การปร บอ ณหภ ม ต เย น 2 ประต toshiba

บางอยา่ งตอ้ งมกี ารคาดการดำเนนิ การไวล้ ่วงหนา้ ได้แกง่ านดำเนนิ การสำหรบั ระบบไฟฟ้าอาจตอ้ งมกี ารผงิ ทอ่ ร้อย

สายไฟหรอื งานผิงวสั ดุในคอนกรีต ดังนนั้ จึงตอ้ งมีการประสานดำเนินการต้ังแตง่ านเริม่ ต้นทโี่ ครงสรา้ งของอาคาร

จึงจะเกดิ ความถกู ต้อง มิใซท่ ำการสกดั เจาะหรือผิงในภายหลัง ทำให้โครงสร้างอาคารสูญเสยี ความสามารถในการ

รับแรง ทำใหไ้ ม่เกิดความสวยงาม และผิดหลกั ทางการชา่ งทด่ี ี จึงต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้าวา่ จะต้องทำการ ผงิ ทอ่ หรือวาง SLEEVE ผ่านตวั โครงสร้างของอาคารไวก้ อ่ น ใหค้ ำแนะนำและควบคมุ ใหง้ านก่อสรา้ งใหเ้ ปน็ ไป ตามแบบรปู รายการในงานระบบท่เี ก่ียวข้องน้นั ๆ

( ค ) การควบคุมงานและการรายงาน ในการควบคุมงานก่อสร้างนั้น มีเจ้าหน้าทีซ่ ึ่งเก่ียวซ้องหลายคน เช่น หนว่ ยดำเนนิ การจัดซือ้ จดั จ้าง คณะกรรมการตรวจการจ้าง และเจา้ หน้าท่ีอ่ืนๆ ท่ผี ู้วา่ จ้างแตง่ ตง้ั ให้มหี นา้ ท่ี รับผิดชอบ เพอื่ ปฏินตั ตามระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และให้ผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งไดร้ ับทราบ ความกา้ วหนา้ ของงานก่อสรา้ ง รวมท้งั ปัญหาและขอ้ ขัดข้องต่าง ๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ขณะดำเนินการก่อสรา้ ง จงึ ใหผ้ ู้ ควบคมุ งานกอ่ สร้างดำเนินการบนั ทกึ รายงานผลการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับงานก่อสรา้ ง การรายงานตอ้ งกระทำเป็นลาย ลักษณ์อกั ษร เพือ่ ใชเ้ ป็นหลกั ฐานอา้ งอิงในภายหลงั เชน่ ในการสั่งการหรือแกไ้ ขงาน หรอื ตกั เตอื นผู้รับเหมาให้ ปฏบิ ตั ิใหถ้ กู ต้อง จะต้องสงั่ ในรูปของบันทกึ และรายงาน เว้นแต่เรื่องเล็กน้อยมาก ๆ บนั ทกึ น้ีอาจทำเปน็ แผ่นหรือ

เปน็ เลม่ ก็ได้ แตส่ ำหรบั งานทีจ่ ะต้องบนั ทกึ เปน็ ประจำ เช่น บันทกึ สถิตผิ ลงานควรทำเป็นเลม่ เปน็ ตน้ ส่วนการ

รายงานอน่ื ๆ ให้ถือเป็นระเบยี บ ปฏิบัติประจำตังนี้

1 ) การรายงานเหตุการณ์และข้อขดั ข้องต่าง ๆ ถ้าเปน็ กรณเี ร่งดว่ นให้รายงานดว้ ยเครอ่ื งมอื ส่ือสารท่ีเรว็

ทสี่ ตุ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบ การรายงานอาจกระทำดว้ ยวาจาทางโทรศพั ท์ หรือ โทรเลขวทิ ยุ

โทรสาร ( FAX ) หรือทำเปน็ บนั ทกึ ด่วน ในกรณีท่รี ายงานด้วยวาจา เม่อื รายงานแล้วใหร้ ายงานเป็นลายลกั ษณ์ อกั ษรอกี ครั้งหนงึ่ เพอ่ื เปน็ หลักฐานของทางราชการตอ่ ไป

2 ) การรายงานประจำวัน เมอ่ื ส้นิ สดุ การทำงานในหนึ่งวนั ผ้คู วบคมุ งานตอ้ งทำบันทึกสงิ่ ต่างๆ ทผี่ รู้ บั จา้ ง ได้กระทำในวันน้นั โดยวิธีบนั ทึกในสมุดบนั ทึกการควบคุมงานก่อสรา้ งประจำวนั ผูค้ วบคุมงานต้องเข้าใจวา่ การ บนั ทกึ ในสมุดบันทึกการควบคุมงานกอ่ สรา้ งประจำวนั เป็นหน้าท่หี ลักประการหน่งึ ของการควบคมุ งาน บันทกึ ต่างๆ เหล่านั้น จะเป็นหลกั ฐานอา้ งองิ ทีส่ ำคญั ในกรณที ่เี กดิ ขอ้ พิพาทระหว่างทางราชการกบั ผูร้ บั จ้าง และใช้ ประกอบในการพิจารณาเรอื่ งอื่น ๆ เช่น การทีผ่ ูร้ บั จา้ งขอต่อสัญญา รายละเอยี ดการบนั ทึกคือ ชนิดและปริมาณ งานที่ทำทุกชนดิ นบั ตง้ั แต่ งานถมดิน งานเสาเขม็ ฐานราก งานคานคอดิน งานแบบหล่อ งานวางเหล็กเสริม งานเทคอนกรีต งานเสารับพนื้ ช้นั ตา่ ง ๆ งานก่ออิฐฉาบปูนงานโครงหลงั คา งานระบบไฟฟา้ ประปา งานระบายนา้ั

