กระเบ องหล งคาไฟเบอร ซ เมนต ร นพร ม า

2. ระยะเก็บขอ้ มลู ใช้เวลาท้งั ส้นิ ประมาณ 2 เดอื น คือชว่ งกมุ ภาพันธ์ 2555 ถงึ มนี าคม 2555 การเกบ็

ขอ้ มลู ในอาคาต่างๆรวม 6 อาคาร เขตพน้ื ทตี่ ่อไปน้คี อื

กรงุ เทพมหานคร พื้นที่ เขตวฒั นา

จังหวดั สมุทรปราการ พืน้ ที่ อาเภอแพรกษา

จังหวดั นนทบุรี พืน้ ท่ี แจ้งวฒั นะ 24

จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา พื้นที่ ตาบลมหาพรหมณ์ อาเภอบางบาล

จงั หวดั ราชบรุ ี พน้ื ท่ี ตาบลดอนกรวย อาเภอดาเนินสะดวก

จังหวัดสระบรุ ี พ้นื ท่ี อาเภอแก่งคอย

3. การเกบ็ ตัวอยา่ งและวิธีการวิเคราะห์

3.1 ศึกษาวิธกี ารปฏิบตั งิ าน ได้แก่ การขนกระเบอ้ื ง การร้ือถอน การติดต้งั การตดั

3.2 ศกึ ษาปรมิ าณความเข้มขน้ ของใยหินไครโซไทล์ในงาน ตัด เจาะ ขนกระเบื้อง โดยเก็บตวั อย่าง

ตดิ อุปกรณ์ท่ตี ัวคนงาน และตดิ ตั้งไว้บรเิ วณปฏบิ ตั ิงานรวมท้งั หมด 24 ตัวอยา่ ง เก็บท่ีตวั คนงาน 12 ตัวอย่างและ

บริเวณปฏบิ ัตงิ าน 12 ตัวอย่าง

-3-

3.3 การวเิ คราะหแ์ ละการจัดทารายงาน 3.3.1 วธิ ีวิเคราะห์ NIOSH Method # 7400 (Phase Contrast Microscope), Fourth

Edition 1994 ระยะเวลาการวิเคราะหป์ ระมาณ 15 วัน 3 ชว่ ง คือ กุมภาพันธ์ มนี าคม และเมษายน 2555 3.3.2 ระยะเวลาการจดั ทารายงานประมาณ 15 วนั ชว่ ง เมษายน 2555

3.4 เกณฑม์ าตรฐานความปลอดภยั ใชม้ าตรฐาน ดังนี้

แหลง่ อ้างองิ คา่ มาตรฐาน (เฉลีย่ 8 ชัว่ โมง) 1*ACGIH (2011) (F) 2*กระทรวงมหาดไทย 0.1 เส้นใย/ลบ.ซม. 5 เสน้ ใย/ลบ.ซม.

1* American Conference of Governmental Industrial Hygienists (F) 2* กระทรวงมหาดไทย ตามประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ที่ 103

(F) คา่ ความเข้มขน้ ต่าสดุ ของปรมิ าณออกซเิ จน การนามาตรฐานไปใชต้ อ้ งคานงึ ถงึ ปริมาณออกซิเจนท่ีความดนั ปกติ (Barometric Pressure torr, Dry air 760 kilopascals) และ Oxygen Partial Pressure (pO2 Equivalent torr dry air) ที่ 20.948% ที่ 159 kilopascals และ เปอร์เซน็ ต์ออกซิเจน 20.9% (%O2 Equivalent) Dry Air at sea level เนอ่ื งจากการได้รบั ออกซิเจนในเลอื ดต่าสมองไดร้ ับออกซเิ จนไม่เพยี งพอ อาจทาใหเ้ กดิ อาการผิดปกติได้ เช่น หนา้ มืด วงิ เวยี น เปน็ ตน้ จงึ ตอ้ งนาปัจจยั ด้านสขุ ภาพคนงาน สภาวะแวดล้อมในการทางาน ระยะเวลาการรบั สัมผัสมาพจิ ารณาดว้ ย

