพู้ ิการ ติดบา้ น ติดเตียง) Service Excellence การเข้าถึงบริการ 5 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1. Stroke 2. STEMI 3. อบุ ตั เิ หตุ 4. septic shock 5. COVID-19 People Excellence 1. ความเพยี งพอของบุคลากร (people) 2. ความสุขของบุคลากร เช่น ความก้าวหนา้ career path ความเหล่อื มล้ำในการทำงานระหวา่ ง วชิ าชีพ, การคงอย่ขู องบุคลากร/ความผกู พัน (people) Governance Excellence 1. การพัฒนาคุณภาพระบบข้อมูล (Governance) โดยมกี ารจัดทำฐานข้อมูลกล่มุ เปราะบาง ผู้พิการ ผปู้ ว่ ยตดิ บ้านติดเตียง ของจังหวดั สพุ รรณบุรี เพื่อให้เป็นข้อมลู เบอื้ งต้นในการวางแผนการดำเนินงาน และการ กำกับตดิ ตามการบนั ทกึ ผลงานให้ครบถ้วน ถูกตอ้ ง และทันเวลา 2. ระบบธรรมาภิบาลของหนว่ ยงาน คุณธรรมและความโปรง่ ใส (Governance) ประกอบด้วย 1. การควบคมุ ภายใน 2. การตรวจสอบภายใน 3. การบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง 4. ITA

4 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี

โครงสรา้ งการบริหารงานสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี

นายแพทยส์ าธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี (นายแพทย์วรงค์ รุ่งเรอื ง)

นายแพทย์เชย่ี วชาญ นกั วชิ าการสาธารณสขุ เชีย่ วชาญ นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญ นายเฉลิมพล กาละพงษ์ นายคำรณ ครึ้นนำ้ ใจ (ด้านเวชกรรมป้องกนั ) (ด้านส่งเสริมพฒั นา) การพเิ ศษ(ด้านบรกิ ารทาง นักวิชาการสาธารณสขุ นกั วิชาการสาธารณสขุ (นายแพทย์รัฐพล เวทสรณสุธี) วชิ าการ) (นางสาวเพ็ชรนอ้ ย ศรีผดุ ผ่อง) (นายมนูญ ศนู ย์สิทธิ)์ ชำนาญการพเิ ศษ ชำนาญการพิเศษ

-กลุ่มงานพฒั นายทุ ธศาสตร์ -กลุ่มงานส่งเสรมิ สุขภาพ -กลุม่ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ -กลมุ่ งานบรหิ ารท่วั ไป - กลุม่ งานการแพทยแ์ ผน สาธารณสขุ -กล่มุ งานพฒั นาคณุ ภาพและ สุขภาพจติ และยาเสพติด -กลมุ่ งานประกนั สขุ ภาพ ไทยและการแพทย์ทางเลอื ก -กลมุ่ งานบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล รูปแบบบรกิ าร -กลมุ่ งานคุ้มครองผ้บู ริโภค -กลมุ่ งานควบคุมโรคตดิ ต่อ -กลุ่มงานอนามยั สิง่ แวดล้อมและ และเภสชั สาธารณสุข -กลมุ่ กฎหมาย อาชีวอนามัย -กล่มุ งานทนั ตสาธารณสขุ

- คปสอ.เมืองสพุ รรณบุรี - คปสอ.สามชกุ - คปสอ.อทู่ อง - คปสอ..ด่านชา้ ง - คปสอ.สองพี่น้อง - คปสอ.บางปลามา้ - คปสอ.ดอนเจดยี ์ - คปสอ.เดิมบางนางบวช - คปสอ.หนองหญา้ ไซ - คปสอ.ศรปี ระจันต์

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี 5

จังหวัดสุพรรณบรุ ี เป็นจังหวัดหนึง่ ในเขตภาคกลางด้านทศิ ตะวันตกของประเทศไทย ตง้ั อยู่ บนพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำท่าจีนหรือแม่น้ำสุพรรณบุรีไหลผ่านตามแนวยาวของจังหวัดจากเหนือจรดใต้ จังหวัด สุพรรณบุรี ตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 14 องศา 4 ลิปดา ถึง 15 องศา 5 ลิปดาเหนือ และระหว่างเส้นแวง 99 องศา 17 ลิปดา ถึง 100 องศา 16 ลิปดาตะวันออก อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 3-10 เมตร มีพื้นที่ ท้งั หมดประมาณ 5,358.01 ตารางกโิ ลเมตร หรือ ประมาณ 3.3 ลา้ นไร่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.2 ของพื้นที่ภาคกลาง อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 107 กิโลเมตร (ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340) โดยทางรถไฟ ประมาณ 142 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอ่ กับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้

ทศิ เหนือ ติดจงั หวัดอุทยั ธานี และจังหวดั ชยั นาท ทศิ ตะวนั ออก ติดจงั หวัดสงิ หบ์ ุรี จังหวดั อ่างทอง และจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ทศิ ใต้ ติดจังหวดั นครปฐม และจังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวนั ตก ตดิ จงั หวดั กาญจนบรุ ี และจงั หวดั อุทยั ธานี

อทุ ัยธานี

อทุ ยั ธานี ชัยนาท สงิ หบ์ ุรี

ทิศเหนือ อ่างทอง

กาญจนบรุ ี อยุธยา ปทุมธานี นครปฐม

แผนที่จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

6 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี

การปกครอง จังหวัดสุพรรณบรุ ี แบง่ ส่วนราชการออกเป็น 2 ส่วน คือ การบรหิ ารราชการส่วน

ภูมิภาคและการบริหารราชการส่วนทอ้ งถิ่น

1. การบริหารราชการสว่ นภูมิภาค แบง่ เขตการปกครองออกเป็น 10 อำเภอ 110 ตำบล 258 ชุมชน

และ 1,008 หมบู่ ้าน โดยมีอำเภอ ดงั น้ี

1. อำเภอเมืองสพุ รรณบรุ ี 2. อำเภอเดิมบางนางบวช

3. อำเภอดา่ นชา้ ง 4. อำเภอบางปลาม้า

5. อำเภอศรปี ระจันต์ 6. อำเภอดอนเจดีย์

7. อำเภอสองพี่น้อง 8. อำเภอสามชุก

9. อำเภออู่ทอง 10. อำเภอหนองหญา้ ไซ

2. การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง

เทศบาลตำบล 44 แหง่ และองค์การบรหิ ารส่วนตำบล 80 แห่ง (ตารางที่ 1)

ตารางท่ี 1 เขตการปกครองจังหวดั สพุ รรณบุรี จำแนกรายอำเภอ

เทศบาล จำนวนชมุ ชน/หม่บู า้ นตาม

อำเภอ ตำบล เมือง ตำบล อบต. เขตการปกครอง(มหาดไทย)

เมอื งสุพรรณบรุ ี ชุมชน หมูบ่ า้ น เดิมบางนางบวช ด่านช้าง 20 18 13 72 124 บางปลามา้ ศรีประจนั ต์ 14 -8 8 42 121 ดอนเจดยี ์ สองพีน่ อ้ ง 7 -1 7 5 93 สามชกุ อทู่ อง 14 -7 11 30 127 หนองหญ้าไซ 9 -6 4 24 64 รวม 5 -2 5 8 50

15 11 14 25 140

7 -1 6 20 68

13 -9 6 30 155

6 -1 6 2 66

110 2 44 80 258 1,008

ท่มี า : 1) ทท่ี ำการปกครองจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ขอ้ มูล ตำบล หมบู่ า้ น ชมุ ชน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564

  1. สำนักงานสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น 035-536044 ข้อมูลเทศบาลและ อบต. ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี 7

ประชากรจงั หวดั สพุ รรณบุรี ในระบบทะเบยี นราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย (ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม

  1. มีจำนวนทัง้ สนิ้ 835,360 คน จำแนกเป็นชาย 402,883 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 48.23 และหญงิ 432,477 คน คดิ เป็นร้อยละ 51.77 อตั ราส่วนเพศชายตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั 1:1.07 อำเภอทีม่ ีสัดส่วนประชากรมากทส่ี ุด 3 ลำดับแรก คอื อำเภอเมืองสุพรรณบรุ ี รองลงมาคืออำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง ความหนาแน่นของ ประชากรในภาพรวมท้ังจังหวัด เท่ากับ 156 คนตอ่ ตารางกิโลเมตร (พ้ืนท่ีจังหวัดสพุ รรณบุรีมที ั้งหมด 5,358.01 ตารางกิโลเมตร) มีจำนวนหลงั คาเรอื นรวมทงั้ ส้นิ 311,136 หลงั คาเรือน (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 จำนวนประชากรในทะเบยี นราษฎร์และหลังคาเรือน กระทรวงมหาดไทย รายอำเภอ

จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2564

อำเภอ ชาย หญงิ รวม รอ้ ยละ อตั ราส่วน หลงั คาเรอื น ชาย:หญิง 65,810 เมือง 78,384 87,875 166,709 19.95 1.11 27,726 เดิมบางนางบวช 33,911 36,870 70,781 8.47 1.09 27,175 ดา่ นช้าง 33,297 34,362 67,659 8.10 1.03 26,408 บางปลาม้า 36,828 39,045 75,873 9.08 1.06 23,475 ศรีประจันต์ 29,099 31,969 61,068 7.31 1.10 17,062 ดอนเจดยี ์ 22,174 23,502 45,676 5.47 1.06 42,789 สองพ่ีน้อง 61,366 64,540 125,906 15.07 1.05 21,783 สามชกุ 25,069 27,394 52,463 6.28 1.09 41,210 อทู่ อง 58,520 61,961 120,436 14.42 1.06 17,698 หนองหญา้ ไซ 23,785 25,004 48,789 5.84 1.05 311,136 รวม 402,883 432,477 835,360 100 1.07

ท่ีมา : 1. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564 2. ขอ้ มูลจำนวนหลงั คาเรอื น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564

8 รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี

โครงสรา้ งประชากรตามกล่มุ อายแุ ละแพศ

กลุ่มอายุ (ปี ) % ชาย % หญิง กลุ่มอายุ (ปี ) % ชาย % หญิง กลุ่มอายุ (ปี ) % ชาย % หญิง

100 ปีขนึ้ ไป 0.62 0.03 0.86 100 ปีขนึ้ ไป 0.01 0.02 100 ปีขนึ้ ไป 0.02 0.03 0.06 0.04 90-94 0.02 0.03 0.04 0.08 90-94 0.16 0.12 80-84 0.06 0.12 90-94 0.15 0.33 70-74 0.19 0.35 0.41 0.29 80-84 0.61 0.28 60-64 0.48 0.781.24 80-84 0.78 0.69 1.01 0.51 50-54 0.88 1.70 1.04 1.20 70-74 1.45 0.88 40-44 1.28 1.83 70-74 1.70 1.47 1.78 1.32 30-34 1.47 2.54 2.19 2.30 60-64 1.77 1.73 20-24 2.06 3.26 60-64 3.00 2.70 2.50 2.06 10-14 2.78 3.91 3.63 3.69 50-54 3.19 2.05 00-04 3.36 4.41 50-54 3.55 4.23 3.90 2.85 3.95 4.11 3.61 3.97 40-44 4.36 3.52 3.83 3.90 40-44 3.78 3.77 4.23 4.34 3.86 3.97 3.65 3.78 30-34 4.26 4.61 4.03 3.84 30-34 3.50 3.64 4.13 4.38 3.87 3.46 3.51 3.36 20-24 4.01 4.29 3.45 3.46 20-24 2.98 3.40 3.84 4.19 3.68 3.03 3.00 3.03 10-14 3.74 3.86 3.21 2.84 10-14 2.93 2.83 2.58 3.56 3.01 2.79 2.66 2.79 00-04 3.55 2.92 00-04 2.10 2.51 2.43 2.01