การบรหิ ารสญั ญาและ:การควบคมุ งาน - หนา้ 43

งานระบบระบายอากาศ เครอ่ื งปรบั อากาศและสขุ ภณั ฑ์ ฯลฯ เป็นตน้ จะตอ้ งบันทกึ ให้เป็นรปู ธรรมว่าทำงาน อะไร ไดจ้ ำนวนเทา่ ใด โดยลงเปน็ ลกั ษณะงาน นอกนน้ั จะตอ้ งบนั ทกึ จำนวนช่างคนงาน ของผ้รู บั จา้ งท่เี ขา้ มา ทำงานกอ่ สรา้ ง ตลอดจนเจา้ หนา้ ท่ีหรือผ้เู กีย่ วข้องท่เี ขา้ มาตรวจเยี่ยมสถานที่กอ่ สรา้ ง วัสดุอปุ กรณ์ทน่ี ำเขา้ มาใน พืน้ ท่ีบรเิ วณกอ่ สร้าง การตรวจสอบใบสง่ ของตลอดจนปญั หาข้อขัดข้องทีเ่ กิดขนึ้ ฝนตก ลมฟา้ อากาศ ตลอดจน อณุ หภูมิความร้อนหนาวท่ีเกดิ ข้นึ และอืน่ ๆ

3 ) การรายงานประจำสัปดาห์ ผ้คู วบคุมงานต้องรายงานความก้าวหนา้ และปัญหาข้อขัดขอ้ งตา่ ง ๆ ของ งานจ้างต้ังแตผ่ ู้รับจ้างเร่มิ ลงมือปฏบิ ัติงานวันแรก กใ็ หเ้ ร่มิ บนั ทกึ วนั นนั้ เปน็ วนั เรมิ่ ตน้ และตอ่ ไปเรอื่ ยๆ โดยที่ผู้ ควบคมุ งาน ต้องบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานของผรู้ ับจ้างตรงตามความเป็นจริงทุกๆ วัน เม่ือครบทุกๆ 7 วันแลว้ ใหร้ ายงานประธานกรรมการฯ ลงนามรบั ทราบ โดยผ่านหัวหน้าผคู้ วบคมุ งานก่อนเพื่อทราบและตรวจสอบความ

ลกู ตอ้ ง หลงั จากนน้ั แลว้ จงึ นำไปบนั ทกึ ลงในแผนภูมิ ( PROGRESS CHART ) เพอ่ื เป็นการแสดงให้เห็นผลการของ การปฏบิ ตั ิงานของผูร้ บั จา้ ง โดยคดิ จากปริมาณงานจา้ งท่ีผูร้ บั จา้ งทำไดก้ บั จำนวนวัน ทไี่ ด้ปฏบิ ตั งิ านนัน้ ๆ ใหค้ ดิ

จากคา่ งานของแต่ละงวด แลว้ นำไปหาค่างานจากงวดงานทั้งหมดโดยคิดออกมาเป็นร้อยละ(%) เพื่อแสดง ความกา้ วหนา้ ของงานจ้างน้ัน ๆ

ถา้ ผ้คู วบคุมงานไมด่ ำเนินการหรือดำเนนิ การล่าช้า ให้ถอื วา่ บกพรอ่ งตอ่ หน้าที่ ใหห้ นว่ ยรับผิดชอบทำ การบนั ทึกความบกพร่องไวเ้ พื่อพจิ ารณาดำเนนิ การทางด้านวินยั และสทิ ธกิ ำลงั พลต่อไป

4 ) การรายงานสถติ ิผลงานประจำเดอื น เม่อื ครบกำหนด 30 วนั ของทุกเดอื น จะต้องสรุปรายงานผลการ ปฏิบตั งิ านของผู้รบั จา้ ง โดยสรุปรวบรวมจากรายงานสถิติผลงาน ทไ่ี ด้ทำการบันทกึ ไว้ผา่ นมาแลว้ เปน็ รายงาน ความก้าวหน้าของงานจา้ งใน 1 เดือนท่ีผา่ นมา โดยประธานกรรมการ ฯ จะสรุปสถิตผิ ลงานให้หนว่ ยงานเจา้ ของ งาน สำนกั /กอง และกรมทราบ ต่อไป และเจ้าหน้าทีพ่ ัสดุจะดำเนินการเก็บเอกสารไว้เปน็ หลกั ฐานและถอื เปน็

เอกสารท่สี ำคัญ เพื่อรอรบั การตรวจสอบจากหน่วยงานอนื่ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งต่อไป 5 ) สำหรับงานงวดสดุ ทา้ ยคือ งานตอ้ งแลว้ เสร็จสมบูรณจ์ รงิ ๆ ทกุ หมวดงาน รวมถงึ ความเรยี บรอ้ ยของ

บรเิ วณพืน้ ทก่ี อ่ สรา้ งดว้ ย ไมใหม้ วี ัสดุอปุ กรณ์ทีเ่ หลือจากการก่อสร้างท้งิ ไว้ใหเ้ ปน็ ภาระของหน่วย ทจี่ ะต้องมาเก็บ กวาดทำความสะอาดอกี ครั้ง ต้องตรวจตราดแู ลเอาใจใสเ่ ป็นพเิ ศษรวมท้ังเร่ืองอน่ื ๆ เซน่ ความชำรดุ เสยี หายของ ระบบสาธารณปู โภค ไฟฟา้ และประปา เนอื่ งจากการใช้งานของผ้รู ับจา้ ง ถนนทช่ี ำรุดจากการใช้งานของผู้รบั จา้ ง ตอ้ งส่ังใหผ้ ู้รบั จ้างซ่อมแซมให้คนื สภาพเดิมหรือให้ดกี วา่ ของเดิม ค่าใชจ้ ่ายสาธารณปู โภค (คา่ ไฟฟ้า-ประปา โทรศพั ท์ ท่ผี รู้ ับจา้ งเป็นผู้รับผดิ ชอบ) จึงประสานให้ผู้รับจ้างขอสง่ งานงวดสุดท้ายตอ่ ไปได้ หา้ มมกี ารสมยอมกนั

ระหวา่ งผูร้ ับจ้างกบั ผู้ควบคมุ งาน

-การบริหารสญั ญาและการควบคมงาน หนา้ 44

5.3 รายการทผ่ี คู้ วบคมุ งานและกรรมการตรวจการจ้างต้องตรวจสอบตามขน้ั ตอนการก่อสรา้ ง 1. ข้ันตอนการเตรยี มการของผคู้ วบคุมงานกอ่ สรา้ ง 1. รับทราบคำสง่ั แต่งตั้งไปควบคุมงาน รบั แบบรูปรายการละเอยี ด แล้วทำการศกึ ษาทำความเข้าใจงาน

