การด แลร กษาเคร องคอมพ วเตอร และโทรศ พท ม อถ อ

หลกั การของอินเตอรเ์ น็ต

ความหมายของอินเตอรเ์ น็ต

อนิ เตอร์เน็ต (Internet) น้นั ยอ่ มาจากคาวา่ “International network” หรือ “Inter Connection network” ซ่ึงหมายถึง เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญท่ ่ีเช่ือมโยงเครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์ทวั่ โลกเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เพ่อื ใหเ้ กิดการส่ือสาร และการแลกเปล่ียนขอ้ มูลร่วมกนั โดยอาศยั ตวั เชื่อมเครือขา่ ยภายใตม้ าตรฐานการเช่ือมโยงเดียวกนั นน่ั ก็คอื TCP/IP Protocol ซ่ึงเป็น ขอ้ กาหนดวิธีการติดต่อส่ือสารระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ในระบบเครือข่าย ซ่ึงโปรโตคอลน้ีจะช่วยให้ คอมพวิ เตอร์ที่มีฮาร์ดแวร์ท่ีแตกต่างกนั สามารถติดต่อถึงกนั ได้

การที่มีระบบอินเตอร์เน็ต ทาใหส้ ามารถเคล่ือนยา้ ยขา่ วสารขอ้ มูลจากที่หน่ึงไปยงั อีกที่หน่ึงได้ โดยไม่จากดั ระยะทาง ส่งขอ้ มลู ไดห้ ลายรูปแบบ ท้งั ขอ้ ความตวั หนงั สือ ภาพ และ เสียง โดยอาศยั เครือข่ายโทรคมนาคม เป็นตวั เชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนบั เป็นอภิระบบเครือข่ายท่ียง่ิ ใหญ่มาก มีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์หลายลา้ น เคร่ืองทว่ั โลกเชื่อมต่อกบั ระบบ ทาใหค้ นในโลกทุกชาติทกุ ภาษาสามารถติดตอ่ สื่อสารกนั ได้ โดยไม่ตอ้ ง เดินทางไป โลกท้งั โลกเปรียบเสมือนเป็นบา้ นหน่ึงท่ีทกุ คนในบา้ นสามารถพูดคยุ กนั ไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมง ประหยดั เวลา คา่ ใชจ้ ่าย แตเ่ กิดประโยชน์ต่อสังคมโลกปัจจุบนั มาก

ประวตั ิความเป็นมาของของอินเตอรเ์ น็ต

ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ประเทศรสั เซยี สง่ ดาวเทยี มขน้ึ สอู่ วกาศไดส้ าเร็จ กระทรวงกลาโหมของสหรฐั อเมรกิ าจงึ ไดร้ ับรวู ้ า่ เทคโนโลยชี นั้ สงู ของประเทศยงั

ลา้ หลงั กวา่ ของรสั เซยี ซงึ่ สง่ ผลใหเ้ กดิ การตน่ื ตัว ทจี่ ะพฒั นาเทคโนโลยชี นั้ สงู รฐั บาลสหรฐั อเมรกิ าโดยกระทรวงกลาโหม จงึ กอ่ ตงั้ หน่วยงานวจิ ยั ชนั้ สงู ทชี่ อ่ื วา่

Advanced Research Projects Agency หรอื ทรี่ จู ้ กั กนั ในนามของ ARPA

ตอ่ มา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ARPA ไดใ้ หท้ นุ แกม่ หาวทิ ยาลยั ของสหรัฐอเมรกิ า เพอื่ การทาวจิ ยั ในหวั ขอ้ เรอื่ ง เครอื ขา่ ยการทางานรว่ มกนั ของคอมพวิ เตอรแ์ บบแบง่ เวลา (Cooperative network of Time-Shared Computers) หลงั จากนัน้ อกี ๓ ปี กระทรวงกลาโหมกไ็ ดส้ นับสนนุ โครงการวจิ ยั เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ทช่ี อ่ื วา่

ARPANET จนกระทงั่ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ โครงการ ARPANET ไดเ้ ชอ่ื มโยง คอมพวิ เตอรข์ องมหาวทิ ยาลยั ๔ แหง่ เขา้ ดว้ ยกนั

หลกั การของอินเตอรเ์ น็ต

การใชอ้ ินเตอรเ์ นต็ เพ่ือการติดต่อส่อื สาร เป็นการใชอ้ ินเตอรเ์ นต็ ในการติดต่อสอื่ สาร ระหวา่ งคณาจารยแ์ ละ นกั ศกึ ษาสถาบนั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ไมว่ ่าจะเป็นการสง่ การบา้ น นดั หมาย อภปิ ราย แลกเปลี่ยน