54321012345 6 54321012345 54321012345

ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

แผนภูมิท่ี 1 ปิรามดิ ประชากร จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ.2545 แผนภูมิที่ 2 ปริ ามิดประชากร จังหวดั สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2555 แผนภูมิที่ 3 ปริ ามดิ ประชากร จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2565 ทม่ี า : ขอ้ มลู จากกรมการปกครอง ณ 31 มกราคม 2545 ทม่ี า : ข้อมูลจากกรมการปกครอง ณ 31 ธันวาคม 2554 ทม่ี า : ขอ้ มลู จากกรมการปกครอง ณ 31 ธันวาคม 2564

เมื่อพิจารณาโครงสรา้ งประชากรตามกลุ่มอายุและเพศของประชากรจงั หวดั สุพรรณบุรีในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ.2545–2565) พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงทาง โครงสร้างกลุ่มอายุท่ีชัดเจน กล่าวคือ สัดส่วนของประชากรวัยเด็ก (0-14 ปี) ลดลง ในขณะเดียวกันสัดส่วนประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีข้ึนไป) เพ่ิมมากข้ึน (แผนภูมิ ที่ 1-3) เมื่อพิจารณาจากจำนวนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 181,982 คน คิดเป็นร้อยละ 21.78 ของประชากรทั้งหมด (หมายเหตุ:จำนวนประชากรทั้งหมด 835,360 คน ข้อมูลจากกรมการปกครอง ณ เดือนธันวาคม 2564 จำนวนประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป จำนวน 126,096 คน คิดเป็นร้อยละ 15.09 ของประชากรทั้งหมด) น่นั หมายถงึ จงั หวดั สุพรรณบุรีเป็นสังคมผู้สงู อายุโดยสมบูรณ์

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 9

ข้อมลู ทรพั ยากรสาธารณสุข จำนวน 1 แหง่ จำนวน 1 แหง่ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐ จำนวน 1 แหง่ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี มีสถานบริการสาธารณสุขของรฐั บาล ดังนี้ จำนวน 2 แห่ง จำนวน 5 แหง่ โรงพยาบาล ระดบั A โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช โรงพยาบาล ระดบั M1 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองค์ท่ี 17 จำนวน 174 แหง่ โรงพยาบาล ระดับ M2 โรงพยาบาลอทู่ อง จำนวน 8 แหง่ โรงพยาบาล ระดบั F1 โรงพยาบาลด่านช้าง, เดิมบางนางบวช จำนวน 166 แหง่ โรงพยาบาล ระดบั F2 โรงพยาบาลสามชกุ , ศรีประจันต์, ดอนเจดีย,์ จำนวน 3 แห่ง

บางปลาม้า, หนองหญา้ ไซ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลขนาดใหญ่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดทว่ั ไป ศูนย์บรกิ ารสาธารณสุขของเทศบาล

ตารางที่ 3 จำนวนสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐบาล จำแนกรายอำเภอ จังหวดั สพุ รรณบุรี

โรงพยาบาล โรงพยาบาล หน่วย เครอื ขา่ ย

อำเภอ ประเภท/แหง่ จำนวน จำนวนเตียง สง่ เสรมิ สขุ ภาพ บรกิ าร หน่วย

เมืองฯ เตยี งจริง ตามกรอบ ตำบล ปฐมภมู ิ บรกิ ารปฐม เดมิ บางฯ ดา่ นชา้ ง รพ. ระดบั A 1 แห่ง 706 706 29 (หน4่วย) ภ5มู ิ บางปลามา้ รพ. ระดบั F1 1 แหง่ 109 109 20 1 (หน2่วย) ศรปี ระจนั ต์ รพ. ระดบั F1 1 แหง่ 106 106 16 1 ดอนเจดยี ์ รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 60 17 - 4- สองพีน่ ้อง รพ. ระดับ F2 1 แหง่ 60 60 14 - 4 สามชุก รพ. ระดบั F2 1 แห่ง 60 60 9 1 4 อู่ทอง รพ. ระดบั M1 1 แห่ง 262 262 25 2 1 หนองหญ้าไซ รพ. ระดับ F2 1 แหง่ 60 60 13 - 4 รพ. ระดับ M2 1 แห่ง 142 142 22 - 2 รวม รพ. ระดบั F2 1 แหง่ 60 60 9 1 6 1,625 1,625 174 10 1 10 33

ท่ีมา : 1. ข้อมลู หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภมู ิ กลมุ่ งานพัฒนาคณุ ภาพและรูปแบบบรกิ าร สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี (ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564)

10 รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี

สถานพยาบาลในจงั หวัดสุพรรณบรุ ี จำนวน 305 แหง่ จำนวน 95 แหง่ • สถานพยาบาลประเภททไ่ี ม่รับผ้ปู ่วยไวค้ า้ งคนื จำนวน 17 แหง่ o คลินกิ เวชกรรม จำนวน 35 แหง่ o คลนิ ิกเวชกรรมเฉพาะทาง (คลินิกแพทย์) จำนวน 112 แหง่ o คลนิ ิกทันตกรรม จำนวน 1 แห่ง o คลนิ กิ การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ จำนวน 9 แห่ง o คลินกิ ารผดุงครรภ์ จำนวน 11 แห่ง o คลินิกเทคนิคการแพทย์ จำนวน 1 แห่ง o คลินิกการแพทย์แผนไทย จำนวน 12 แห่ง o คลนิ กิ การแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ จำนวน 6 แห่ง o สหคลนิ กิ จำนวน 4 แห่ง o คลนิ กิ กายภาพบำบัด จำนวน 72 แหง่ • สถานพยาบาลประเภทท่ีรบั ผูป้ ่วยไว้ค้างคืน จำนวน 1 แห่ง จำนวน 75 แห่ง สถานประกอบการในจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 1 แห่ง จำนวน 232 แห่ง • สถานประกอบการเพอื่ สุขภาพ จำนวน 156 แห่ง o สปาเพอ่ื สขุ ภาพ จำนวน 59 แห่ง o นวดเพอื่ สขุ ภาพ จำนวน 17 แห่ง o นวดเพ่ือเสริมความงาม

• สถานประกอบการดา้ นยา o ร้านขายยาแผนปจั จุบนั (ขย.1) o ร้านขายยาแผนปัจจบุ ันบรรจเุ สร็จ (ขย.2) o รา้ นขายยาแผนปจั จบุ ันบรรจุเสรจ็ สำหรับสตั ว์ (ขย.3)

• สถานประกอบการดา้ นผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร จำนวน 51 แหง่ o ใบอนญุ าตขายผลิตภณั ฑ์สมนุ ไพร (ขสม) o ใบอนุญาตผลติ สมุนไพร (ผสม) จำนวน 41 แหง่ จำนวน 10 แหง่

ท่ีมา : กล่มุ งานค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ณ วันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ.2564

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 11

ตารางที่ 4 เจา้ หน้าทที่ างการแพทยข์ องรัฐบาล (จำแนกรายอำเภอ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2564)

เจ้าหน้าทที่ างการแพทย์ของรฐั บาล ประชากรต่อเจ้าหน้าท่ีทางการแพทยท์ ั้งหมด

Medical personnels in the Government Population per total medical personnel อำเภอ

แพทย์ ทันต เภสัชกร พยาบาล พยาบาล แพทย์ ทนั ต เภสชั กร พยาบาล พยาบาล

แพทย์ เทคนคิ แพทย์ เทคนคิ

เมอื ง 132 20 38 706 1 1,263 8,335 4,387 236 166,709 0 5,445 10,112 7,865 753 0 เดมิ บางฯ 13 7 9 94 0 5,638 7,518 7,518 698 0 0 8,430 10,839 10,839 11,150 0 ด่านช้าง 12 9 9 97 0 6,785 10,178 8,724 985 0 1 4,152 7,613 6,525 692 45,676 บางปลามา้ 9 7 7 66 0 2,928 9,685 5,996 527 0 0 6,558 8,744 7,495 860 0 ศรปี ระจันต์ 9 6 7 62 0 5,236 13,382 7,084 899 0 0 6,970 9,758 9,758 1,016 0 ดอนเจดยี ์ 11 6 7 66 2 3,129 9,493 6,578 531 417,680

สองพ่นี ้อง 43 13 21 239

สามชุก 8 6 7 61

อู่ทอง 23 9 17 134

หนองหญา้ ไซ 7 5 5 48

รวม 267 88 127 1,573

ทม่ี า : กลุ่มงานบริหารบคุ คล สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี (ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564)

ตารางที่ 5 จำนวนอาสาสมคั รสาธารณสุข (จำแนกรายอำเภอ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2564)

อำเภอ จำนวน อสม. (คน) อตั ราส่วน อสม./ประชากร อัตราส่วน อสม./หลังคาเรือน เมืองสุพรรณบุรี 2,437 1:68 1:27 เดมิ บางนางบวช 1,738 1:41 1:16 ด่านชา้ ง 1,171 1:58 1:23 บางปลามา้ 1,584 1:48 1:17 ศรีประจนั ต์ 1,352 1:45 1:17 ดอนเจดีย์ 983 1:46 1:17 สองพนี่ ้อง 1,871 1:67 1:23 สามชุก 1,212 1:43 1:18 อู่ทอง 2,836 1:42 1:15 หนองหญา้ ไซ 1,287 1:38 1:14 16,471 1:51 1:19 รวม

ที่มา : ระบบสารสนเทศสขุ ภาพภาคประชาชน กองสนบั สนนุ สุขภาพภาคประชาชน http://www.thaiphc.net/thaiphcweb/index.php?r=staticContent/show&id=1 (วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564)

12 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี

การให้บรกิ ารสุขภาพในระดบั โรงพยาบาล

1. ผู้ป่วยนอก การให้บริการผู้ป่วยนอกในจังหวัดสุพรรณบุรี จากคลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ใน

ภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เมื่อพิจารณาอัตราส่วนของการมารับบริการ (ครั้ง/คน) จำแนกตามประเภทสิทธิ พบว่า กลุ่มสิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เบิกต้นสังกัด มาใช้บริการเฉลี่ยจำนวนครั้งต่อ คนมากกว่ากลุ่มสิทธิอื่น ๆ คือ 4.93 ครั้ง/คน รองลงมาคือกลุ่มสิทธิ UC มีอัตราส่วนของการมารับบริการ เท่ากับ 3.84 ครั้ง/คน กลุ่มสิทธิประกันสังคม มีอัตราส่วนของการมารับบริการ คือ 2.46 ครั้ง/คน และ ใน กล่มุ สิทธิแรงงานต่างด้าวมีอัตราสว่ นของการมารับบริการต่ำสุดคือ 1.96 ครั้ง/คน โดยมีค่าเฉล่ียของการมารับ บริการผู้ป่วยนอกในสถานพยาบาลทุกระดับในภาพรวมเท่ากับ 3.91 ครั้ง/คน และมีอัตราส่วนการใช้บริการ ผ้ปู ว่ ยนอกเท่ากับ 4.83 คร้งั /คน/ปี (ตารางท่ี 6)