ท่จี ะตอ้ งไปควบคุม

2. เมือ่ พบขอ้ ขดั แยง้ ของแบบรูปรายการและสัญญา ให้ปรึกษากับสถาปนิก ฯ วิศวกร ฯ ผูอ้ อกแบบ หรอื

นายช่างควบคมุ งานกอ่ สรา้ ง

3. ดำเนินการทางธุรการ เชน่ คำส่งั เดนิ ทางไปราชการ

4. เตรียมการด้านเอกสารในการรายงาน สมุดบันทึกการปฏบิ ตั งิ านประจำวัน แบบฟอร์มการรายงาน

ความกา้ วหนา้ ของงานรายสปั ดาห์ รายเดือน 5. ประสานกับผูร้ บั จา้ งขอทราบแผนงานทเ่ี ขาวางไว้ เชน่ วันเร่ิมงานผู้ควบคุมงานของผรู้ บั จ้าง วศิ วกร

ผู้รับจ้าง เพ่อื ปรบั ให้เหมาะสมกบั แผนปฏบิ ตั ขิ องเรา 7. นัดหมายวันทีท่ ำการซ้จี ุดปกั ผังกำหนดระดับพร้อม สถาปนกิ ฯ วิศวกรฯ และผ้แู ทนหนว่ ยงาน

8. ประสานผ้รู บั จา้ ง ให้ดำเนนิ การจดั ทำ PROGRESS CHART เพ่ือขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ

ตรวจการจา้ งและผวู้ ่าจ้าง และเพ่อื นำไปตดิ แสดงไวท้ ส่ี ำนกั งานของผู้รับจ้าง 9. ออกเดนิ ทางไปควบคุม โดยไปรายงานตัวพบปะกบั ประธานคณะกรรมการฯ ใชเ้ อกสารคำสง่ั ตา่ งๆที่

เกี่ยวข้องแสดงตน พรอ้ มขอรับทราบนโยบายเกย่ี วกับงานกอ่ สร้างทีจ่ ะดำเนินการ (อาจพาผู้ควบคมุ งานหรือ ผ้แู ทนของผู้รับจ้างพบปะพรอ้ มกัน)

11. ขออนมุ ัติดว้ ยวาจาเปน็ เบอื้ งตน้ เกี่ยวกับการขอใหผ้ ้รู ับจา้ งใช้ส่ิงอำนวยความสะดวกสาธารณูปโภค ไฟฟา้ -ประปา และคนงานเช้าพักอาศัยในเขตกอ่ สรา้ ง พรอ้ มเส้นทางการผ่านเขา้ -ออกของยานพาหนะ ท่ีขนส่ง

วสั ดอุ ุปกรณ์ก่อสร้างของผู้รับจ้าง

12. ประสานผรู้ บั จ้าง กำหนดที่ตงั้ สำนกั งานของผรู้ บั จา้ ง ห้องนํ้า-สว้ ม ที่พักอาศัยคนงาน SHOP DRAWING สถานทที่ ดสอบวัสดกุ ่อสร้าง คลงั เกบ็ วัสดกุ ่อสร้าง ทก่ี องอฐิ หนิ ดนิ ทราย ฯลฯ สถานท่ีทดสอบวสั ดุ ก่อสรา้ ง คลงั เก็บวสั ดุก่อสร้าง ทก่ี องอฐิ หิน ดนิ ทรายฯลฯ

13. ประสานให้ผูร้ บั จา้ ง ก่อสร้างสำนักงานของผแู้ ทนผวู้ ่าจา้ ง พรอ้ มสง่ิ อำนวยความสะดวกพน้ื ฐานตาม

ความเหมาะสม เช่น หอ้ งพักอาศยั หอ้ งทำงาน ห้องประชมุ

14. ใหผ้ ู้รับจา้ งขออนมุ ัตใิ ชเ้ สน้ ทางเพ่อื ให้ยานพาหนะของผรู้ บั จ้างว่ิงขนส่งวสั ดอุ ปุ กรณ์โดยกำหนดไว้เปน็ ท่แี น่นอน แสดงดว้ ยแผนท่สี งั เขปและหมายจดุ ถนนทกุ สาย พรอ้ มลกู ศรชเ้ี สน้ ทางวิ่งของยานพาหนะเป็นท่ี

แน่นอน จัดทำปา้ ยเดือนการกอ่ สร้างใหร้ าษฎรหรือผใู้ ชท้ างทราบ 16. ประสานเรื่องบัญชรี ายละเอียดของคนงานทีเ่ ขา้ พกั อาศัยในเขตกอ่ สร้าง

การบรหิ ารสญั ญาและการควบคุมงาน - หนา้ 45

2. ขน้ั ตอนการควบคุมงาน ( การตรวจสอบผงั และกำหนดตำแหนง่ ของ BM. ตามในผงั บรเิ วณ )

(ก) สำรวจพน้ื ท่ีทว่ั ไปบรเิ วณเขตก่อสรา้ ง เทียบกับผังบริเวณท่แี นบท้ายสัญญา เพอื่ ดผี ังล้อมรอบพน้ื ที่กอ่ สรา้ ง (1) ประสาน ผ้รู ับจ้าง สถาปนกิ วศิ วกร ผแู้ ทนหนว่ ยงาน เพือ่ ตรวจสอบผงั และกำหนดตำแหนง่ ของ

BM. ตามในผงั บริเวณ โดยทำเคร่ืองหมายไวอ้ ยา่ งม่นั คงจะลบไม่ไดจ้ นกวา่ การกอ่ สรา้ งจะแลว้ เสรจ็ (2) เมือ่ ผเู้ กีย่ วขอ้ งดำเนินการ ตาม (1) แลว้ ใหม้ ีการลงลายมอื ชือ่ ไว้เป็นหลักฐาน

(ข) การถากถางพ้นื ที่

(1) สำรวจต้นไมว้ า่ ส่วนใดต้องตดั สว่ นใดสมควรคงไว้ ( กรณตี อ้ งตัดต้องทำรายงานแจ้งหนว่ ยขออนุมตั ิ

