ตัวอย่าง โครงการ เพื่อน สอน เพื่อน

เพื่อนช่วยเพื่อน : มีคำกล่าวไว้ว่าหลายหัวย่อมดีกว่าหัวเดียว การ์ดนี้เอาไว้ใช้เพื่อให้นักเรียนได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ผ่านการจับคู่ ทำงานกลุ่ม ใช้ระบบ Buddy หรือสร้างพื้นที่ให้ทุกคนสามารถแบ่งปันความรู้ คะแนน และของรางวัลให้กันได้

Kruator Cardเพื่อนช่วยเพื่อนทักษะการร่วมมือkruatorเพื่อนช่วยเพื่อน

ทุกการเริ่มต้นมักแฝงความท้าทายมาให้เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับงานแนะแนวอย่าง โครงการเพื่อนที่ปรึกษา YC (Youth Counselor) ที่ส่วนตัวแล้วแอดมินมองว่า เป็นประโยชน์ด้านการเน้นสร้างนักเรียนให้สามารถทำหน้าที่เพื่อนที่ปรึกษาในโรงเรียนได้อย่างเข้มแข็ง เตรียมความพร้อมสำหรับการแข่งขันศิลปหัตถกรรมซึ่งจะเป็นกิจกรรมที่สำคัญอีกชิ้นให้นักเรียนได้ รู้จัก และทบทวนตนเองถึงความพร้อม ความเข้าใจในงานสายการให้คำปรึกษาและช่วยเหลือผู้อื่นค่ะ

วันนี้แนะแนวฮับได้รวบรวมไฟล์แนวทางการเขียนโครงการไว้ให้แล้วถึง 3 แนวทาง ให้ครูนำไปปรับใช้ตามบริบทของโรงเรียนได้เลยค่ะ ตามไปดาวน์โหลดไฟล์การเขียนโครงการเพื่อนที่ปรึกษาได้ที่ https://bit.ly/3El41ZC

ตัวอย่าง โครงการ เพื่อน สอน เพื่อน


พิเศษ! เปิดคอร์สออนไลน์ชวนคุณครูที่ต้องสอนแนะแนวทุกท่านมาเรียน

ตัวอย่าง โครงการ เพื่อน สอน เพื่อน

หลักสูตรการเรียนการสอนแนะแนวและการสร้างพื้นที่ปลอดภัย (Online)

ถ่ายทอดโดยเพื่อนครูแนะแนวผู้มีประสบการณ์ตรงในการนำไปใช้จนเห็นผลการเปลี่ยนแปลง พร้อมเคล็ดลับและคำแนะนำที่สามารถใช้ได้จริง

��������´�ç���/�Ԩ����

ʶҹС�ô��Թ�ç���

�������� ���ѧ���Թ��� ���� �����Թ��� ¡��ԡ

�������Ҵ��Թ�ç���

����� �֧

�ѵ�ػ��ʧ��

��Ǫ���Ѵ�ç���

������Ǫ���Ѵ

�š�ô��Թ�ҹ

��鹵͹��ô��Թ�ҹ

�����������¼����������ç���

�ӹǹ�����������ç���

������� �� ���������ԧ �� ������ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}

��ػ�Ŵ��Թ�ҹ

�ѭ��-�ػ��ä

����ʹ���

�͡���Ṻ

�����§ҹ��

�ҹ��� �ҡ��

��

16280 , 16206

�ѹ/�����������ش

6 �á�Ҥ� 2560 15:52

การเรียนรู้แบบเพื่อนสอนเพื่อน (Peer Teaching) ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการวางแผนและรายงานความก้าวหน้าในการพัฒนาแผนการสอนเพื่อนอย่างต่อเนื่อง จนกว่าแผนการสอนเพื่อนจะสมบูรณ์มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ดังนั้นผู้สอนจำเป็นต้องกำหนดเวลาในการรายงานความก้าวหน้าแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน จึงจะทำให้กิจกรรมเพื่อนสอนเพื่อนเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด ในขณะเดียวกันผู้สอนจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นในการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียน หากกลุ่มใดที่ผู้สอนสังเกตว่าสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้ด้วยตนเอง ผู้สอนควรให้กำลังใจและสนับสนุน แต่หากมีกลุ่มที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ผู้สอนไม่ควรใช้วิธีการบอกให้ผู้เรียนทำ แต่ควรใช้วิธีการยกตัวอย่างสถานการณ์ใกล้เคียงหรือแนะนำแหล่งค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม

โครงการเพือ่ นสอนเพื่อน โรงเรยี นทาขมุ เงนิ วทิ ยาคาร

ผ้จู ดั ทำโครงการ นายพงศกร ธูปหอม 59205720

โครงการนีเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู หลกั สูตรการศกึ ษาบณั ฑิต

สาขาวชิ าการศกึ ษา แขนงวิชาชีววทิ ยา วิทยาลัยการศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา พุทธศกั ราช 2563

ชอ่ื โครงการ : เพื่อนสอนเพอื่ น ประเภทโครงการ : กิจกรรมนสิ ิตฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู โรงเรียนทาขมุ เงนิ วิทยาคาร

อำเภอแม่ทา จังหวดั ลำพนู ลักษณะของโครงการ :  โครงการต่อเนือ่ ง  โครงการใหม่ 1. หลกั การและเหตุผล

การจดั การเรียนการสอนในยคุ ปจั จุบนั เป็นการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง หรือการเรียน การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งได้รับความนิยมและเป็นที่แพร่หลายในปัจจุบัน อีกทั้งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 22 กำหนดไว้ว่า “การจดั การศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรยี นทกุ คนมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ” และตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กำหนดหลักการ ข้อ 3 ซึ่งกำหนดไว้ว่า “ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดย ถือว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ” แต่ในความเป็นจริงแล้วการจัดการ เรียนการสอนส่วนใหญ่มีการเน้นครูเป็นศูนย์กลางในการให้ความรู้กับนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลให้นักเรียน ขาดทักษะที่สำคัญในการใช้ชีวิตและทำงานในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ 1)ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ความเต็มใจร่วมมือ เป็นต้น 2) ทักษะสารสนเทศ เช่น รู้เท่าทันสื่อ เป็นต้น 3) ทักษะชีวิต และอาชีพ เช่น การมีความเป็นผู้นำ การรู้จักเข้าสังคม เป็นต้น เนื่องจากนักเรียนขาดปฏิสัมพันธ์ต่อเพื่อนร่วม ชั้นเรียน นักเรียนเกิดการแข่งขันกันในชั้นเรียนขึ้น ส่งผลให้นักเรียนที่เก่งสามารถเรียนรู้ได้เร็ว ส่วนนักเรียนที่ เรียนปานกลางและอ่อนเรียนรูไ้ ด้ช้า และขาดความกล้าในการถามครู ซึ่งจะส่งผลต่อความเข้าใจในเนื้อหาวิชา นน้ั ยง่ิ ไปกวา่ นัน้ อาจสง่ ผลต่อการเรยี นรู้และใช้ชวี ติ ของนกั เรยี นในอนาคต จึงอาจกลา่ วได้วา่ เกดิ การเล่ือมล้ำใน ชัน้ เรยี นข้ึน

ดงั นนั้ โครงการเพอื่ นชว่ ยเพือ่ นจงึ เป็นโครงการที่นา่ สนใจทีจ่ ะใหก้ ารจัดการเรียนการสอนมีบรรยากาศทีด่ ี ลด ความไม่เท่าเทียมกันในชัน้ เรยี น ช่วยให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมชั้น มีการช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และได้รับการฝึกทักษะสำคัญในการใช้ชีวิตและทำงานในศตวรรษที่ 21 อันจะนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีของ นกั เรยี นในอนาคตต่อไป

2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ให้นักเรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 (แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร)์ มีการชว่ ยเหลือซ่ึง กนั และกัน 2. เพื่อให้นักเรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์) มีการ ทำงานรว่ มกันเป็นทีม 3. เพ่ือให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์) มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นสูงมากขึ้น

3. เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ • ร้อยละ 60 ของนักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์) คิดเป็น จำนวน 11 คน สามารถทำแบบทดสอบได้ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของจำนวนแบบทดสอบทัง้ หมด คดิ เป็น 6 ขอ้ จากทง้ั หมด 10 ข้อ เชิงคุณภาพ • นกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์) มกี ารชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกันเพม่ิ มากข้ึน • นักเรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร)์ มีการทำงานร่วมกนั เปน็ ทีมเพ่ิมมากข้นึ

4. ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นายพงศกร ธปู หอม ครทู ่ปี รึกษาโครงการ นางสาวชชั ฎาภรณ์ หงษน์ วล