ตารางที่ 6 จำนวนคน/ครง้ั ของผ้รู ับบรกิ ารประเภทผู้ปว่ ยนอก ในสถานพยาบาลทุกระดบั สงั กดั ภาครัฐ (ในจังหวัดสพุ รรณบุรี จำแนกตามประเภทสทิ ธิ ปงี บประมาณ พ.ศ.2563-2564)

ประเภทสิทธิ คน ปี 2563 ครง้ั :คน คน ปี 2564 ครงั้ :คน 95,044 5.11 97,218 4.93 (ผปู้ ว่ ยนอก) 143,759 คร้งั 2.81 271,937 ครัง้ 2.46 1. ข้าราชการ/รัฐวสิ าหกจิ /เบกิ ต้นสังกดั 696,517 486,004 4.08 718,644 479,204 3.84 2. ประกันสงั คม 78,631 403,386 1.73 10,485 668,052 1.96 3. UC บตั รทองไมม่ ี ท/มี ท 423 2,844,945 1.46 414 2,762,064 1.51 4. แรงงานตา่ งดา้ ว 942,819 136,318 4.11 1,034,964 20,567 3.91 5. สทิ ธ์ิไมต่ รงรหัสมาตรฐาน รวมผมู้ ารบั บรกิ าร 616 624 ประมาณการอตั ราส่วนการใช้บริการ 3,871,254 4,049,326 ผปู้ ่วยนอก 1 ปตี ่อประชากรทง้ั หมด 4.57 ครง้ั /คน/ปี 4.83 ครง้ั /คน/ปี

ท่มี า : คลงั ข้อมลู สุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 23 พฤศจกิ ายน 2564 ประชากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 เท่ากับ 838,628 คน

เมื่อจำแนกจำนวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสุพรรณบุรี ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นรายโรงพยาบาล พบว่า รพศ.เจ้าพระยายมราช มีจำนวนผปู้ ่วยนอกเฉลี่ยต่อเดือน มากที่สุด รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 รพช.อู่ทอง รพช.เดิมบางนางบวช รพช.ด่านช้าง รพช.สามชุก รพช.บางปลาม้า รพช.ศรีประจันต์ รพช.ดอนเจดีย์ และรพช.หนองหญ้าไซ ตามลำดับ แต่ อตั ราสว่ นของการมารับบริการผู้ปว่ ยนอกจำนวนครงั้ ต่อคนต่อปีของรพช.สามชุก สูงทสี่ ุด คอื 5.44 คร้ัง/คน/ปี โดยคา่ เฉลยี่ ทัง้ จงั หวัดสพุ รรณบุรีเทา่ กบั 4.25 ครง้ั /คน/ปี (ตารางที่ 7)

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี 13

ตารางท่ี 7 จำนวนคนและคร้งั ของผรู้ บั บริการประเภทผปู้ ่วยนอก (จำแนกตามรายโรงพยาบาลสังกดั ภาครฐั ในจังหวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ พ.ศ.2563-2564)

โรงพยาบาล ปี 2563 ปี 2564 ครง้ั ครงั้ : ครัง้ ครง้ั : คน ครั้ง : คน ครงั้ : คน เดือน คน เดอื น รพศ.เจ้าพระยาฯ 157,614 737,679 4.68 61,473 186,923 827,403 4.43 68,952 รพท.สมเด็จฯ 68,035 318,119 4.68 26,510 92,851 374,472 4.03 31,206 รพช.เดิมบางฯ 37,364 166,190 4.45 13,849 45,383 196,787 4.34 16,399 รพช.ดา่ นชา้ ง 39,495 170,136 4.31 14,178 49,395 196,446 3.98 16,371 รพช.บางปลามา้ 31,587 127,019 4.02 10,585 43,934 159,449 3.63 13,287 รพช.ศรปี ระจันต์ 30,601 138,280 4.52 11,523 40,510 154,550 3.82 12,879 รพช.ดอนเจดีย์ 24,149 128,740 5.33 10,728 27,534 137,298 4.99 11,442 รพช.สามชกุ 27,225 157,279 5.78 13,107 31,576 171,721 5.44 14,310 รพช.อทู่ อง 55,527 222,797 4.01 18,566 62,483 245,394 3.93 20,450 รพช.หนองหญา้ ไซ 19,215 92,937 4.84 7,745 28,710 126,148 4.39 10,512 490,812 2,259,176 4.60 188,265 609,299 2,589,668 4.25 215,086 รวม

ทม่ี า : คลงั ข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันท่ี 23 พฤศจิกายน 2564

2. ผปู้ ่วยใน การให้บริการผู้ป่วยในของโรงพยาบาลของรัฐ จากคลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ในภาพรวม

ของจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2564 เมอื่ พิจารณาตามจำนวนวนั นอนเฉลีย่ ต่อรายพบว่าจำนวนวันนอน เฉลี่ยผู้ป่วยใน 1 ราย มีวันนอนเฉลี่ยเท่ากับ 5.54 วัน/ราย มากกว่าปีงบประมาณ 2563 ซึ่งมีวันนอนเฉล่ีย ประมาณ 4.69 วัน/ราย เมื่อแยกตามประเภทสิทธิ พบว่าผู้ป่วยสิทธิข้าราชการ มีวันนอนเฉลี่ยสูงกว่าผู้ป่วย สิทธิอื่น ๆ คือมีวันนอนเฉลี่ย 6.48 วันต่อผู้ป่วยใน 1 ราย รองลงมาได้แก่ ผู้ป่วยสิทธิประกันสังคม มีวันนอน เฉลี่ย 5.93 วัน/ราย ผู้ป่วยสิทธิ UC มีวันนอนเฉลี่ย 5.40 วัน/ราย และ ผู้ป่วยแรงงานต่างด้าว 4.42 วัน/ราย ตามลำดับ รายละเอยี ดตามตารางที่ 8

14 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี

ตารางท่ี 8 จำนวนผรู้ บั บริการ จำนวนวันนอน และจำนวนวนั นอนเฉลย่ี ของผู้ป่วยใน (จำแนกตาม ประเภทสทิ ธิ จังหวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ พ.ศ.2563–2564)

ประเภทสิทธิ ปงี บประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 จำนวน รวมวัน วันนอน จำนวน รวมวนั วันนอน 1.ขา้ ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ (ราย) นอน เฉลย่ี /ราย (ราย) นอน เฉลยี่ /ราย 2.ประกนั สงั คม 3.UC บัตรทองมี/ไม่มี 10,269 64,554 6.29 9,457 64,677 6.84 4.แรงงานตา่ งด้าว 8,827 37,498 4.25 10,349 61,415 5.93 5. สทิ ธ์ไิ ม่ตรงรหสั มาตรฐาน 71,111 320,003 4.50 68,785 371,548 5.40 5,563 26,998 4.85 6,120 27,071 4.42 รวมผู้มารบั บรกิ าร 12 39 3.25 95,780 449,092 4.69 00 0 94,705 524,711 5.54

ทมี่ า : คลงั ขอ้ มูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วันท่ี วันท่ี 23 พฤศจิกายน 2564

เมื่อจำแนกวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยในรายโรงพยาบาล พบว่า รพท.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 มี วันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยในสูงสุดคือ 7.09 วัน/ราย รองลงมาคือ รพศ.เจ้าพระยายมราช มีวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยใน 5.88 วัน/ราย ในระดับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลที่มีจำนวนวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยในสูงสุดคือ รพช.เดิมบางนาง บวช (5.28 วัน/ราย) รองลงมาได้แก่ รพช.บางปลาม้า (5.09 วัน/ราย) รพช.อู่ทอง (5.02 วัน/ราย) รพช. ด่านช้าง (4.44 วัน/ราย) รพช.ศรีประจันต์ (4.28 วัน/ราย) รพช.หนองหญ้าไซ (4.23 วัน/ราย) รพช.สามชุก (4.01 วนั /ราย) และ รพช.ดอนเจดยี ์ (3.96 วัน/ราย) ตามลำดบั (ตารางที่ 9)

เม่อื เปรยี บเทียบวันนอนเฉลี่ยของผูป้ ว่ ยในกับค่าเฉล่ยี ของประเทศ จะเห็นว่าวนั นอนเฉลี่ยของผู้ป่วย ในระดับ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไปและโรงพยาบาลชุมชน มีค่าเฉลี่ยสูงกวา่ ค่าเฉลี่ยของประเทศ ดัง ตาราง

อัตราการครองเตยี ง ในภาพรวมของจังหวัดสพุ รรณบุรี คิดเป็นร้อยละ 88.47 ซึ่งถือว่ามีการใช้เตยี ง เหมาะสม (มีค่าระหว่าง 80-100) แต่เมื่อพิจารณาตามประเภทของโรงพยาบาล พบว่า โรงพยาบาลสมเด็จ พระสังฆราช องค์ท่ี 17 มีอตั ราครองเตียงสูงทสี่ ุดคือ รอ้ ยละ 107.87 รองลงมาได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช รอ้ ยละ 91.91 และกลมุ่ โรงพยาบาลชุมชน M2, F1 และ F2 มีอัตราครองเตียง รอ้ ยละ 79.20 ร้อยละ 82.52 และร้อยละ 72.07 ตามลำดับ โดยโรงพยาบาลศูนย์มีอตั ราครองเตยี งต่ำกวา่ ค่าเฉลย่ี ของประเทศ (ค่าเฉล่ียของ ประเทศเท่ากับ 99.81) โรงพยาบาลท่ัวไปมีอัตราครองเตียงสงู กวา่ ค่าเฉลยี่ ของประเทศ (ค่าเฉล่ียของประเทศ เท่ากบั 85.20) สว่ นโรงพยาบาลชุมชน M2, F1 และ F2 มอี ัตราครองเตียงตำ่ กวา่ คา่ เฉลีย่ ของประเทศ (ตารางท่ี 9)

อัตราการใช้เตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate) พบว่า ในระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนของจงั หวัดสุพรรณบรุ ี มกี ารใช้เตยี งน้อยกว่ามาตรฐานระดับประเทศ

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี 15

ตารางที่ 9 จำนวนผ้รู บั บรกิ ารผูป้ ่วยใน จำนวนวนั นอน จำนวนเตยี ง อตั ราการครองเตยี ง

อตั ราการใช้เตียง 1 ปี ของผู้ป่วยใน (จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2564)