ตามระเบียบ ) (2) ตรวจสอบเขตท่ีตอ้ งถากถางพื้นที่ (3) การขดุ รากถอนตอไม้ ไม้ซ่งึ มีขนาด 0 เกนิ 5 ชม. ตอ้ งเอาออกไป (4) ต้นไมท้ อ่ี ยนู่ อกเขตกอ่ สร้าง หา้ มตดั (5) ถา้ พ้นื ท่ีเป็นหลมุ บ่อต้องเกลย่ี และปรับใหร้ าบแนน่ เสมอกัน ( เฉพาะบรเิ วณกอ่ สร้าง )

(ค) การถมดินและทราย (1) ดินท่ีนำมาถมกลบบรเิ วณก่อสร้างเพ่ืองานโครงสร้าง ต้องปราศจากเศษพืช และวัสดทุ ่ไี มพ่ งึ ประสงค์

(2) ดนิ ทถ่ี มโดยรอบอาคารต้องมคี ณุ สมบัตสิ ามารถเพาะปลกู ได้ (3) กำหนดระดบั ดนิ ท่ีจะถมหากแบบรูปรายการไม่กำหนดใหถ้ มดินสงู กวา่ ถนนหน้าอาคาร 0.20 ม.

(4) การถมดนิ กอ่ สร้างอาคารต้องแบง่ ถมเปน็ ชั้น ๆ ช้ันละไม่เกิน 50 ซม. แลว้ บดอดั (5) การถมดินถนน หากแบบไมก่ ำหนดเปน็ อยา่ งอื่นใหถ้ มสงู เฉลี่ยตามทีก่ ำหนดในผงั บรเิ วณโดยถมลาด

เอียงตามภมู ปิ ระเทศ (6) กรณีดนิ ถมบ่อลึก ในคมู นี า้ํ ฃัง ต้องสูบนา้ํ ออกใหห้ มดเสยี กอ่ น พร้อมลอกดนิ โคลนออกจนถงึ ดนิ เดมิ กน้ บ่อ (7) การปรับผิวดิน เพ่ือปลูกพชื ในทซ่ี ึ่งระบวุ า่ เปน็ สนาม หรอื บริเวณปลกู พืช ต้องใชด้ ินท่มี คี ณุ สมบัติ

เหมาะสมแกก่ ารเพาะปลกู หนาไมน่ อ้ ยกวา่ 30 ซม. ทบั หน้า (8) การถมทราย ทรายท่นี ำมาถมต้องปราศจากก่ิงไม้ รากไม้ หรือวชั พชื อ่ืน ๆ (9) ให้ใชท้ รายปรับผิวดนิ พร้อมบดอดั ใหแ้ นน่ ก่อนเทคอนกรีตผิวดนิ ทุกแหง่ (10) การถมทราย ต้องทำคนั ดนิ โดยรอบทกุ ด้านสูงไม่นอ้ ยกวา่ ระดบั ท่ีจะถมทราย ความกวา้ งของคันดิน

ไมน่ ้อยกว่า 1.00 ม. เอียงลาดต้านนอกไม่น้อยกว่า 1 : 11/2

(11) การถมทรายช้ันละไม่เกิน 30 ซม. (12) การขดุ ดิน ตังนี้

  1. ต้องขุดดนิ ให้ตรงตามตำแหนง่ ขนาด ( กว้าง ยาว ลึก )
  1. การขุดดินต้องปอ้ งกนั มิใหด้ นิ พังทลายตลอดเวลาของการก่อสรา้ ง
  1. ลา้ ขุดดินลึกกว่ากำหนดให้ปรบั ระดบั ด้วยดินทราย หากเปน็ วสั ดุอ่นื ต้องขอความเห็นชอบ

การบริหารสญั ญาและการควบคมุ งาน - หนา้ 46

(ง) การบดอัดแนน่ ดนิ ถม

(1) การถมดิน สนามฟิก สนามกีฬา งานกอ่ สรา้ งอาคารความหนาไมเ่ กนิ ชน้ั ละ 50 ซม. บดอัดแน่นไม่

น้อยกวา่ 85% ของ STD. AASHO

(2) การถมถนน สนามบนิ และลานจอด ถมหนาชน้ั ละไม่เกิน 20 ชม. บดอดั แนน่ 90% ของ MOD.

AASHO หรือตามแบบ (3) การทดสอบความแน่นดนิ ถมตามเกณฑข์ ณะบดอัดอย่างน้อย 1 จุดตอ่ พนื้ ท่ี 25 ม2 - ตอ้ งทดสอบทกุ ชนั้ ของดนิ ถม (4) ตอ้ งส่งผลการทดสอบที่รบั รองโดยผู้ควบคุมงานของผวู้ ่าจา้ งตรวจสอบและอนมุ ตั ิ

.3 งานโครงสร้างฐานราก

(1) ตรวจดูว่าวตั ถปุ ระสงค์กำหนดใหเ้ จาะทดสอบดนิ ( BORING ) หรือไม่

(2) ถ้ากำหนดให้ BORING ต้องให้ผ้รู บั จา้ งดำเนนิ การแล้วลง่ ผลใหค้ ณะกรรมการตรวจการจา้ ง เห็นชอบ (3) ตรวจวา่ เป็นฐานรากชนดิ ใด ใน 3 ประเภท