5. สถานทีด่ ำเนินการ โรงเรียนทาขมุ เงินวทิ ยาคาร

6. ระยะเวลาในการดำเนนิ การ มกราคม - มนี าคม 2564

7. วิธดี ำเนินการ

ขน้ั ตอน กจิ กรรม ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. นายพงศกร 1. ขัน้ เตรยี มการ 1.1 กำหนดหัวข้อ วตั ถุประสงค์โครงการ ธปู หอม 1.2 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการรบั ผิดชอบในการ ดำเนินงานโครงการ 1.3 เขยี นโครงการเพอื่ นช่วยเพอื่ น 1.4 เสนอโครงการเพอื่ ขออนุมตั ิ 2.1 ดำเนนิ งานตามแผน ทีไ่ ด้จดั วางไว้

2. ขั้นดำเนินการ 3.1 ติดตามการดำเนินงาน 3. ติดตามและ 3.2 แบบทดสอบ

ประเมินผผล 4.1 นำผลการตดิ ตามปรบั ปรุงแก้ไขในครงั้ 4. ปรบั ปรุงแกไ้ ข ตอ่ ไป

4.2 สรุปรายงาน

8. งบประมาณในการดำเนนิ การ -

9. การตดิ ตาม/ประเมินผล วธิ ีวัดและประเมินผล เคร่อื งมือท่ใี ช้วัด ทดสอบ แบบทดสอบ ตวั บ่งชสี้ ภาพความสำเรจ็ ประเมิน แบบประเมนิ ดา้ นปรมิ าณ ความพึงพอใจ

• รอ้ ยละ 60 ของนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร)์ คดิ เป็นจำนวน 11 คน สามารถทำแบบทดสอบไดไ้ ม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนแบบทดสอบทั้งหมด คิดเป็น 6 ข้อ จากทงั้ หมด 10 ขอ้

ดา้ นคุณภาพ

• นกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 (แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร)์ มีการช่วยเหลือซึง่ กันและกัน เพิ่มมากข้ึน

• นักเรียนระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 (แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร)์ มีการทำงานร่วมกันเปน็ ทมี เพม่ิ มากขนึ้

10. ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ 10.1 ร้อยละ 60 ของนกั เรยี นระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์) คิดเป็น จำนวน 11 คน สามารถทำแบบทดสอบได้ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนแบบทดสอบท้ังหมด คิด เป็น 6 ขอ้ จากทง้ั หมด 10 ข้อ 10.2 นักเรียนระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 (แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร)์ มกี ารชว่ ยเหลอื ซ่งึ กัน และกันเพม่ิ มากข้นึ 10.3 นกั เรยี นระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร)์ มีการทำงานรว่ มกนั เปน็ ทีมเพิ่มมากขน้ึ

ลงชื่อ..................................................ผเู้ สนอโครงการ ( นายพงศกร ธูปหอม )

ตำแหน่ง นิสติ ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู

ลงช่อื ..................................................ผู้เห็นชอบโครงการ ( นางสาวชชั ฎาภรณ์ หงษ์นวล ) ตำแหน่ง ครพู ่เี ลยี้ ง

ลงชอ่ื .................................................ผู้อนมุ ตั โิ ครงการ ( นายยงยทุ ธ กนั ไชยสัก )ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นทาขมุ เงนิ วิทยาคาร

สรุปรายงาน โครงการเพ่อื นสอนเพอ่ื น ภาคเรยี นที่ 2 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 มกราคม – มีนาคม 2564 ณ โรงเรยี นทาขมุ เงินวิทยาคาร

โครงการเพื่อนสอนเพ่ือน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์) มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อให้นักเรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์) มีการทำงานร่วมกันเปน็ ทีม และเพือ่ ให้นกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 (แผนการ เรียนวทิ ยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสงู มากขึ้น

โครงการเพื่อนสอนเพื่อนเป็นกิจกรรมในชั้นเรียนโดยครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม จากนั้นในแต่ละคาบเรียนเมื่อครู สอนเสร็จในแต่ะครั้งครูให้แบบทดสอบนักเรียนไปหาคำตอบและมาสอนเพื่อนในคาบถัดไป ซึ่งสมาชิกในกลุ่มน้ัน ประกอบด้วยผู้สอน 1 คน และอีก 4 คนเป็นผู้กำกับคอยดูแลเพื่อนในห้องที่เหลือ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโจทย์ท่ี เพื่อนสอน ระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบตั ิกิจกรรมโครงการ 3 สปั ดาห์ จากนน้ั เมื่อปฏบิ ัติกิจกรรมเสร็จให้นักเรียนทำ แบบทดสอบเพื่อวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน และให้นกั เรยี นประเมินความพงึ พอใจของโครงการเพ่ือนสอนเพ่อื น

เนอื้ หาสาระท่ใี ช้ในกจิ กรรมได้แก่ เน้อื หาชีววทิ ยา 2 บทที่ 5 การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม

สรปุ ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินโครงการเพื่อนสอนเพื่อน สามารถสรุปผลการดำเนินงาน โดยการทดสอบนักเรีย นเกี่ยวกับ

เนื้อหา บทที่ 5 เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม พบว่า นักเรียนสอบผ่านได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ แบบทดสอบทั้งหมด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33 ของนักเรียนทั้งหมด 15 คน ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย เชิงปริมาณของโครงการ และจากผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดย สว่ นใหญ่รอ้ ยละ 43.33 อยู่ในระดบั มาก ซ่งึ แสดงให้เห็นว่านักเรียนมกี ารชว่ ยเหลือกันเพ่ิมมากข้ึน และในส่วนของ นักเรียนมีการทำงานร่วมกันเป็นทีมโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 62.22 อยู่ในระดับมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนมีการ ชว่ ยเหลือกันเพม่ิ มากขึ้น ดงั นนั้ จึงกล่าวไดว้ ่าเปน็ ไปตามเป้าหมายเชิงคณุ ภาพ

ความคดิ เหน็ ของผู้เข้ารว่ มโครงการ 1. นักเรียนเสนอให้มีการหมนุ เวียนหน้าท่ีกันภายในกลุ่ม เช่น หมนุ เวียนตำแหนง่ นักเรยี นท่ีออกมาสอนหน้าชั้น เรียนทกุ ครง้ั ท่ีทำการสอน 2. นักเรียนเสนอใหม้ เี วลาในการทำโครงการมากขึน้ เพื่อท่จี ะใหส้ มาชิกภายในกลุ่มได้เตรียมตัวใหด้ ีที่สุดก่อนมา สอนเพ่ือนในห้องเรยี น

ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการหมุนเวยี นหนา้ ทภี่ ายในกลมุ่ ของนักเรียน โดยครูใหส้ ร้างตำแหน่งของสมาชิกภายในกลุ่มและกติกา การเวียนหน้าทภ่ี ายในกลมุ่ 2. ควรเพิ่มเวลาในการทำโครงการมากข้ึน เนือ่ งจากการเตรียมตัวมาสอนเพือ่ นหนา้ ช้ันเรยี นสำหรับนักเรียนน้ัน ตอ้ งใช้เวลาในการเตรียมตวั มาก

ภาคผนวก

ตารางท่ี 1 คะแนนสอบโครงการเพื่อนสอนเพอื่ น

ลำดบั ท่ี คำนำหน้าชือ่ ช่อื -สกุล คะแนน 1 นาย ชยานันท์ หลา้ กาศ 8 2 นาย ณฐั ภัทร จันตะ๊ ตงึ 6 3 นาย เทวฤทธ์ิ แสนสะวะ 7 4 นาย ภัทรพล กา๋ กาศ 6 5 นาย ศรยุทธ ขนาดกตัญญู 5 6 นางสาว ฐติ นิ ันท์ รัตนะมณี 4 7 นางสาว นรี ชา ลงุ มุ้ง 6 8 นางสาว นิภาพร องค์จนั ต๊ะ 7 9 นางสาว เบญจวรรณ แสนแก้วกาศ 8 10 นางสาว พีรดา ธรรมมากาศ 9 11 นางสาว สิริวรศิ รา กันทะวงค์ 5 12 นางสาว จุฑารัตน์ เสวะกะ 5 13 นางสาว ณฐั ธดิ า กิตมิ า 6 14 นางสาว ดสิ ยากรณ์ มะโนเสาร์ 6 15 นางสาว สริ าวรรณ ศรมี ะณี 6

กราฟแสดงความพึงพอใจ

ภาพท่ี 1 นกั เรยี นดำเนนิ กิจกรรมตามโครงการเพื่อนสอนเพือ่ น ภาพที่ 2 นกั เรียนดำเนินกิจกรรมตามโครงการเพื่อนสอนเพอื่ น

ภาพที่ 3 นักเรียนดำเนนิ กิจกรรมตามโครงการเพ่ือนสอนเพือ่ น ภาพที่ 4 นักเรยี นดำเนินกิจกรรมตามโครงการเพื่อนสอนเพอื่ น

ภาพท่ี 5 นกั เรยี นดำเนินกิจกรรมตามโครงการเพื่อนสอนเพ่ือน ภาพที่ 6 นักเรยี นดำเนินการสอบและประเมินความพึงพอใจ

ภาพที่ 7 นักเรียนดำเนินการสอบและประเมินความพึงพอใจ ภาพที่ 8 นักเรยี นดำเนินการสอบและประเมนิ ความพึงพอใจ