จำนวน จำนวน วันนอน จำนวนเตียง อัตราการ อัตราการ

โรงพยาบาล ผูป้ ่วยใน วันนอน เฉลย่ี (ตามกรอบ) ครองเตยี ง ใชเ้ ตียง

ผปู้ ่วยใน ปี 64 ปี 64

รพศ.เจ้าพระยายมราช (A) 40,276 236,838 5.88 706 91.91 57.05

รพท.สมเดจ็ ระสังฆราชฯ (M1) 14,542 103,155 7.09 262 107.87 55.50

รพช.เดมิ บางนางบวช (F1) 6,057 31,981 5.28 109 80.38 55.57

รพช.ด่านช้าง (F1) 7,379 32,775 4.44 106 84.71 69.61

รพช.บางปลามา้ (F2) 3,713 18,883 5.09 60 86.22 61.88

รพช.ศรปี ระจันต์ (F2) 4,208 18,007 4.28 60 82.22 70.13

รพช.ดอนเจดีย์ (F2) 3,577 14,178 3.96 60 64.74 59.62

รพช.สามชุก (F2) 3,583 14,354 4.01 60 65.54 59.72

รพช.อทู่ อง (M2) 8,183 41,047 5.02 142 79.20 57.63

รพช.หนองหญา้ ไซ (F2) 3,187 13,493 4.23 60 61.61 53.12

รวม 94,705 524,711 5.54 1,625 88.47 58.28

สรปุ ตามประเภทโรงพยาบาลจังหวดั สพุ รรณบุรี ปี 2564

จำนวน จำนวน วนั นอนเฉล่ีย จำนวนเตียง อัตราการ อตั ราการ

โรงพยาบาล ผปู้ ่วยใน วนั นอน ผู้ป่วยใน (ตามกรอบ) ครองเตยี ง ใช้เตียง1ปี

รพศ. (A 1 แหง่ ) 40,276 236,838 5.88 706 91.91 57.05

รพท. (M1 1 แหง่ ) 14,542 103,155 7.09 262 107.87 55.50

รพช. (M2 1 แหง่ ) 8,183 41,047 5.02 142 79.20 57.63

รพช. (F1 2 แห่ง) 13,436 64,756 4.82 215 82.52 62.49

รพช. (F2 5 แห่ง) 18,268 78,915 4.32 300 72.07 60.89

16 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

ตารางที่ 9 จำนวนผรู้ บั บริการผ้ปู ว่ ยใน จำนวนวันนอน จำนวนเตยี ง อัตราการครองเตียง

อตั ราการใช้เตียง 1 ปี ของผปู้ ่วยใน (จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564) (ต่อ)

คา่ เฉลย่ี ระดบั ประเทศ ปี 2564

จำนวน จำนวน วันนอนเฉล่ยี จำนวนเตียง อัตราการ อตั ราการ

โรงพยาบาล* ผู้ปว่ ยใน วันนอน ผ้ปู ว่ ยใน (ตามกรอบ) ครองเตียง ใช้เตยี ง1ปี

รพศ. (A 34 แห่ง) 1,677,112 9,595,313 5.72 26,339 99.81 63.67

รพท. (M1 40 แห่ง) 580,073 3,063,004 5.28 9,850 85.20 58.89

รพช. (M2 93 แห่ง) 809,415 3,678,594 4.54 11,502 87.62 70.37

รพช. (F1 94 แห่ง) 532,267 2,400,186 4.51 7,628 86.21 69.78

รพช. (F2 507 แห่ง) 1,490,950 6,304,956 4.23 21,553 80.15 69.18

ทมี่ า : คลังขอ้ มูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 23 พฤศจิกายน 2564 *ระดับโรงพยาบาล จาก hdcservice (กลมุ่ รายงานมาตรฐาน >> จำนวนหนว่ ยงานสาธารณสุข >> จำนวนหน่วย บริการ จำแนกตามระดับ Service Plan)

หมายเหตุ : อตั ราการครองเตยี ง = (จำนวนวนั นอนX100)/(จำนวนเตยี งX365)

-คา่  120 หมายถงึ ผูป้ ่วยมเี ตียงไมเ่ พียงพอ แออัด -คา่ 80-100 หมายถงึ เหมาะสม

-คา่  80 หมายถึง ใชเ้ ตยี งไม่คมุ้ คา่ ตอ้ งปรบั ระบบการใหบ้ รกิ าร อัตราการใช้เตยี ง = จำนวนผ้ปู ว่ ยใน/จำนวนเตยี ง

-รพศ./รพท. (A, M1) มคี ่าอยู่ระหว่าง 50-90 -รพช.(M2, F1, F2) มีคา่ อยรู่ ะหว่าง 80-120

ที่มา : กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข http://cmi.healtharea.net/site/index ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี 17

สถานะสุขภาพ สถิตชิ ีพ

สถติ ชิ ีพของประชากรในจังหวัดสุพรรณบรุ ี ในปี 2562-2564 พบวา่ ประชากรมกี ารเกิดลดลง โดยมี อัตราเกดิ 7.90, 7.57 และ 6.36 ตามลำดบั ซง่ึ สวนทางกับอัตราตายที่มแี นวโนม้ เพิม่ ขน้ึ

ส่วนการตายของมารดา (การตายเน่ืองจากการคลอดและภาวะแทรกซ้อนในการมคี รรภ์และระยะอยู่ไฟ (ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด) ในระหว่างปี 2562-2563 ปีละ 2 ราย และในปี 2564 เป็น 0 โดยมีอัตรา 29.90, 31.21 และ 0.00 ตามลำดับ ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน ซึ่งในปี 2564 ไม่มีมารดาตาย จึงทำให้ไม่ เกินเกณฑท์ ี่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ (ไมเ่ กิน 17 คนต่อการเกิดมชี พี 100,000 คน)

สำหรับอัตราทารกตายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น กล่าวคือ ระหว่างปี 2562-2564 มีอัตราทารกตาย 4.80, 5.62 และ 6.19 ตอ่ การเกดิ มชี ีพ 1,000 คน ตามลำดบั และเป็นทสี่ ังเกตวุ ่า อัตราเพ่มิ ตามธรรมชาติมีแนวโน้ม ลดลงอย่างตอ่ เนือ่ งจากปี 2562-2564 (ตารางที่ 10)

ตารางท่ี 10 จำนวนและอตั รา ของการเกดิ การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดชั นีชีพ

พ.ศ. 2553–2564 (จงั หวัดสุพรรณบรุ ี)

จำนวน อัตรา

ปี เกิดมี ตาย ทารก มารดา เกิด ตาย ทารก มารดา อตั ราเพมิ่ ดัชนชี พี ชพี ตาย ตาย มชี ีพ ตาย ตาย ตามธรรมชาติ 126.62 (รอ้ ยละ) 137.00 135.86 2553 8,891 7,022 54 2 10.51 8.30 6.09 22.99 0.22 126.62 125.12 2554 9,147 6,697 58 0 10.81 7.92 6.34 0.00 0.29 116.80 103.42 2555 9,242 6,806 39 1 10.91 8.03 4.22 10.82 0.28 103.00 104.31 2556 8,739 6,817 24 2 10.07 7.85 2.75 11.44 0.22 89.58 82.37 2557 8,586 6,862 36 1 9.89 7.90 3.93 12.35 0.20 61.94

2558 8,307 7,112 23 2 9.78 8.38 2.91 28.12 0.14

2559 7,596 7,345 19 1 8.94 8.64 2.50 13.61 0.03

2560 7,463 7,190 35 0 8.75 8.47 4.72 0.00 0.03

2561 7,161 7,418 41 2 8.68 8.75 5.54 28.53 (-0.03)

2562 6,682 7,891 32 2 7.90 9.34 4.80 29.90 (-0.14)

2563 6,409 7,777 36 2 7.57 9.21 5.62 31.21 (-0.16)

2564 5,327 8,600 35 0 6.36 10.27 6.19 0.00 (-0.39)

ที่มา : 1. กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html) 2. ขอ้ มูลเกิด-ตาย ปี 2559-2564 (https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/birth)

18 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

หมายเหตุ : 1. มารดาตายคือการตายเน่อื งจากการคลอดและภาวะแทรกในการมีครรภ์และระยะอยไู่ ฟ (ภายใน 6 สปั ดาหห์ ลงั คลอด) 2. อตั ราเกดิ มชี พี และตายต่อประชากร 1,000 คน 3. อตั ราทารกตายตอ่ เกดิ มชี พี 1,000 คน และมารดาตายตอ่ เกิดมชี พี 100,000 คน 4. อตั ราเพมิ่ ตามธรรมชาติ (รอ้ ยละ) : จำนวนเกดิ ลบด้วย จำนวนตาย หารด้วยจำนวนประชากรกลางปี คูณด้วย 100 5. ดัชนชี พี (จำนวนเดก็ เกดิ มชี พี /จำนวนคนตาย) X 100

ประชากรกลางปี bps.moph.go.th/new_bps/ขอ้ มลู ประชากรกลางปี ปี 2562 สพุ รรณบุรี 845,012 คน ประเทศ 65,557,054 คน ปี 2563 สพุ รรณบรุ ี 844,476 คน, ปี 2564 สพุ รรณบรุ ี

837,218 คน ขอ้ มลู การเกดิ สำนกั บรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง (https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/INTERNET/#/TableTemplate/statbirth)

ตารางที่ 11 สถติ ชิ พี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2564 และ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2563 และ พ.ศ. 2564

สถติ ชิ พี จงั หวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2564 ปี พ.ศ. 2563, 2564 1. อตั ราเกดิ มีชีพ (Crude Birth Rates) 6.361 2. อตั ราตาย (Mortality Rates) 10.271 8.232 3. อัตราเพ่มิ ตามธรรมชาติ (Natural Growth) -0.391 8.522 4. อัตราทารกตาย (ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน) 6.571 -0.032 5. อัตรามารดาตาย (ตอ่ การเกิดมชี พี 100,000 คน) 0.001 5.103 6. อายคุ าดเฉลยี่ เมอื่ แรกเกิด (จำนวนปเี ฉลี่ยที่คาดวา่ 25.103

บคุ คลที่เกดิ มาแลว้ จะมชี ีวิตอยตู่ ่อไปอีกก่ีป)ี

ชาย 71.521 73.502

หญิง 79.071 80.502

7. อายคุ าดเฉลี่ยที่อายุ 60 ปี (จำนวนปเี ฉลีย่ ท่ีคาดว่า ผูท้ ่มี ีอายุ 60 ปี จะมชี ีวิตอยู่ตอ่ ไปอกี กี่ปี)

ชาย 20.321 17.402

หญิง 23.731 23.202

ที่มา : 1กลมุ่ งานพฒั นายุทธศาสตรฯ์ สสจ.สพุ รรณบรุ ีปี 2564 2ปี 2564 สถาบนั วิจยั ประชากร http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx 3ปี 2563 สถาบนั วิจยั ประชากร http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี 19

อายุคาดเฉล่ีย ตารางท่ี 12 อายุคาดเฉลี่ยของประชากร ปี พ.ศ. 2564 (จงั หวดั สุพรรณบรุ ี) อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด (ความยืนยาวของชีวิตตั้งแต่แรกเกิด-ตาย) กลมุ่ อายุ อายคุ าดเฉลี่ย (Expectation of Life) ของประชากรจังหวัดสุพรรณบรุ ี ใน ปี 2564 จากข้อมูลกรมการปกครอง อายุคาด <1 ชาย หญิง รวม เฉลี่ยเมื่อแรกเกิดจำแนกตามเพศ พบว่า 1-4 เพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่าเพศชาย คือ 5-9 71.52 79.07 75.27 เพศหญิงมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 10-14 เท่ากับ 79.07 ปี เพศชายมีอายุคาด 15-19 71.05 78.39 74.71 เฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเท่ากับ คือ 71.52 ปี 20-24 ในภาพรวมมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 25-29 67.19 74.44 70.80 เท่ากับ 75.27 ปี 30-34 35-39 62.23 69.52 65.86 อายคุ าดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี 40-44 (อายทุ ่คี าดว่าจะยืนยาวต่อไปหลังจากอายุ 45-49 57.40 64.65 61.02 60 ปี) พบว่าเพศหญิงจะมีอายุยืนยาว 50-54 ต่อไปอีกประมาณ 23.73 ปี ขณะท่ีเพศ 55-59 52.84 59.81 56.33 ชายจะมอี ายุยนื ยาวหลังอายุ 60 ปี ต่อไปอกี 60-64 20.32 ปี (ตารางท่ี 12) 65-69 48.42 55.12 51.78 70-74 75-79 43.91 50.30 47.13 80-84 85-89 39.53 45.68 42.65 90-94 95-99 35.26 40.99 38.18 100+ 31.40 36.49 34.04