  1. ฐานรากแผ่ ( SPREAD FOUNDATION )
  1. ฐานรากเสาเขม็ ( PILE FOUNDATION )
  1. ฐานรากแบบตอม่อ ( PIER FOUNDATION ) (4) การทำฐานรากแผ่
  1. ขดุ หลุมฐานรากหลงั การปรับถมดนิ
  1. ก่อนเทคอนกรีตหลอ่ เสาฐานรากต้องใชท้ รายปรับระดับก้นหลมุ แลว้ เทคอนกรตี หยาบ
  2. ตรวจศนู ย์กลางฐานรากว่ากำหนดถกู ตอ้ ง
  1. คา่ นา้ํ หนักบรรทุกปลอดภัยของดินอย่างน้อย 8 ตนั ต่อตารางเมตรหรือตามแบบ (5) ฐานรากเสาเข็ม ผคู้ วบคุมงานตรวจวา่ เปน็ เลาเขม็ ชนดิ ใด
  1. เสาเขม็ ตอก ( ชนิดไม้ คอนกรีตอัดแรง )
  2. เสาเขม็ เจาะ (6) เสาเขม็ ตอก ( ไม้ หรอื คอนกรตี อัดแรง )
  1. ให้ผู้รับจา้ งลง่ รายละเอียดเสาเข็มพรอ้ มรายการคำนวณการจมตัวของเสาเขม็ ต่อการตอก ( BLOW COUNT )
  1. ตรวจเอกสารหลักฐานทวี่ ิศวกรโยธาชั้นสามญั ของผรู้ ับจ้างรับรองรายการคำนวณเขม็
  2. เสาเข็มคอนกรตี ทกุ ต้นต้องไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปจั จุบัน โดยระบุวนั เดอื น ปีทีผ่ ลติ ทกุ ด้น
  3. ขณะตอกเข็มมกี ารจดบันทึกระเบียนการตอกเสาเขม็
  1. การตอกเข็มลงดินไมไ่ ดก้ ำหนดหัวเข็มโผล่ กอ่ นตดั หัวเขม็ ตอ้ งขอความเหน็ ชอบจากผูว้ า่ จ้าง
  2. ก่อนอนญุ าตให้ตอกเข็ม ผู้ควบคมุ งานตอ้ งตรวจดูคณุ ภาพความเรยี บรอ้ ยของเขม็ ทุกตน้
  1. ตรวจอปุ กรณ์การตอกเสาเขม็ เช่นปนั จนั่ ลูกตุ้ม เสาสง่ หมวกครอบวา่ อยใู่ นสภาพพร้อมใชง้ าน
  2. ตรวจสอบตำแหน่งหมดุ แสดงตำแหน่งศนู ยเ์ สาเขม็ ทกุ ต้นทจี่ ะตอกแตล่ ะวนั ว่าถูกต้อง

การบรหิ ารสญั ญาและการทวบธมุ งาน - หนา้ 47

  1. นบั จำนวน BLOW COUNT ของเสาเขม็ ทกุ ต้นจดบันทกึ รายละเอียดในระเบียน ระยะเฉของศูนย์

เสาเขม็ ตำแหนง่ เสาเขม็ ทีค่ าดวา่ จะเสียหรอื หกั เปน็ ตน้

  1. ทำหมายจดุ ทซี่ ดั เจนบนแผ่นบนั ทกึ การตอกเสาเข็มท่ตี อกเสรจ็ แตล่ ะวนั

(7) เสาเข็มเจาะ ผ้คู วบคมุ ตรวจสอบคูวา่ เป็นแบบใด ( เจาะระบบแห้งหรอื เจาะระบบเปียก ) แลว้ ตรวจ ควบคมุ การกอ่ สรา้ ง ดงั ตอ่ ไปน้ี

(ก) เสาเข็มเจาะระบบแห้ง ( DRY PROCESS )

  1. ตรวจดตู ำแหน่งท่จี ะเจาะว่าถกู ตอ้ ง
  1. ตรวจวา่ เจาะลึกไดข้ นาดกำหนด
  1. ตรวจการใส่โครงเหลก็ เสรมิ คอนกรตี ถกู ตอ้ งหรอื ไม่
  2. กอ่ นเทคอนกรตี ต้องตรวจความเรยี บร้อยของกน้ หลุมดว้ ยแสงไฟ
  3. ล้าจะเทคอนกรีตโดยใชท้ อ่ สนั้ ๆ สว่ นผสมของคอนกรีตตอ้ งขน้ พอควร แต่อย่าถึงกับแห้ง ถา้ เทโดย

ใชเ้ คร่ืองสูบคอนกรีตหรือทอ่ เทสว่ นผสมต้องเหลวพอทจี่ ะไหลไดแ้ ตต่ อ้ งไมเ่ สยี แรง

  1. อย่าเทคอนกรีตจากปากหลุม ถ้าหลมุ ลกึ เกนิ 10 ม.
  1. เสาเข็มเจาะชนิดใด ๆ เมือ่ เสรจ็ แล้วต้องทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเขม็ ดว้ ยวธิ ี “SEISMIC TEST ”โดยลุ่มตวั อย่าง 25% ของเสาเข็มท้ังหมด หรอื ตามแบบ
  1. เสาเข็มทรี่ บั นาํ้ หนักปลอดภยั ตงั้ แต่ 30 ตัน/ต้นขึน้ ไป ต้องทำการทดสอบอย่างนอ้ ย 1 จดุ โดยวิธี “

STANDARD LOADING PROCEDURE ”

  1. สง่ ผลรายงานทดสอบให้ผ้วู า่ จ้างตรวจสอบเห็นชอบต่อไป

(ข) การทำเขม็ เจาะระบบเปยี ก (WET PROCESS)

  1. ตรวจสอบตำแหน่งท่จี ะเจาะให้ถกู ตอ้ ง
  2. ตรวจสอบการใส่ Casing ชวั่ คราว ตรวจแนวด่ิงของ Casing และแกนของเคร่อื งเจาะดว้ ยกล้อง

THEODOLITE หรืออย่างอืน่

  1. ตรวจความลึกของหลมุ เจาะด้วยลูกดิ่งหรือวิธอี ่ืน ๆ
  2. ตรวจโครงเหล็กเสริม และตรวจรอยตอ่ เหล็กเสรมิ ให้ถูกตอ้ งตามท่ี SHOP DRAWING แสดงไว้
  1. ก่อนเทคอนกรีตตอ้ งตรวจสอบความลึกและการพงั ทลายของดินกน้ หลมุ อกี ครั้ง รวมทัง้ ตะกอนกน้ หลุม
  2. ตรวจสอบคณุ ภาพของ BENTONITE และในกรณที ีผ่ ู้รบั จา้ งนำดินมาใชห้ มนุ เวียนว่ามีคุณภาพความ หนดื (VISCOSITY) เปอร์เซน็ ต์ทราย และค่า pH ให้ถูกตอ้ งตามข้อกำหนด
  3. คอนกรีตทจี่ ะเทต้องมคี ุณภาพตามท่ี Mix Design ไว้
  4. ตรวจสอบความยาวของท่อเทในคร้งั แรกปลาย จะตอ้ งอยหู่ า่ งจากก้นหลมุ 10 ซม. และต่อจากน้นั จะต้องจมอยู่ในคอนกรตี ไม่น้อยกวา่ 2.00 ม. ตลอดเวลา กอ่ นใช้ทกุ คร้ังท่อเทตอ้ งสะอาดและผนึกแน่น
  1. ตรวจสอบปรมิ าณคอนกรตี ทเ่ี ทไปแลว้ กับค่าทีค่ ำนวณไว้เป็นระยะ ๆ
  2. ต้องมรี ะเบยี นบนั ทกึ เวลาทำงาน ปรมิ าณคอนกรีตและส่ิงผดิ ปกติ