ความคดิ เห็นต่างๆ รวมทงั้ การแจกจ่ายท่ีอย่ทู างไปรษณียอ์ เิ ลคทรอนิคส์ หรือท่ีอยบู่ นเวิลดไ์ วดเ์ ว็บ เน่ืองจากมคี วามสะดวก คอื ใชเ้ วลาเพียงไม่กี่นาทีเทา่ นนั้ ผรู้ บั ไมจ่ าเป็นตอ้ งรอรบั ขอ้ มลู อย่เู หมอื นการใช้

โทรศพั ท์

นอกจากนี้ ยงั มบี รกิ ารทางอินเตอรเ์ น็ต ซง่ึ เป็นท่นี ยิ มในหมนู่ กั การศกึ ษาอกี ประเภท คือ LISTSERV ซงึ่ เป็นบรกิ ารทอ่ี นญุ าตใหน้ กั การศกึ ษาสามารถสมคั ร เป็นสมาชิก ของกลมุ่ สนทนา(Discussion Group) ท่ีมคี วามสนใจในเรอ่ื ง เดียวกนั โดยผสู้ นใจจะตอ้ งสง่ อเี มลไ์ ปยงั ท่อี ยขู่ องกลมุ่ สนทนา ซงึ่ จะนาท่ีอยอู่ เี มลข์ อง ผสู้ นใจไปใสไ่ วใ้ น ลสิ ตร์ ายช่ือสมาชกิ (Mailing list) เม่อื มีผสู้ ง่ ขอ้ ความมายงั กลมุ่ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ก็จะทาการคดั ลอกและจดั สง่ ขอ้ มลู นีไ้ ปตามลสิ ตร์ ายชื่อ

สมาชกิ ท่มี ีอยู่ จะทาใหเ้ รารบั ทราบขอ้ มลู ท่ที นั สมยั ตลอดเวลา

การเชื่อมต่อของระบบอินเตอรเ์ น็ต

การนาเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ของเราเขา้ เช่ือมกบั ระบบอินเทอร์เน็ต สามารถกระทาได้ 2 ลกั ษณะ คือ

การเช่ือมต่อโดยตรง การเช่ือมตอ่ แบบน้ีจะเป็นการนาระบบของเราเขา้ เชื่อมตอ่ โดยตรงกบั สาย หลกั (Backbone) ของอินเทอร์เน็ต โดยผา่ นอุปกรณ์ท่ีเรียกวา่ เกตเวย์ (Gateway) หรือ เร้าเตอร์ (Router) ร่วมกบั สายสญั ญาณความเร็วสูง โดยเราจะตอ้ งติดต่อโดยตรงกบั InterNIC ซ่ึงเป็นองคก์ รท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นตวั กลางในการรับสมคั รเป็นสมาชิกของชุมชน อินเทอร์เน็ต เพ่ือขอชื่อโดเมนและติดต้งั เกตเวยเ์ ขา้ กบั สายหลกั การเช่ือมต่อแบบน้ีจะสามารถ ติดตอ่ กบั อินเทอร์เน็ตไดต้ ลอดเวลา จึงเหมาะสาหรับองคก์ รท่ีตอ้ งการติดตอ่ ส่ือสารกบั ผอู้ ่ืนใน

ระบบ 24 ชวั่ โมง แต่อยา่ งไรก็ดี คา่ ใชจ้ ่ายในการเชื่อมต่อลกั ษณะน้ีจะมีราคาแพงมากท้งั ทางดา้ นอุปกรณ์และการบารุงรักษา

การเชื่อมต่อผา่ นทางผใู้ หบ้ ริการ ผใู้ หบ้ ริการการเชื่อมตอ่ เขา้ ระบบอินเทอร์เนต็ (Internet Service Provider) หรือท่ีเรียกส้ันๆ วา่ ไอเอสพี (ISP) จะเป็นองคก์ รๆ หน่ึงที่ทา

การติดต้งั และดูแลเครื่องสาหรับใหบ้ ริการ (Server) ที่ต่อตรงเขา้ กบั

องคป์ ระกอบในการใชง้ านอินเตอรเ์ น็ต

เครือข่ายอินเทอร์เนต็ เหมือนใยแมงมมุ ท่ีมีจุดเชื่อมตอ่ กนั อยแู่ ลว้ และเทคโนโลยที ่ีใชใ้ นการ เชื่อมต่อมีหลายชนิดใหเ้ ลือกใช้ เช่น โมเดม็ เอดีเอสแอล แอร์การ์ด ทรีจี ไวเลส