*NIOSH : National Institute for Occupational Safety and Health (USA) -4-

บทที่ 3 ผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

1. ลักษณะการตดิ ตง้ั และประเภทอาคาร กระเบ้ืองใยหนิ ไครโซไทล์ ในกลมุ่ ศึกษาน้ี ส่วนใหญ่ใช้กระเบอื้ งลอนคูจ่ านวน 4 ใน 6 แหง่ ส่วนอกี 2 แห่งใช้

กระเบอ้ื งลอนเลก็ และจตลุ อน กระเบื้องใยหินไครโซไทล์ในเขตวฒั นา กรุงเทพมหานคร เป็นอาคารเอนกประสงค์ท่มี ขี นาดกลางใช้กระเบอื้ ง

2000 แผน่ สรา้ งในปี พ.ศ. 2505 อายุกระเบ้ือง 50 ปี สภาพกระเบอ้ื งสว่ นใหญย่ งั อยู่ในสภาพดี เป็นการรื้อกระเบ้ือง เก่า และติ ดตัง้ กระเบือ้ งใหม่ชนิดลอนค่ขู าวไปพร้อมกันโดยใช้ขอ ป . ปลา ยึดกับแปให้ปลายขอสอดทะลุ (ใชเ้ หล็ก ปลายแหลมตอก) แล้วสวมน๊อตขนั ไมม่ กี ารตัดกระเบือ้ ง

อาคารทเ่ี ป็นลกั ษณะบา้ นจัดสรร จานวน 2 แห่ง แห่งแรกเปน็ อาคารแถว ขนาด 3 ชัน้ 12 อาคารแถว ใช้ กระเบื้องจานวน 952 แผ่นต่อ 1 อาคารแถว เปน็ อาคารสร้างใหมต่ ั้งอยถู่ นนแจง้ วัฒนะ จั งหวัดนนทบรุ ี และแห่งที่ 2 เป็นอาคารคใู่ ช้กระเบือ้ งจานวน 220 แผน่ ตอ่ ชุด ตง้ั อยูอ่ าเภอแพรกษา จังหวดั สมุทรปราการ ทง้ั 2 แหง่ ใชก้ ระเบ้ือง ลอนคู่ มุงกระเบอ้ื งใหม่ ยดึ กระเบื้องใชส้ ว่านไฟฟ้ายงิ สกรูปลายสวา่ นยึดกบั แปและท้ัง 2 แหง่ ติดตัง้ กระเบอื้ งโดยไมไ่ ด้ ตดั มุม

อาคารตัง้ อยู่ในวดั 2 แหง่ ซึ่งมีลักษณะหลังคาแตกตา่ งกนั โดยวดั แหง่ แรก ในอาเภอบางบาล จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยาเป็นอาคารทรงไทย ใชก้ ระเบอ้ื งลอนเลก็ แบบตรงและแบบโคง้ จานวน 600 แผ่น สร้างในปี พ.ศ. 2513 อายกุ ระเบ้อื ง 42 ปี สภาพกระเบอ้ื งอย่ใู นสภาพดี เปน็ การรื้อกระเบอ้ื งเกา่ และตดิ ตงั้ กระเบ้อื งใหม่ไปพร้อมกนั เน่ืองจากลักษณะโครงสร้างหลงั คาลักษณะเรอื นไทยมีมมุ ยกสูง จั่วโค้งทาให้ระยะแปสั้นลงจงึ ต้องตัดกระเบ้ือง มากกวา่ ปกติ ยึดกระเบ้ืองโดยใช้ส ว่านไฟฟา้ ยิงสกรูเกลยี วปลอ่ ยยดึ กับแป อาคารทอ่ี ยใู่ นวดั แหง่ ท่ีสองอยใู่ นอาเภอ แก่งคอย จังหวดั สระบุรี เป็นกฏุ ิพระ ลักษณะโครงสร้างหลงั คาที่มมี มุ ยกและความลาดชนั ปกติ สรา้ งในปี พ .ศ. 2518 อายุกระเบือ้ ง 37 ปี สภาพกระเบื้องส่วนใหญย่ ังอยใู่ นสภาพดี เปน็ การรื้อกระเบอื้ งเกา่ และติดต้ังกระเบื้องใหม่ไ ป พร้อมกนั ใชก้ ระเบ้ืองจตุลอน จานวน 3500 แผน่ ไมม่ กี ารตัดมมุ ใช้คอ้ นตอกสกรูท ะลุกระเบ้อื งให้ถึงแปไม้แล้วขันให้ แนน่ โดยใชป้ ระแจเล่อื น