27.60 32.03 29.93

23.93 27.76 25.97

20.32 23.73 22.15

16.98 19.75 18.49

13.97 16.04 15.13

11.16 12.60 11.99

9.02 9.73 9.44

7.35 7.40 7.38

6.02 5.71 5.81

5.05 4.64 4.78

2.50 2.50 2.50

20 รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

สาเหตุการป่วยของผูป้ ว่ ยนอก จากการรวบรวมข้อมูลการเจ็บป่วยของประชากรจากระบบ HDC (คลังข้อมูลสุขภาพสำนักงาน

สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี) ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี (Type Area 1 กับ 3) มสี าเหตกุ ารปว่ ยจำแนกตามกลมุ่ สาเหตกุ ารป่วย 298 กลุ่มโรค 10 ลำดบั แรก ไดแ้ ก่ 1.ความดนั โลหติ สูงทไี่ ม่มีสาเหตุนำ 2.เนื้อเยอื่ ผิดปกติ 3.เบาหวาน 4.ความผิดปกติอน่ื ๆ ของฟันและโครงสร้าง 5.การติด เชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 6.การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ ไม่ระบุเฉพาะและหลาย บริเวณในรา่ งกาย 7.โรคอืน่ ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอดินมั 8.โรคอ่ืน ๆ ของผวิ หนังและเนอื้ เยื่อใต้ ผวิ หนงั 10.ฟันผุ และ 10.พยาธสิ ภาพของหลงั ส่วนอน่ื ๆ (ตารางท่ี 13)

ตารางที่ 13 จำนวนและอัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คนของผู้ป่วยนอกจำแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค (จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564)

ลำดบั กลมุ่ โรค ชื่อกลมุ่ โรค จำนวน อัตรา : 100000 73,890 8,826 1 145 ความดันโลหติ สูงทีไ่ ม่มีสาเหตนุ ำ 54,703 6,534 44,216 5,281 2 207 เนือ้ เยอ่ื ผดิ ปกติ 40,813 4,875 36,470 4,356 3 104 เบาหวาน 30,752 3,673 28,108 3,357 4 181 ความผิดปกติอื่น ๆ ของฟนั และโครงสรา้ ง 23,362 2,790 22,628 2,703 5 167 การติดเชอ้ื ของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉยี บพลันอืน่ ๆ 20,936 2,501 11,405 1,362 6 281 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอน่ื ๆ, ไม่ระบเุ ฉพาะและหลายบรเิ วณในรา่ งกาย 10,828 1,293 9,112 1,088 7 185 โรคอน่ื ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดโู อดินมั 8,331 995 7,935 948 8 199 โรคอืน่ ๆ ของผวิ หนังและเนื้อเยือ่ ใต้ผิวหนงั 6,697 800 6,555 783 9 180 ฟนั ผุ 6,430 768 6,251 747 10 206 พยาธสิ ภาพของหลังสว่ นอ่นื ๆ 4,172 498 4,153 496 11 111 ความผิดปกติของต่อมไร้ทอ่ โภชนาการและเมตะบอลิกอนื่ ๆ

12 165 คออกั เสบเฉียบพลันและตอ่ มทอนซิลอักเสบเฉียบพลนั

13 192 โรคอื่น ๆ ของลำไส้และเย่อื บุชอ่ งทอ้ ง

14 198 โรคอักเสบตดิ เชอ้ื ของผิวหนังและเนอื้ เย่อื ใต้ผวิ หนงั

15 131 เยื่อบุตาอักเสบและความผดิ ปกตขิ องเย่ือบุตาอื่น ๆ

16 267 ปวดท้องและปวดองุ้ เชิงกราน

17 201 โรคข้อเสอ่ื ม

18 125 โรคไมเกรนและกลมุ่ อาการปวดศรี ษะอนื่ ๆ

19 142 โรคของหแู ละปมุ่ กกหูอืน่ ๆ

20 133 ต้อกระจกและความผดิ ปกตขิ องเลนส์อน่ื ๆ

21 139 โรคของตาและส่วนประกอบของตาอ่นื ๆ

หมายเหตุ 1.การเจ็บป่วยที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่ปีก่อน เช่น ความดันโลหิตสูง/เบาหวาน นับเป็นการเจ็บป่วย 1 รายใน ปงี บประมาณ (ไมน่ ับซ้ำ)

2.ผู้ป่วย 1 คน หากในปีงบประมาณเจ็บป่วยมากกว่า 1 โรค ให้นับเป็นจำนวนรายตามโรคที่เจ็บป่วย เช่น ผู้ป่วยข้อเขา่ เส่อื ม และฟนั ผุ ใหน้ ับเป็น 2 ราย

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี 21

การเข้ารับบรกิ ารของผู้ป่วยนอก จากการรวบรวมข้อมลู การเข้ารบั บริการของผู้ปว่ ยนอก ของหน่วยบรกิ ารในจังหวัดสุพรรณบรุ ี โดยประมวลผลจากระบบ HDC (คลงั ข้อมูลสำนักงานสาธารณสุข

จังหวัดสุพรรณบุรี) ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา พบว่า 10 ลำดับแรกของกลุ่มโรคท่ีเข้ารับบริการเป็นผู้ป่วยนอกมากที่สุด ได้แก่ 1.ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ 2.เบาหวาน 3.เน้อื เยือ่ ผดิ ปกติ 4.ความผดิ ปกติอื่น ๆ ของฟันและโครงสร้าง 5.พยาธิสภาพของหลังส่วนอื่น ๆ 6.การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอ่ืน ๆ 7.โรคอ่ืน ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอดินัม 8.การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 9.โรคอื่น ๆ ของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง และ 10.ฟันผุ (ตารางท่ี 14 แผนภมู ทิ ่ี 4) ตารางท่ี 14 จำนวนผูป้ ่วยนอก 10 อันดับแรก จำแนกตามกลมุ่ สาเหตกุ ารปว่ ย 298 กล่มุ โรค (จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2564)

ลำดบั รหัสกล่มุ โรค/ชอ่ื กลมุ่ โรค (298 โรค) 2560 2561 2562 2563 2564 ที่ จำนวน (คร้งั ) จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน 1 145 ความดนั โลหิตสงู ที่ไม่มสี าเหตนุ ำ 413,783 369,772 368,063 364,159 378,886 2 104 เบาหวาน 321,426 267,856 255,873 241,056 252,557 237,593 202,968 183,377 169,443 145,153 3 207 เนื้อเย่ือผดิ ปกติ 174,513 185,746 181,890 132,369 79,690 155,807 128,250 119,822 103,932 79,553 4 181 ความผดิ ปกติอน่ื ๆ ของฟันและโครงสร้าง 181,120 162,143 136,708 116,550 65,906 85,546 73,570 66,040 62,291 57,912 5 206 พยาธสิ ภาพของหลงั สว่ นอน่ื ๆ 73,384 66,651 62,893 56,850 49,044 78,262 60,331 54,828 52,312 43,960 6 167 การติดเชือ้ ของทางเดินหายใจส่วนบน แบบเฉียบพลันอ่นื ๆ 93,659 69,134 68,731 63,273 36,428 7 185 โรคอื่น ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอดินมั 8 281 การบาดเจบ็ ระบุเฉพาะอ่นื ๆ ไมร่ ะบเุ ฉพาะและหลายบรเิ วณในรา่ งกาย

9 199 โรคอื่น ๆ ของผวิ หนังและเน้ือเยอื่ ใต้ผิวหนัง

10 180 ฟันผุ

ท่ีมา : คลงั ขอ้ มูลสุขภาพ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี (Health Data Center) ณ วนั ที่ 24 พฤศจิกายน 2564 ประชากรทะเบยี นราษฎร์ ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 คอื 837,218 คน

22 รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

10 อันดับ จำนวนผู้รบั บรกิ ารประเภทผู้ป่วยนอก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

180 ฟันผุ 36,428 199 โรคอ่นื ๆ ของผิวหนงั และเนอื้ เย่อื ใตผ้ ิวหนงั 43,960 281 การบาดเจ็บระบเุ ฉพาะอ่นื ๆ ไม่ระบเุ ฉพาะและหลายบรเิ วณในรา่ งกาย 49,044 185 โรคอ่นื ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดโู อเดนมั 167 การตดิ เชือ้ ของทางเดินหายใจสว่ นบน แบบเฉยี บพลนั อ่นื ๆ 57,912 65,906 206 พยาธิสภาพของหลงั สว่ นอ่นื ๆ 181 ความผิดปกตอิ ่นื ๆ ของฟันและโครงสรา้ ง 79,553 79,690 207 เนอื้ เย่อื ผิดปกติ 104 เบาหวาน 145,153

145 ความดนั โลหติ สงู ท่ไี มม่ สี าเหตนุ า 252,557

0 100,000 200,000 300,000 378,886 400,000

แผนภมู ิท่ี 4 จำนวนผ้รู ับบรกิ ารประเภทผูป้ ว่ ยนอก 10 ลำดับแรก จำแนกตามกลมุ่ สาเหตกุ ารปว่ ย 298 กลุ่มโรค (สาเหตุโรคหลกั ) จังหวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 23

สำหรับผูป้ ่วยใน สาเหตุการเจบ็ ปว่ ยทส่ี ำคญั จำแนกตามกลมุ่ สาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค (สาเหตโุ รคหลัก) 10 ลำดับแรกในปี พ.ศ.2564 ไดแ้ ก่ 1. ปอดบวมไม่ ระบุรายละเอียด 2. การดูแลมารดาท่ีมีแผลเป็นที่มดลูกเนื่องจากการผ่าตัด 3. การติดเช้ือในทางเดินปัสสาวะ ไม่ระบุตำแหน่ง 4. หัวใจล้มเหลว 5. โลหิตจางอื่น ๆ 6.ตอ้ กระจกและความผิดปกตขิ องเลนส์อน่ื ๆ 7. เนื้อสมองตาย 8. การบาดเจ็บทีก่ ลา้ มเนือ้ ยาวและเอน็ ที่ใช้เหยยี ดน้วิ มืออน่ื ท่ีระดับข้อมือและมอื 9. คออกั เสบเฉียบพลัน และต่อมทอนซิลอกั เสบเฉยี บพลนั และ 10. การบาดเจบ็ ภายในกะโหลกศีรษะ (ตารางท่ี 15 แผนภมู ิที่ 5)

ตารางท่ี 15 จำนวนและอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ของผปู้ ่วยใน จำแนกตามกลุ่มสาเหตกุ ารปว่ ย 298 กลุ่มโรค (สาเหตุโรคหลกั ) 10 ลำดับแรก จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2564