การส่ือสารขอ้ มูลดว้ ยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซ่ึงเป็นระเบียบวธิ ีการ สื่อสารที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกาหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานสาหรับการ

เชื่อมตอ่ อินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)

เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทุกเครื่องที่เช่ือมตอ่ เขา้ กบั เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะตอ้ งมีหมายเลขประจา เคร่ือง ท่ีเรียกวา่ IP Address เพื่อเอาไวอ้ า้ งอิงหรือติดต่อกบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์อ่ืนๆ ใน เครือข่าย ซ่ึง IP ในท่ีน้ีก็คือ Internet Protocol ตวั เดียวกบั ใน TCP/IP นน่ั เอง IP address ถกู จดั เป็นตวั เลขชุดหน่ึงขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดน้ีจะมีตวั เลขถกู แบง่ ออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กนั เวลาเขียนก็แปลงใหเ้ ป็นเลขฐานสิบก่อนเพอ่ื ความงา่ ยแลว้ เขียน โดยคน่ั แต่ละส่วนดว้ ยจุด (.) ดงั น้นั ในตวั เลขแตล่ ะส่วนน้ีจึงมีค่าไดไ้ มเ่ กิน 256 คือ ต้งั แต่ 0

จน

องคป์ ระกอบในการใชง้ านอินเตอรเ์ น็ต

1. การเชื่อมตอ่ อินเตอร์เนต็ แบบไร้สายผา่ นเคร่ืองโทรศพั ทบ์ า้ นเคลื่อนที่ PCT เป็นการเช่ือมตอ่ อนิ เทอร์เนต็ ผา่ น คอมพิวเตอร์โนต้ บุก๊ (Note book) และคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (Pocket PC) ผใู้ ชจ้ ะตอ้ งมี โมเด็ม ชนิด PCMCIA ของ PCTผใู้ ชส้ ามารถใชอ้ ินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลได้

2. การใชง้ านอินเตอร์เน็ตผา่ นโทรศพั ทม์ ือถือโดยตรง (Mobile Internet) 2.1 WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของ

อปุ กรณ์ไร้สายที่ใชง้ านบนอนิ เตอร์เน็ต ใชภ้ าษา WML (Wireless Markup Language) ในการ พฒั นาข้ึนมา แทนการใชภ้ าษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบ ใน www โทรศพั ทม์ ือถือปัจจบุ นั หลายๆยห่ี อ้ จะสนบั สนุนการใชW้ AP เพ่อื ทอ่ งอินเตอร์เนต็ ซ่ึงมีความเร็วในการ รับส่งขอ้ มลู ที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตน้นั จะมีการคดิ อตั ราค่าบริการเป็นนาทีซ่ึงยงั มีราคา แพง

2.2 GPRS (General Packet Radio Service) เป็นเทคโนโลยีท่ี พฒั นาข้ึนเพอื่ ให้โทรศพั ทม์ ือถือสามารถเช่ือมต่อกบั อนิ เตอร์เน็ตดว้ ยความเร็วสูง และสามารถส่งขอ้ มูลไดใ้ นรูปแบบของ มลั ติมีเดีย ซ่ึงประกอบดว้ ย ขอ้ ความ ภาพกราฟิ ก เสียง และวดี ิโอ ความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู ดว้ ยโทรศพั ทท์ ี่ สนบั สนุน GPRS อยทู่ ี่ 40 bps ซ่ึงใกลเ้ คยี งกบั โมเดม็ มาตรฐานซ่ึงมีความเร็ว 56 kbps อตั ราค่าใชบ้ ริการคดิ ตามปริมาณขอ้ มลู ท่ีรับ-ส่ง ตามจริง ดงั น้นั จึงทาใหป้ ระหยดั กวา่ การใช้ WAP และยงั ส่ือสารไดร้ วดเร็วข้ึนดว้ ย

2.3 โทรศพั ทร์ ะบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA น้นั สามารถรองรับการส่ือสารไร้สายความเร็วสูงไดเ้ ป็นอยา่ งดี โดยสามารถทาการรับส่ง ขอ้ มูลไดส้ ูงสุด 153 Kbpsซ่ึงมากกว่าโมเดม็ ท่ีใชก้ บั โทรศพั ทต์ ามบา้ นที่เชื่อมต่ออนิ เทอร์เนต็ ไดเ้ พียง56 kbps นอกจากน้ี ระบบ CDMA ยงั สนบั สนุนการส่งขอ้ มลู ระบบมลั ติมีเดียไดด้ ว้ ย