การบ'รทิ ารสัญญาและ!การควบคุ)เงาน - หน้า 48

(8) งานโครงสร้างคลนกรีตเสริมเหล็ก ( แบบหล่อคอนกรีต )

  1. ไม้ท่ตี ั้งแบบหลอ่ คอนกรีตตอ้ งใหม่แข็งแรงไม่ผกุ รอ่ น สามารถทนตอ่ การรับนํ้าหนกั คอนกรีตทีเ่ ทได้
  1. แบบหล่อคอนกรตี ต้องทำใหส้ ามารถถอดงา่ ย
  2. จดั ใหม้ ชี อ่ งสำหรับลา้ งแบบกอ่ นเทคอนกรีต
  3. คานคอดินและฐานรากตอ้ งมไี มแ้ บบดว้ ย
  1. ตรวจแบบดูเครา่ ค้เํ ายนั การยดึ โยงตอ้ งม่นั คงแขง็ แรง
  2. รอยตอ่ ของแบบหล่อตอ้ งสนทิ แนน่ อาจใช้สังกะสี หรอื วสั ดุอนื่ ปดิ หรืออุดร่องเพื่อป้องกันน้าํ ปูนรว่ั
  3. ตรวจระดับ ด่ิง ฉาก หรอื ลาดเอยี ง ใหต้ รงตามแบบ
  4. ถ้าเป็นคอนกรตี เปลือยจะต้องตรวจดผู วิ ไมแ้ บบหล่อด้วย บางครง้ั จำเปน็ ตอ้ งไสกบใหเ้ รียบ
  5. ตรวจดฐู านรองรับไม้ค้ํายนั ทกุ ตัววา่ แขง็ แรง แบบหล่อไม่ทรุดตัว เมื่อเทคอนกรตี
  6. ระวังอย่าใหค้ า้ํ ยันวางบนดินออ่ นต้องมีแผ่น Footing รองรบั นา้ํ หนัก
  1. สำหรบั แบบหลอ่ ทีม่ คี วาม สงู กว้าง ยาวมาก ๆ เชน่ ผนงั ค.ส.ล.จะตอ้ งทำแบบใหม้ ัน่ คงเปน็ พิเศษ

เหล็กเสรมิ คอนกรตี

  1. เหล็กเสรมิ คอนกรตี ต้องเปน็ ไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก. )
  2. เหล็กเส้นกลมตอ้ งมีมาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั
  1. เหล็กขอ้ ออ้ ยต้องมมี าตรฐานตาม มอก.ปจั จุบนั
  2. ตรวจดูวา่ เหล็กเสน้ กลม มนี า้ํ หนักตามเกณฑม์ าตรฐาน (ความยาว ะ พ้นื ทห่ี นา้ ตดั )
  3. ตรวจดูว่าเหล็กข้ออ้อย มีนํ้าหนกั ตามเกณฑ์มาตรฐาน (ความยาว ะ พน้ื ท่ีหนา้ ตดั )
  1. เหล็กเส้นยาวไมเ่ กนิ 10 ม. ยอมให้มสี ่วนเกนิ 55 มม.
  2. เหล็กเส้นยาวเกนิ 10 ม. ยอมให้ส่วนเกิน 55 มม. บวกอกี 5 มม. ทกุ ๆ ความยาว 1.00 ม. แตร่ วมแลว้

ไม่เกิน 120 มม.

  1. เหล็กทุกชนิดจะไม่ยอมใหม้ สี ว่ นขาด
  1. เหล็กขอ้ ออ้ ยมีการตรวจสอบมาตรฐานของบั้ง ครีบ ชอ่ งว่าง ช่องว่างปลายสุดของบ้งั ( GAP )
  1. การตอ่ เหลก็ เสริม ให้ตรวจสอบตงั ตอ่ ไปนี้
  2. ต่อโดยวิธที าบ ( เหล็กเสน้ กลมธรรมดา ) ระยะทาบไมน่ ้อยกวา่ 48 เท่าของ 0 ของเหลก็ เสน้
  1. ตอ่ โดยวธิ ีทาบ ( เหล็กขอ้ อ้อย ) ระยะทาบไมน่ ้อยกว่า 36 เท่าของ 0 ของเหลก็
  2. เม่อื ตอ่ แล้วใช้ลวดผูกเหล็ก เบอร์ 16 SWG.
  3. การตอ่ เช่ือมกำลังของรอยเช่ือม ไมน่ ้อยกวา่ 125%
  4. เหลก็ เสรมิ ทโี่ ผลไ่ วต้ อ่ ภายหลงั มีการราดน้าํ ปูนกันสนิม
  5. ระยะรอยตอ่ ในเหลก็ เสริม ตังน้ี

1. คาน พน้ื ผนงั ต่อด้วยวธิ ที าบ ( เหลก็ 0 มากกวา่ 19 มม. ) เหลก็ บนต่อทีก่ ลางคาน

2. เสา ต่อดว้ ยวธิ ีทาบ ( เหลก็ 0 มากกว่า 19 มม. ) ต่อเหนือระดบั พ้นื 1 ม. ถงึ ระยะกลางของ ความสงู ของเสาเหล็กลา่ งตอ่ ท่หี นา้ เสาถงึ 1/5 จากศนู ย์กลางเสา

การบรหิ ารสญั ญาและทารควบคูรพ!น - หน้า 49

4. พน้ื คอนกรตี สำเร็จรปู ( PREFAB CONCRETE FLOOR )