ช่ือกลมุ่ (298 กล่มุ โรค) 2560 2561 2562 2563 2564 จำนวน อตั รา จำนวน อตั รา จำนวน อัตรา จำนวน อตั รา 169 ปอดบวม ไม่ระบรุ ายละเอียด 5,774 680 6,409 752 5,013 591(1) 4,458 528(1) จำนวน อัตรา 239 การดแู ลมารดาท่มี ีแผลเปน็ ท่ีมดลูกเน่อื งจากการผา่ ตัด 3,826 451 3,708 435 3,488 411(2) 3,290 390(2) 7,537 900(1) 217 การตดิ เชอ้ื ในทางเดนิ ปสั สาวะ ไมร่ ะบุตำแหนง่ 2,255 266 2,175 255 2,260 266(6) 2,352 279(3) 2,952 353(2) 151 หวั ใจลม้ เหลว 2,226 262 2,288 268 2,250 265(7) 2,258 267(5) 2,424 290(3) 098 โลหิตจางอนื่ ๆ 1,163 137 1,123 131 1,466 173 2,200 261(6) 2,337 279(4) 133 ต้อกระจกและความผดิ ปกตขิ องเลนสอ์ นื่ ๆ 3,235 381 3,574 419 2,831 334(3) 1,984 235(8) 2,163 258(5) 154 เนื้อสมองตาย 1,585 186 1,766 207 1,897 224 2,076 246(7) 2,066 247(6) 281 การบาดเจ็บทีก่ ลา้ มเนอื้ ยาวและเอน็ ทีใ่ ชเ้ หยยี ดน้ิวมอื 2,306 273(4) 1,997 239(7) 3,128 369 2,664 312 2,434 287(4) 1,865 223(8) อื่นทรี่ ะดบั ข้อมือและมอื 397 46 165 คออักเสบเฉยี บพลนั และต่อมทอนซิลอักเสบเฉยี บพลัน 947 111 644 75 703 83 1,910 225 1,724 206(9) 278 การบาดเจบ็ ภายในกะโหลกศีรษะ 1,471 173 1,820 213 2,075 244(10) 1,695 202(10)

ทม่ี า : คลังข้อมลู สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันท่ี 24 พฤศจกิ ายน 2564 ประชากรทะเบยี นราษฎร์ ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 คือ 837,218 คน

24 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี

10 อันดับโรคผปู้ ว่ ยใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

278 การบาดเจ็บภายในกระโหลกศีรษะ 202

165 คออกั เสบเฉยี บพลนั และตอ่ มทอนซิลอกั เสบเฉยี บพลนั 206

281 การบาดเจ็บท่กี ลา้ มเนอื้ ยาวและเอ็นท่ใี ชเ้ หยียดนวิ้ มอื อ่นื ท่รี ะดบั ขอ้ มอื และมือ 223

154 เนอื้ สมองตาย 239

133 ตอ้ กระจกและความผิดปกตขิ องเลนสอ์ ่นื ๆ 247

098 โลหติ จางอ่นื ๆ 258

151 หวั ใจลม้ เหลว 279

217 การตดิ เชือ้ ในทางเดินปัสสาวะ ไมร่ ะบตุ าแหน่ง 290

239 การดแู ลมารดาท่มี แี ผลเป็นท่มี ดลกู เน่อื งจากการผา่ ตดั 353

169 ปอดบวม ไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด 900

0 100 200 300 400 500 600 700 800 900 1000

แผนภมู ิท่ี 5 อตั ราผปู้ ว่ ยในตอ่ ประชากร 100,000 คน 10 ลำดบั แรก จำแนกตามกลุ่มสาเหตุการปว่ ย 298 กลุ่มโรค (สาเหตโุ รคหลัก) จังหวัดจังหวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี 25

การเจ็บปว่ ยของผู้ป่วยในจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อท่สี ำคัญ การเจ็บป่วยของผู้ป่วยใน จากกลุ่มโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ พบว่า กลุ่มโรคมะเร็งทุกชนิด มีอัตราป่วย

มากที่สุด โดยมอี ตั ราปว่ ยเพิม่ ขน้ึ ในปี 2561 และคอ่ นข้างคงที่ ในปี 2562 และเพ่ิมข้นึ ชดั เจนในปี 2563-2564 รองลงมาได้แก่ กลุ่มโรคเนื้อสมองตายเพราะขาดเลือดไม่ระบุรายละเอียด อัตราป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นใน 2560-2563 และลดลงเลก็ น้อยในปี 2564

กล่มุ โรคเบาหวาน อตั ราปว่ ยมีแนวโนม้ ลดลงทกุ ปี จากปี 2560-2564 มีอตั ราปว่ ย 241.47, 219.83, 218.68, 215.99 และ 197.56 ตามลำดับ

กลุ่มโรคไตวายเรื้อรงั มีอัตราป่วยลดลง จากปี 2560-2561 แตก่ ลับเพิม่ ขึ้นชดั เจนในปี 2562-2564 กลุ่มโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ มีอัตราป่วยเพิ่มขึ้นและลดลงสลับกันไปในปี 2560-2564 ส่วนกลุ่มโรคหัวใจขาดเลือด มีแนวโน้มลดลงต้ังแต่ปี 2560-2562 และเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในปี 2563-2564 ดัง ตารางและแผนภมู ิ

ตารางท่ี 16 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผ้ปู ่วยในกลมุ่ โรคไมต่ ิดต่อที่สำคญั จำแนกตามกลมุ่ สาเหตกุ ารป่วย 298 กลมุ่ โรค (สาเหตโุ รคหลกั ) จงั หวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ พ.ศ.2560–2564

ช่อื กลุ่ม (298โรค) 2560 2561 2562 2563 2564 จำนวน อตั รา จำนวน อัตรา 1.มะเร็งทกุ ชนิด (58-96) จำนวน อัตรา จำนวน อตั รา จำนวน อัตรา 5,954 705.05(1) 5,986 714.99(1) 2.เนอื้ สมองตายเพราะ 4,859 572.61 5,129 601.99 5,103 601.26 2,067 244.77(2) 1,991 237.81(2) ขาดเลือดไม่ระบุ 1,582 186.43 1,735 203.64 1,881 221.63 รายละเอยี ด (154) 3.โรคเบาหวาน (104) 2,049 241.47 1,873 219.83 1,856 218.68 1,824 215.99(3) 1,654 197.56(3) 4.ไตวายเรอ้ื รงั (214) 549 64.70 459 53.87 531 62.56 731 85.56(4) 756 90.30(4) 5.โรคความดันโลหติ สูงที่ 873 102.88 782 91.78 795 93.67 578 68.44(5) 627 74.89(5) ไมม่ สี าเหตนุ ำ (145) 6.โรคหัวใจ 638 75.19 552 64.79 429 50.55 497 58.85(6) 598 71.43(6) ขาดเลือด (148)

ที่มา : คลังขอ้ มูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ที่ 23 พฤศจิกายน 2564

26 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี

แผนภูมิท่ี 6 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผปู้ ่วยใน กลุม่ โรคไมต่ ิดต่อท่ีสำคญั จำแนกตามกล่มุ สาเหตกุ ารป่วย 298 กลมุ่ โรค (สาเหตุโรคหลัก) จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ พ.ศ.2560–2564

800.00

700.00

600.00

500.00

400.00

300.00

200.00

100.00

0.00 2560 2561 2562 2563 2564 572.61 601.99 601.26 705.05 714.99 1.มะเร็งทกุ ชนิด (58-96) 186.43 203.64 221.63 244.77 237.81 2.เนอื้ สมองตายเพราะขาดเลอื ดไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด (154) 241.47 219.83 218.68 215.99 197.56 3.โรคเบาหวาน (104) 64.70 53.87 62.56 85.56 90.30 4.ไตวายเรือ้ รงั (214) 102.88 91.78 93.67 68.44 74.89 5.โรคความดนั โลหิตสงู ท่ไี มม่ สี าเหตนุ า (145) 75.19 64.79 50.55 58.85 71.43 6.โรคหวั ใจขาดเลอื ด (148)

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี 27

อตั ราปว่ ยของผ้ปู ว่ ยรายใหม่จากกลุ่มโรคไม่ตดิ ต่อท่ีสำคัญ

อัตราการเจ็บป่วยของผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มโรคไม่ติดต่อที่สำคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี ในปี 2560-2564 พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคความดัน โลหิตสูง มากที่สุด แต่อัตราป่วยมีแนวโน้มลดลงตั้งแต่ปี 2560-2563 คือมีอัตรา 1,419.57, 1,344.83, 1,278.97 และ 1,184.52 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ และ เพิ่มข้นึ เลก็ น้อยในปี 2564 รองลงมาได้แก่ อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน มีอัตราการเจ็บป่วยลดลงตั้งแต่ปี 2560-2562 แต่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยในปี 2563- 2564 รองลงมา ได้แก่ โรคอุบตั ิใหมข่ องโรคหลอดเลือดสมอง โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด และโรคปอดอดุ ก้นั เร้อื รัง ตามลำดับ (ตารางท่ี 17)

ตารางที่ 17 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ปว่ ยใหม่จากกลุ่มโรคไม่ตดิ ต่อท่สี ำคัญ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560–2564

อัตราการปว่ ยด้วยโรคไมต่ ดิ ต่อทส่ี ำคัญ 2560 2561 2562 2563 2564

อัตราป่วยรายใหมข่ องโรคความดนั โลหติ สงู จำนวน อตั รา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อตั รา จำนวน อตั รา อตั ราปว่ ยรายใหม่ของโรคเบาหวาน 12,046 1,419.57 11,458 1,344.83 10,823 1,278.97 10,025 1,184.52 11,222 1,338.14 อตั ราอุบตั ใิ หม่ของโรคหลอดเลอื ดสมอง 5,203 613.15 4,897 574.76 4,691 554.34 5,035 594.92 5,176 617.20 อตั ราปว่ ยรายใหมข่ องผ้ปู ว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลือด อัตราปว่ ยรายใหมข่ องโรคปอดอดุ กั้นเร้อื รัง 193 22.74 164 19.25 228 26.94 199 23.51 183 21.82 91 10.73 76 8.92 70 8.27 82 9.69 114 13.59 222 26.16 238 27.93 168 19.85 144 17.01 73 8.70

ทม่ี า : คลังขอ้ มลู สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 23 พฤศจกิ ายน 2564

เมื่อพิจารณาสาเหตุการป่วยของผู้ป่วยใน ด้วยสาเหตุจากกลุ่มโรคมะเร็ง พบว่า ในปีงบประมาณ 2564 เนื้องอกร้อยของลำไส้ใหญ่ไม่ระบุตำแหน่ง มีอัตราป่วย สงู ที่สดุ คอื อตั ราป่วย 147.03 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งมแี นวโน้มเพ่ิมขนึ้ ตั้งแต่ปี 2562 รองลงมาได้แก่ เนอ้ื งอกร้อยของลำไส้ตรง อตั ราป่วย 88.51 ต่อประชากรแสนคน โดยมีแนวโน้มลดลงจากปี 2563 ลำดบั ท่ี 3 เนื้องอกร้อยบริเวณท่ีเหล่ือมกันของหลอดลมและปอด อัตราป่วย 58.05 ต่อประชากรแสนคน ลำดับท่ี 4 เนื้องอกไม่ร้ายของ หูส่วนกลางโพรงจมกู และโพรงอากาศ มีอตั ราปว่ ย 51.84 ตอ่ ประชากรแสนคน ลำดบั ท่ี 5 มะเร็งท่อน้ำดใี นตับ อัตราปว่ ย 45.03 ต่อประชากรแสนคน ลำดับที่ 6 มะเร็งต่อม น้ำเหลืองชนิดชนิดบี-เซลล์ ไม่ระบรุ ายละเอียด อตั ราป่วย 39.30 ตอ่ ประชากรแสนคน ลำดบั ท่ี 7 เนอ้ื งอกรา้ ยของเต้านมไมร่ ะบตุ ำแหน่ง อตั ราป่วย 38.34 ตอ่ ประชากรแสน