อาคารโรงเรยี นในอาเภอดาเนินสะดวก จั งหวัดราชบรุ ี เปน็ ลักษณะอาคารเอนกประสงค์ กระเบือ้ งหลงั คาท่ี รอ้ื ออกเป็นกระเบื้องชนิดปราศจากใยหิน ติดตงั้ ในปี พ .ศ. 2554 อายุกระเบือ้ งประมาณ 5 เดือน ลกั ษณะกระเบื้อง เก่า แตก และขาดกลาง แผ่นกระเบือ้ ง ซ่งึ มี รอยแตกร้าวมากกวา่ 100 แผน่ จึง จาเป็น ตอ้ งรอ้ื และเปลยี่ นใหม่ใช้ กระเบอ้ื งใยหนิ ลอนคู่ จานวน 1400 แผน่ รอ้ื กระเบอื้ งเกา่ และมุงกระเบอื้ ง ใหม่ไปพร้อมกัน ไม่มกี ารตัดมมุ ใช้สวา่ น ไฟฟ้ายงิ สกรูปลายสว่านยดึ กบั แป

-5-

2. ลกั ษณะงาน

การร้ือถอนในกล่มุ ที่ศกึ ษาโดยการคลายเกลียวน๊อตถอดสกรูยดึ ออก กระเบอ้ื งยงั คงอยู่ในสภาพเดิมมกี ารขน

ลาเลยี งแผ่นไปจัดเก็บ เพ่ือนาไปใชง้ านอื่นต่อไป เนอ่ื งจากมสี ภาพดีไม่แตกร้าว อายกุ ระเบื้องเก่าจาก 3 แห่ง (37, 42,

50 ปี) เฉล่ีย 43 ปี ยกเว้น การรอ้ื ถอนกระเบ้ืองปราศจากใยหนิ ไคลโซไทลจ์ ะมสี ภาพแตกรา้ วมาก (ประมาณ 100

กระเบื้องลอนคู่ มีกี่ประเภท

การมุงกระเบื้องลอนคู่ จะมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบหลังคาทรงจั่ว และ แบบหลังคาทรงปั้นหยา วันนี้เราเอาวิธีการมุงทั้งสองแบบมาให้ดูกันเลยจ้า

กระเบื้องหลังคาลอนคู่ ยี่ห้อไหนดี ที่สุด

ยี่ห้อที่ถูกแนะนำโดยช่างกลุ่มนี้มากที่สุด 4 อันดับแรกได้แก่ ตราช้าง (ร้อยละ 66.7) ตามด้วยตราเพชร (ร้อยละ 14.6) ตราลูกโลก (ร้อยละ 10.4) และตราห้าห่วง (ร้อยละ 8.3) ด้วยเหตุผลเรื่องความแข็งแรงทนทานและราคาเป็นหลัก

กระเบื้อง มุง หลังคา 1 ตาราง เมตร ใช้ กี่ แผ่น

ปริมาณของหลังคาลอนคู่ที่ใช้ต่อตารางเมตร (ค่ากลาง) กระเบื้องลอนคู่/ลอนเล็ก 1.2 เมตร ใช้จำนวนประมาณ 2.2 แผ่น/ตารางเมตร กระเบื้องลอนคู่/ลอนเล็ก 1.5 เมตร ใช้จำนวนประมาณ 1.7 แผ่น/ตารางเมตร

โครงหลังคามีกี่ประเภทอะไรบ้าง

รูปทรงหลังคา ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย 6 รูปทรง ประกอบด้วย.

หลังคาทรงหน้าจั่ว (Gable Roof).

หลังคาทรงปั้นหยา (Hip Roof).

หลังคาแบน (Flat Slab Roof).

หลังคาเพิงหมาแหงน (Lean To Roof).

หลังคาแบบผีเสื้อ (Butterfly Roof).

หลังคาแบบร่วมสมัย (Modern& Contemporary Roof).