(1) ตรวจดู ช่ือผลิตภัณฑส์ นิ ค้า หรือ BRAND NAME ให้ลูกตอ้ งตรงตามท่ผี วู้ ่าจา้ ง อนมุ ัตแิ ละให้ความเห็นชอบแลว้ (2) ตรวจดู ชนิด ขนาด และความสามารถ ใหไ้ ด้ตรงแบบรูปรายการ และขอ้ กำหนด (3) ผลติ ภณั ฑส์ นิ ค้า ตอ้ งไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ นั

5. งานโครงสร้างเหล็ก (งานโครงสร้างเหลก็ และสงิ่ ก่อสรา้ งเหล็กทกุ ชนดิ )

(1) เหลก็ รปู พรรณท้งั หมดต้องมีคณุ สมบตั ิได้มาตรฐานตาม มอก.ปจั จบุ นั หรอื AISC หรอื JIS หรือ BS

(2) การตอ่ เหล็กรปู พรรณใหเ้ ป็นไปตามข้อกำหนด (3) การเจาะหรอื ดดั หรอื กดใหท้ ะลุเปน็ รู ต้องทำต้งั ฉากกบั เหลก็ (4) หา้ มขยายรดู ้วยความรอ้ นเด็ดขาด (5) รเู จาะจะต้องเรยี บรอ้ ยไม่ฉกี ขาดแหว่ง

(6) ขอบรูท่เี จาะดว้ ยสว่าน ใหล้ บมุม 2 มม. (7) ก่อนจะประกอบเหลก็ รูปพรรณ กรณที ี่แบบมไิ ด้กำหนด ผู้รบั จ้างต้องสง่ แบบขยายให้ผู้ควบคมุ งานเหน็ ชอบ

(8) การตดั เฉือนดว้ ยไฟจะต้องทำดว้ ยความประณีต

(9) การติดต้ังเสริมกำลงั และองค์อาคารตอ้ งให้ตัวเสริมแนบสนิทจริง ๆ (10) การเชอื่ มให้ไดม้ าตรฐาน AWS ตอนเช่อื มในการสร้างอาคาร (11) ผวิ หน้าของเหล็กท่ีจะเชือ่ มต้องสะอาดปราศจากสะเกด็ ร่อนตะกรันสนิม ไขมนั สีและวัสดแุ ปลกปลอมอ่นื ๆ (12) การเชื่อมแบบซน ตอ้ งเชื่อมในลักษณะแบบจมเขา้ (PENETRATION) (13) การตอ่ เชื่อมแบบทาบต้องวางให้ผิวชิดกนั ยอมใหห้ า่ งกนั ไม่เกิน 6 มม.

.6 การตอ่ เหลก็ โครงสร้างในสนาม

(1) ต้องเป็นไปตามแบบขยายโดยเคร่งครัด

(2) ตอ้ งทำนง่ั รา้ น คา้ํ ยัน ใหป้ ลอดภัยขณะทำงาน (3) หา้ มใชแ้ กส๊ ตดั เหลก็ โครงสร้างเว้นวิศวกรอนุญาต (4) เมอ่ื ทำโครงเหลก็ เสรจ็ แลว้ ต้องทาสกี ันสนมิ ตามแบบ

8. งานสลักเกลยี ว

(1) การใสส่ ลกั เกลียวต้องม่นั คงแขง็ แรงไมใหเ้ กลียวเสียหาย (2) ตอ้ งม่ันใจว่ากอ่ นทำสลกั เกลยี วผวิ รอยตอ่ เรียบ และผวิ ที่รองรบั ต้องสัมผัสกันเต็มหนา้ (3) เม่ือใส่สลักเกลยี ว และขนั เกลยี วแนน่ แล้ว ตอ้ งทบุ สลกั เกลียวกนั นอ็ ตคลาย

การบริหารสัญญาแลร:การกวนภูมงาน - ทนา้ 50

9. งานคอนกรีต ( การผสมคอนกรีต )

(1) ตรวจวัสดุ ปนู ซเี มนต์ ทราย หิน มีลำดบั ขนาดคุณภาพตามกำหนด และสะอาด (2) ก่อนเทคอนกรตี ทุกครั้งต้องขออนุมตั กิ ่อนจงึ จะเทได้

!(3) หนิ ทส่ี กปรกตอ้ งลา้ งา าให้สะอาด

(4) ทรายต้องมีการร่อนเอาเศษวสั ดุอืน่ ออกใหห้ มด (5) คอนกรีตผสมเสร็จ ( READY MIXED ) ต้องผสม และการขนสง่ ปฏิบัตติ าม “บทกำหนดสำหรบั คอนกรตี ผสมเสรจ็ ’1 (6) กอ่ นเทตอ้ งตรวจความเรยี บร้อยของแบบคร้ังสุดท้าย ทำความสะอาด เก็บเศษไม้เศษเหล็ก ถุงพลาสติก

พรอ้ มลา้ งแบบหล่อให้สะอาด

(7) ตรวจแผนการเทคอนกรีตของผูร้ บั จ้างว่าจะเริม่ ตน้ เทท่ีใด และจะหยดุ เทตำแหน่งใด อยใู่ นขอ้ กำหนดทยี่ อม

ไดห้ รอื ไม่

(8) คอนกรตี ท่เี ทจะตอ้ งผสมเสรจ็ ใหม่ๆ คอนกรตี ผสมนานเกนิ 30 นาที ห้ามนำมาใชง้ านเดด็ ขาด (9) เมอื่ เทคอนกรตี ลงในแบบแล้วต้องกระท้งุ ให้แน่น หรือใช้ “เครือ่ งสนั่ คอนกรีต”( VIBRATOR ) เพอื่ มิให้ คอนกรีตเป็นโพรง (10) ถา้ ผคู้ วบคมุ งานพจิ ารณาแลว้ เหน็ ว่ามอี ปุ สรรค หากเทคอนกรตี แลว้ จะทำให้คอนกรตี เสยี แรง เช่น ถกู

แดดความร้อน นํา้ นา้ํ ฝน จะสั่งใหง้ ดเทคอนกรตี ได้ จะเทตอ่ ไดเ้ มอื่ ไตแ้ ก!้ ขปัญหาหรืออปุ สรรคนัน้ ๆ ได้แลว้