28 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี

คน ลำดับที่ 8 เนื้องอกร้ายของกระเพาะอาหาร ไม่ระบุตำแหน่ง อัตราป่วย 27.11 ต่อประชากรแสนคน ลำดับที่ 9 เนื้องอกไม่ร้ายของกล้ามเนื้อมดลูก ไม่ระบุรายละเอียด อัตราปว่ ย 26.52 ตอ่ ประชากรแสนคน และลำดับที่ 10 เนือ้ งอกร้ายของหลอดอาหาร ไม่ระบุตำแหนง่ อัตราป่วย 20.54 ตอ่ ประชากรแสนคน ตามลำดบั ดังแผนภมู ิ

160.00

140.00

120.00

100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00

2560 2561 2562 2563 2564

61.เนื้องอกรา้ ยของลาไสใ้ หญ่ ไม่ระบุตาแหนง่ 84.38 107.63 99.80 139.14 147.03

62.เน้อื งอกร้ายของลาไสต้ รง 57.27 64.32 72.11 103.38 88.51

67.เน้ืองอกรา้ ยบรเิ วณที่เหลือ่ มกนั ของหลอดลมและปอด 43.25 35.09 47.01 47.01 58.05

96.เนอื้ งอกไมร่ ้ายของหูส่วนกลาง โพรงจมูก และโพรงอากาศ 64.23 58.45 58.68 61.93 51.84

63.มะเรง็ ท่อนา้ ดีในตบั 42.78 40.61 31.22 39.55 45.03

86.มะเร็งต่อมนา้ เหลอื งชนดิ บี-เซลล์ ไม่ระบุรายละเอยี ด 36.53 43.78 29.46 34.10 39.30

73.เนื้องอกรา้ ยของเตา้ นม ไมร่ ะบตุ าแหน่ง 35.94 40.96 35.11 43.81 38.34

60.เน้ืองอกร้ายของกระเพาะอาหาร ไม่ระบุตาแหน่ง 23.57 16.20 18.73 23.09 27.11

92.เน้ืองอกไม่ร้ายของกล้ามเนื้อมดลกู ไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด 33.70 30.99 31.22 31.26 26.52

59.เนือ้ งอกร้ายของหลอดอาหาร ไมร่ ะบตุ าแหนง่ 11.44 11.44 12.19 14.88 20.54

แผนภูมิท่ี 7 อัตราป่วยตอ่ ประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยใน จำแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298 กลุม่ โรค (สาเหตโุ รคหลัก) ด้วยสาเหตุจากกลุม่ โรคมะเร็ง จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2564

ทมี่ า : คลังข้อมูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วันที่ 23 พฤศจกิ ายน 2564

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี 29

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี

สถานการณก์ ารเจบ็ ป่วยด้วยกลุ่มโรคติดต่อที่สำคญั ของผู้ปว่ ยใน สำหรับกลุ่มโรคติดต่อที่สำคัญของผูป้ ว่ ยใน ได้แก่ 1.โรคปอดบวม ไม่ระบุรายละเอียด มีแนวโน้มสูงขึ้น

ใน ปี พ.ศ. 2561 แต่ลดลงในปี พ.ศ.2562-2563 และเพิ่มสูงขึ้นในปี พ.ศ.2564 2.หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ไม่ ระบุรายละเอียด มีอัตราป่วยลดลงในปี พ.ศ.2562-2564 3.การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลัน มีอัตรา ป่วยค่อนข้างคงที่ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2563 แต่กลับเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2564 4.โรคติดเชื้อที่ลำไส้จาก ไวรสั ซึง่ ไม่ระบุชนิด มแี นวโนม้ ลดลงต้ังแต่ปี พ.ศ.2560-2562 และเพิ่มข้ึนในปี พ.ศ.2563 แตก่ ลับลดลงในปี พ.ศ. 2564 5.ไข้หวดั ใหญ่รว่ มกับอาการแสดงอ่นื ทางระบบหายใจ ไม่ระบุชนิดไวรัส มีอตั ราปว่ ยเพ่มิ ขนึ้ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 แตล่ ดลงในปี พ.ศ.2563-2564 ดังแผนภูมิ

1000 900.24 900 800 680.44 768.42 584.5 700 600 330.44 330.52 512.91 500 400 140.83 79.11 281.34 216.55 211.53 300 111.36 86.27 180.47 200 84.15 163.73 108.8 100 90.51 2561 71.6 80.4 48.25 0 2560 59.86 9.55 2562 57.16 2563 2564

169.ปอดบวม ไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด 170.หลอดลมอักเสบเฉยี บพลนั ไม่ระบุรายละเอียด 167.การตดิ เช้อื ทางเดินหายใจส่วนบนเฉยี บพลนั 6.โรคตดิ เช้อื ทีล่ าไสจ้ ากไวรัสซ่งึ ไม่ระบุชนิด 168.ไขห้ วดั ใหญ่ร่วมกับอาการแสดงอ่ืนฯ

แผนภูมทิ ี่ 8 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผ้ปู ว่ ยใน จำแนกตามกลมุ่ สาเหตกุ ารป่วย 298 กลุม่ โรค (สาเหตโุ รคหลัก) ปอดบวม หลอดลมอกั เสบ ระบบหายใจส่วนบนติดเช้อื เฉียบพลัน โรคติดเชือ้ อน่ื ๆ ของลำไส้ และไข้หวดั ใหญ่ จังหวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ พ.ศ.2560-2564

ทม่ี า : คลงั ขอ้ มลู สุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วันท่ี 23 พฤศจกิ ายน 2564

30 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

กลุ่มโรคไข้เลือดออกจากเชื้อเด็งกี มีการระบาดตามฤดูกาลซึ่งมีอัตราป่วยลดลงตั้งแต่ปี พ.ศ.2562- 2564 ในขณะที่วัณโรคปอด มีอตั ราปว่ ยคงท่ี และลดลงในปี พ.ศ.2564 ดงั แผนภูมิ

300.00 253.29 250.47 250.00 200.00 184.08

150.00 121.62 52.98 50.70 49.97 66.17 100.00 47.85 45.63

50.00

0.00 2560 2561 2562 2563 2564 121.62 253.29 250.47 184.08 66.17 32.ไขเ้ ลอื ดออกเด็งก่ี 7.วณั โรคปอด ยืนยนั ดว้ ยผลการตรวจเสมหะโดยใช้ 47.85 52.98 50.70 49.97 45.63

กลอ้ งจลุ ทรรศน์ อาจมหี รือไมม่ กี ารเพาะเชอื้

แผนภูมิท่ี 9 อตั ราป่วยตอ่ ประชากร 100,000 คน ของผูป้ ว่ ยใน จำแนกตามกลุ่มสาเหตุการปว่ ย 298 กลมุ่ โรค (สาเหตโุ รคหลกั ) ดว้ ยโรคไขเ้ ลือดออก และวัณโรค จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2560-2564

ทม่ี า : คลังขอ้ มลู สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 23 พฤศจกิ ายน 2564

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี 31

สถานการณ์การเจบ็ ปว่ ยด้วยกลุ่มโรคท่ีต้องเฝ้าระวังทางระบาดวทิ ยา จากการพิจารณาการเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัด

สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2564 พบว่า โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 มีอัตราป่วยสงู ทีส่ ุดคือ 1,769.97 ต่อประชากร แสนคน รองลงมาได้แก่ โรคอุจาระร่วง มีอตั ราปว่ ย 383.58 ตอ่ ประชากรแสนคน โรคปอดอกั เสบ มอี ัตราป่วย 126.44 ต่อประชากรแสนคน และลำดับที่ 4-10 ได้แก่ ไข้ไม่ทราบสาเหตุ วัณโรคปอด โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้เลอื ดออก โรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์ุ โรคตาแดง และโรคสกุ ใส ตามลำดับ ดังตาราง

ตารางท่ี 18 จำนวนและอัตราป่วย ด้วยโรคทตี่ อ้ งเฝ้าระวงั ทางระบาดวทิ ยา พ.ศ.2563–2564 จังหวดั สุพรรณบุรี

ลำดบั โรคเฝา้ ระวังทางระบาดวทิ ยา พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 จำนวนป่วย(ราย) อตั ราปว่ ย/แสน จำนวนปว่ ย(ราย) อัตราปว่ ย/แสน

1. โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 15 1.77 14,978 1,769.97

2. โรคอจุ จาระร่วง 8,214 970.66(1) 3,246 383.58

3. โรคปอดอกั เสบ 1,873 221.33(3) 1,070 126.44

4. ไขไ้ ม่ทราบสาเหตุ 2,922 345.3(2) 873 103.16

5. วัณโรคปอด 578 68.3(6) 799 94.42

6. โรคอาหารเปน็ พษิ 425 50.22(7) 283 33.44

7. โรคไขเ้ ลอื ดออก 797 94.18(5) 227 26.82

8. โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธุ์ 363 42.9(8) 138 16.31

9. โรคตาแดง 356 42.07 137 16.19

10. โรคสุกใส 241 28.48(10) 84 9.93

ท่ีมา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ณ 17 มกราคม 2565

32 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี

การตายของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2564 มีจำนวน 8,600 คนต่อปี เมื่อจำแนกตามเพศ พบว่า จำนวนการตายของเพศชายสูงกว่าเพศหญิงมาตลอด ดังแผนภูมิ

10000 9000 8000 7000 6000 5000 4000 3000 2000 1000

0 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ชาย 3752 3724 3759 3839 3932 3890 3812 4295 4161 4615 หญิง 3054 3092 3102 3273 3423 3299 3198 3596 3616 3985 รวม 6806 6816 6861 7112 7345 7189 7010 7891 7777 8600

แผนภมู ิท่ี 10 จำนวนการตายของประชากร จำแนกตามเพศ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2555-2564

ท่ีมา : ระบบฐานขอ้ มลู การเกิด-ตาย กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันท่ี 17 มนี าคม 2565

เมือ่ พิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ในปีพ.ศ.2564 จะพบว่ากลุ่มโรคท่ีเป็น สาเหตุการตายที่สำคัญโดยไม่นับการตายที่ระบุว่าชราภาพหรือไม่ทราบสาเหตุ ได้แก่ 1. กลุ่มโรคระบบ ไหลเวียนโลหิต (Diseases of the circulatory system) 2.กลุ่มโรคมะเร็ง (Neoplasms) 3. กลุ่มโรคติดเชื้อ และปรสติ (Certain infectious and parasitic diseases) 4.กลุ่มโรคของระบบทางเดินหายใจ (Diseases of the respiratory system) และ 5.กลุ่มการตายจากสาเหตุภายนอก (External causes of morbidity and mortality) ดงั ตาราง