2.4 เทคโนโลยี บลทู ูธ (Bluetooth Technology) เทคโนโลยบี ลูทธู ถูกพฒั นาข้ึนมา เพ่อื ใชก้ บั การสื่อสารแบบไร้สาย โดยใชห้ ลกั การการส่งคลื่นวิทยุ ที่อยใู่ นยา่ นความถ่ีระหวา่ ง 2.4 - 2.4 GHz ใน ปัจจบุ นั น้ีไดม้ ีการผลิตผลิตภณั ฑต์ ่างๆท่ีใชเ้ ทคโนโลยไี ร้สาย

บลธู ูทเพอ่ื ใชใ้ นอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์หลายๆชนิด เช่น โทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี คอมพวิ เตอร์โนต้ บคุ๊ คอมพิวเตอร์พอ็ คเกต็ พีซี

3. การเชื่อมต่ออนิ เตอร์เนต็ ดว้ ยโนต้ บุก๊ (Note book) ผา่ น โทรศพั ทม์ ือถอื ที่สนบั สนุนระบบ GPRS โทรศพั ทม์ ือถือท่ีสนบั สนุน GPRS จะทาหนา้ ที่

เสมือนเป็นโมเดม็ ใหก้ บั อุปกรณ์ที่นามาพว่ งต่อ ไมว่ า่ จะเป็น Note Book และในปัจจบุ นั บริษทั ท่ีใหบ้ ริการ โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีไดม้ ีการผลิต SIM card ท่เี ป็น Internet SIM สาหรับโทรศพั ทม์ ือถือเพ่อื ใหส้ ามารถติดต่อ กบั อนิ เทอร์เนต็ ไดส้ ะดวกและรวดเร็วมากข้นึ

ขอ้ ดีและขอ้ เสียของการใชอ้ ินเตอรเ์ น็ต

อินเตอร์เน็ตมีท้งั ขอ้ ดีและขอ้ เสียถา้ ผใู้ ชน้ าไปใชใ้ นทางที่ถูกกจ็ ะเกิดประโยชน์ มาก แต่ขณะเดียวกนั กอ็ าจมีขอ้ เสียบา้ งถา้ ผใู้ ชข้ าดคุณธรรมประจาใจ ซ่ึงสามารถจาแนกขอ้ ดีและขอ้ จากดั ไดด้ งั น้ี ข้อดี 1. สามารถติดต่อกบั คนไดท้ วั่ โลก 2. สามารถใชเ้ พอื่ แลกเปล่ียนขอ้ มูล , ความคิดเห็น 3. ช่วยในการคน้ หา และโอนยา้ ยโปรแกรมตา่ ง ๆ มาใชไ้ ดฟ้ รี 4. สามารถคน้ ควา้ วิจยั เพราะอินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนหอ้ งสมุดขนาดใหญ่ที่ มีหนงั สือตา่ ง ๆ หรือแหลง่ ความรู้มากมาย 5. อ่านขา่ วสารของกลุม่ สนทนาตา่ ง ๆ 6. สามารถท่องเท่ียวไปยงั สถานที่ต่าง ๆ ไดท้ ว่ั โลก 7. ติดต่อสื่อสารกนั ไดท้ ว่ั โลกในราคาถูก 8. หาเพอ่ื นใหม่ทางอินเตอร์เน็ตได้ 9. สามารถดูหนงั ฟังเพลง เล่นเกมสนุก ๆ ได้ 10. สั่งซ้ือสินคา้ และบริการต่าง ๆ ผา่ นทางอินเตอร์เน็ตได้ ข้อจำกดั 1. อาจมีการกลนั่ แกลง้ หลอกลวง จากผทู้ ่ีไม่หวงั ดี 2. ถา้ เลน่ อินเตอร์เน็ตมากเกินไป อาจทาใหเ้ สียการเรียนได้ 3. ถา้ นอนดึกมากเกินไปจะทาใหเ้ สียสุขภาพ 4. นงั่ อยหู่ นา้ จอนาน ๆ จะทาใหเ้ สียสายตา5. อาจเกิดอาชญากรรมท่ีใช้ เทคโนโลยรี ะดบั สูงได้