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี 33

ตารางที่ 19 จำนวนและอตั ราตายต่อประชากรแสนคน จำแนกตามกล่มุ สาเหตุการตาย ของประชากรจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2560-2564

ICD-10 สาเหตกุ ารตาย 2560 2561 2562 2563 2564 จำนวน อตั รา จำนวน อตั รา จำนวน อตั รา จำนวน อตั รา จำนวน อัตรา I00-I99 โรคของระบบไหลเวียนโลหติ 995 117.26 1,118 131.84 1,258 148.87 1,171 138.67 1,243 148.47 C00-D48 มะเรง็ 1,058 124.68 1,127 132.9 1,210 143.19 1,031 122.09 1,024 122.23 A00-B99 โรคตดิ เช้อื และโรคปรสติ บางโรค 585 68.94 530 62.5 460 54.44 708 83.84 745 88.99 J00-J99 โรคของระบบหายใจ 729 85.91 690 81.37 846 100.12 787 93.19 738 88.15 V01-Y98 สาเหตภุ ายนอกของการเจบ็ ป่วยและการตาย 522 61.52 678 79.95 651 77.04 575 68.09 563 67.25 U00-U85 โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 362 43.24 N00-N99 โรคของระบบสืบพนั ธ์ุและระบบปสั สาวะ 321 38.34 K00-K93 โรคของระบบย่อยอาหาร 261 30.76 343 40.45 460 54.44 342 40.5 277 33.09 E00-E90 โรคของต่อมไรท้ อ่ โภชนาการ และเมตะบอลิซมึ 234 27.58 258 30.42 328 38.82 233 27.59 250 29.86 L00-L99 โรคของผิวหนงั และเน้ือเย่อื ใตผ้ วิ หนัง 164 19.33 228 26.89 260 30.77 229 27.12 M00-M99 โรคของระบบกล้ามเนอ้ื โครงร่าง และเน้ือเย่ือเกยี่ วพัน 36 4.24 70 8.25 58 6.86 37 4.38 43 5.14 P00-P96 ภาวะบางอย่างทเี่ รม่ิ ตน้ ในระยะปรกิ ำเนดิ 22 2.59 30 3.54 48 5.68 20 2.37 25 2.99 F00-F99 ความผิดปกติทางจติ และพฤตกิ รรม 13 1.53 27 3.18 13 1.54 13 1.54 24 2.87 D50-D89 โรคของเลอื ดและอวัยวะสรา้ งเลือดและความผดิ ปกตขิ องภูมคิ มุ้ กัน 12 1.41 23 2.71 31 3.67 18 2.13 13 1.55 Q00-Q99 รปู ผดิ ปกตแิ ตก่ ำเนดิ รปู พิการ และความผดิ ปกตขิ องโครโมโซม 6 0.71 14 1.65 12 1.42 8 0.95 11 1.31 O00-O99 การต้งั ครรภ์ การคลอด และระยะหลงั คลอด 11 1.3 15 1.77 21 2.49 15 1.78 6 0.72 G00-G98 โรคของระบบประสาท -0 1 0.12 1 0.12 2 0.24 0- 0.00 - R00-R99 อาการ อาการแสดง และความผดิ ปกตทิ ี่พบจากการตรวจทางคลินิก 517 60.93 207 24.41 429 50.77 938 111.07 1,186 141.66 และทางห้องปฏิบัติการมไิ ด้จำแนกไว้ 2,022 238.28 2,059 242.81 1,805 213.61 1,650 195.39 1,769 211.30

รวม 7,187 849.68 7,418 874.77 7,891 933.83 7,777 920.93 8,600 1,027.21

ท่ีมา : ระบบฐานข้อมลู การเกดิ -ตาย กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันที่ 17 มนี าคม 2565

34 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

สาเหตกุ ารตายทสี่ ำคัญ 10 อนั ดบั แรก จำแนกตามสาเหตกุ ารตาย 103 กลมุ่ โรค เมื่อจำแนกสาเหตุการตายเป็น 103 กลุ่มโรค พบว่าสาเหตุการตายที่สำคัญของประชากรจังหวัด

สุพรรณบุรี ในปี พ.ศ. 2564 ที่เป็นสาเหตุการตายสำคัญ 10 อันดับแรก ได้แก่ 1.โรคระบบประสาททีเ่ หลืออยู่ 2. ปอดบวม 3. โรคหลอดเลือดสมอง 4.โลหิตเป็นพิษ 5. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 6. โรคหัวใจขาด เลือด 7.โรคของระบบสืบพันธุ์และทางเดินปัสสาวะที่เหลืออยู่ 8. โรคเบาหวาน 9.เนื้องอกชนิดร้ายที่ เหลืออยู่ และ 10. โรคความดนั โลหติ สงู ดงั ตาราง

ตารางที่ 20 จำนวนและอัตราตายตอ่ ประชากรแสนคน จำแนกตามกลุ่มสาเหตุการตาย 103 กลุ่มโรค ของประชากรจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2564

ลำดบั กลุม่ โรค จำนวน อัตรา : แสน

ประชากร

1 61 : โรคระบบประสาทท่เี หลืออยู่ 1,181 141.06

2 74 : ปอดบวม 610 72.86

3 69 : โรคหลอดเลือดในสมอง 596 71.19

4 12 : โลหติ เป็นพษิ 547 65.36

5 104 : โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 362 43.24

6 67 : โรคหัวใจขาดเลอื ด 329 39.30

7 86 : โรคของระบบสบื พนั ธแ์ุ ละทางเดนิ ปัสสาวะ 310 37.03

ที่เหลอื อยู่

8 52 : โรคเบาหวาน 226 26.99

9 46 : เนอื้ งอกชนดิ รา้ ยท่ีเหลอื อยู่ 224 26.76

10 66 : โรคความดันโลหิตสูง 214 25.56

ทม่ี า : ระบบฐานข้อมลู การเกิด-ตาย กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วนั ท่ี 17 มนี าคม 2565 หมายเหตุ : การจัดลำดับไม่นำสาเหตกุ ารตายกลุ่ม 94 : อาการ อาการแสดงและส่ิงผดิ ปกตทิ ่ีพบจากการตรวจทางคลินกิ และตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ท่ีมไิ ดม้ ีรหสั ระบุไว้ (R00-R99) มาจัดลำดับ ประชากรกลางปี 2564 คอื 837,218 คน

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี 35

การตายดว้ ยโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อจำแนกสาเหตุการตาย (103 กลุ่มโรค) ในปี พ.ศ. 2564 โดยใช้ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พบว่า ประชาชนท่ีมีทอ่ี ยู่อาศยั ตามทะเบยี นราษฎร์ในจงั หวัดสุพรรณบุรี เสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 362 คน จำแนกเป็น เพศชาย 173 คน เพศหญิง 189 คน อายุมากที่สุด 99 ปี น้อยที่สุด 21 ปี อายุเฉลี่ย 67 ปี ผู้เสียชีวิตมีที่อยู่อาศัยในอำเภอสองพี่น้องมากท่ีสุด 81 คน รองลงมาได้แก่อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จำนวน 76 คน และอำเภอบางปลาม้า 51 คน (ตารางที่ 21) ซ่ึง ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 255 คน คิดเป็นร้อยละ 70.44 (ตารางที่ 22) เมื่อจำแนก ผู้เสียชีวิตรายเดือนตั้งแต่เดือนมกราคม-ธันวาคม 2564 พบว่า เริ่มมีผู้เสียชีวิตตั้งแต่เดือนพฤษภาคม- พฤศจิกายน โดยมีผู้เสียชีวิตรวมทั้งสิ้นจำนวน 362 คน และเดือนสิงหาคม 2564 มีผู้เสียชีวิตมากที่สุด จำนวน 164 คน ดงั ตารางที่ 23

ตารางที่ 21 จำนวนผเู้ สยี ชวี ติ ด้วยโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 จำแนกรายอำเภอ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

ปี พ.ศ. 2564

อำเภอ จำนวน (คน) ร้อยละ

เมอื งสุพรรณบรุ ี 76 20.99

เดิมบางนางบวช 21 5.80

ดา่ นชา้ ง 28 7.73

บางปลามา้ 51 14.09

ศรปี ระจันต์ 13 3.59

ดอนเจดีย์ 14 3.87

สองพีน่ ้อง 81 22.38

สามชกุ 17 4.70

อ่ทู อง 48 13.26

หนองหญา้ ไซ 13 3.59

รวม 362 100.00

ทีม่ า : ระบบฐานข้อมลู การเกิด-ตาย กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันท่ี 17 มนี าคม 2565

36 รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ตารางที่ 22 จำนวนผู้เสยี ชวี ิตด้วยโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 จำแนกตามกลุม่ อายุ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2564

กลุ่มอายุ จำนวน (คน) ร้อยละ เดก็ ปฐมวยั 0-5 ปี - - เดก็ วัยเรยี น 6-14 ปี - - วยั รุ่น 15-21 ปี 1 วยั ทำงาน 22-59 ปี 106 0.28 ผสู้ งู อายุ 60 ปขี น้ึ ไป 255 29.28 362 70.44 รวม 100.00

ทมี่ า : ระบบฐานขอ้ มูลการเกดิ -ตาย กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login ณ วันท่ี 17 มนี าคม 2565

ตารางที่ 23 จำนวนผู้เสยี ชวี ิตด้วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จำแนกรายเดือน จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2564

การบริการทุติยภูมิ มีอะไรบ้าง

การบริการทุติยภูมิ (Secondary Care) คือบริการสุขภาพที่รองรับผู้ป่วยที่ถูกส่งต่อมาจากคลินิกหรือศูนย์สุขภาพต่างๆ ในกรณีที่ต้องรับเข้าเป็นผู้ป่วยใน เช่น โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลเอกชน และคลินิกเฉพาะทางที่ตั้งอยู่ในโรงพยาบาลต่างๆ

หลักการที่สำคัญของการสาธารณสุขมูลฐานมีกี่ประการคือ

องค์ประกอบของงานสาธารณสุขมูลฐานดังกล่าวประกอบด้วยการบริการแบบผสมผสาน 4 ด้าน คือ การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพอนามัย การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ ซึ่งสามารถแยกออกเป็นงานที่ประชาชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเองออกเป็นงานต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่าเป็น องค์ประกอบของงานสาธารณสุขมูลฐาน จำนวน 14 องค์ประกอบคือ

ระบบบริการสุขภาพมีกี่ประเภท

ระดับของระบบบริการสุขภาพ LEVEL OF HEALTH CARE SYSTEM. แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. บริการระดับปฐมภูมิ (primary care) 2. บริการระดับทุติยภูมิ (secondary care) 3. บริการระดับตติยภูมิ (tertiary care)

Cup กับ PCU ต่างกันอย่างไร

Unit for Primary Care, CUP)12 หมายถึง หน่วยงานที่ สามารถเป็นหน่วยคู่สัญญารับงบประมาณเหมาจ่ายต่อหัว ประชากรได้ โดยที่ต้องมีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ จัดให้มี หน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit : PCU) ที่ทำหน้าที่ให้บริการสุขภาพทั่วไป ทั้งส่วนที่เป็นการรักษา พยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟู สภาพ ...