(11) อตั ราสว่ นผสมคอนกรตี

  1. งานคอนกรตี ทัว่ ไปใช้สว่ นผสม ปูนซีเมนต์ : ทราย ะ หนิ อัตรา 1 : 2 : 4 น้าํ 29 ลิตร/ปูนหน่งึ ถุง
  2. ผสมให้มีความข้นเหลวพอเทได้ ทำ “SLUMP TEST”ทกุ ครัง้ ทผี่ สมคอนกรีต ค่ายุบตัวไม่เกิน 7 ซม.
  3. ทำ “ลูกปนู ”ขนาด 15X15X15 ซม. เป็นตัวอย่างทดสอบกำลังประลยั อายุ 28 วนั 210 กก./1ชม.2
  1. การผสมคอนกรตี เทหลอ่ ตอมอ่ เสาคาน ใชห้ ินเบอร์สอง (3 ส่วน) หินเบอร์หน่ึง (1 สว่ น)
  2. ผสมคอนกรีตเทพื้น บนั ได กนั สาด ใชห้ นิ เบอร์สอง (2 สว่ น) หินเบอรห์ น่งึ (2 ส่วน)
  1. การผสมคอนกรีต เพ่ือเทครีบต้งั ครบี นอน หรือโครงสรา้ งท่หี นาไม่น้อยกวา่ 8 ชม. ใช'้หิน่เบอรส์ อง (1 สว่ น)

หนิ เบอรห์ นึง่ (3 สว่ น)

  1. การผสมคอนกรีตสำหรับเทฐานรากใชห้ นิ เบอรส์ องล้วน
  2. ตรวจและกำหนดให้ผู้รบั จ้างมีท่สี ำหรบั ตวงปนู ซเี มนต์ ทราย หนิ ท่ไี ด้มาตรฐานตลอดเวลาผสม คอนกรตี

(12) ก่อนเทคอนกรีตตอ้ งใหผ้ รู้ ับจา้ งเตรียม

  1. วัสดกุ ่อสรา้ ง ปูนซเี มนต์ หิน ทราย นา้ํ ต้องมพี รอ้ มและปรมิ าณเพียงพอ สำหรับการเทคอนกรตี คราวนั้นๆ
  2. เคร่ืองผสมคอนกรตี เครื่องเขยา่ คอนกรีตต้องอย่ใู นสภาพพร้อมใชง้ าน
  3. ตรวจแบบหลอ่ คอนกรตี ว่าแข็งแรง ถูกตอ้ ง สะอาด ปราศจากฝน่ ข๋โี คลน (เหลก็ ตอ้ งสะอาด)
  4. บรเิ วณนัา้ ขังก่อนเทคอนกรตี ตอ้ งสบู น้าํ ออกให้หมดเสยี ก่อน
  1. ตรวจดกู ารผูกเหลก็ และขนาดของเหล็กเสริม มกี ารจดั วางถูกตอ้ งตามแบบ
  1. การเทคอนกรีตต่อต้องทำให้ถกู วธิ ที างเทคนคิ

การบริหารสญั ทุทนละ:การควบคุมงาน - หนา้ 51

  1. ขณะเทคอนกรีตต้องคอยควบคมุ ไม่ให้คนงานเหยยี บไปบนโครงเหลก็ เส้นทว่ี างไว้ดีแลว้
  2. เมือ่ ผู้รบั จ้างเตรยี มงานเทคอนกรตี เสร็จแล้ว ให้รายงานขออนมุ ัติเทคอนกรีตต่อผูค้ วบคมุ งานเมื่อผ้รู ับ

จ้างเตรยี มงานเทคอนกรตี เสร็จแลว้ ให้รายงานขออนมุ ัตเิ ทคอนกรีตต่อผ้คู วบคมุ งาน

  1. คอนกรตี ท่ีเทตอ้ งผสมเสรจ็ ใหม่ คอนกรีตที่ผสมไว้นานเกิน 30 นาที ห้ามนำมาใชง้ าน
  2. เม่อื เทคอนกรีตแลว้ มีการใช้ VIBRATOR หรือ ใชเ้ หล็กกระท้งุ กันคอนกรีตเปน็ โพรงหรือเป็นรรู งั ผง้ึ
  1. การเทคอนกรตี ต้องเทรวดเดยี วตลอดจะหยุดกลางครนั ไม่ได้
  1. เม่ือเทคอนกรตี รวดเดียวไมไ่ ด้ ยอมให้หยดุ เทคอนกรตี ได้ และให้ดำเนนิ การ ดงั นี้ 1. เสาใหเ้ ทถึงระดบั 2.5 ซม. ตํา่ จากท้องคานหัวเสา 2. สำหรับคานใหเ้ ทถงึ ก่ึงกลางคาน แต่คานท่ียาวเกิน 5.00 ม. และฐานรากตอ้ งเทให้เสรจ็ ในคราว

เดยี วกัน

  1. การเทพื้นขอบใหห้ ยดุ เม่ือเทถึงกลางแผน่
  2. บนั ได ตอ้ งเทพร้อมกนั ท้ัง แม่บนั ได ขนั้ บนั ได และคานรับช่วงบนของบนั ได

(13) การถอดไม้แบบหลอ่ คอนกรตี ให้ใช้ปูนปอตแลนด์ ชนิดท่ี 1

  1. เมอ่ื เทคอนกรตี แล้วในระยะ 24 ซม. ห้ามกระทบกระเทือนหรือโยกคลอนแบบคอนกรีตเดด็ ขาด
  2. แบบขา้ งเสา ข้างคาน กำแพงถอดไดใ้ น 24 ซม.
  3. แบบท้องคาน พ้นื กันสาด ใน 14 วัน

(14) การบ่มคอนกรตี

  1. หลงั เทคอนกรตี แล้ว ภายใน 24 ซม. ต้องป้องกนั คอนกรีตโดนแดด น้ํา หรอื นาฝน
  2. หลงั เทคอนกรีต 24 ซม. จะตอ้ งบ่มคอนกรีตให้ชมุ่ นา้ํ ตลอดเวลา อย่างน้อย 7 วัน
  3. ให้ผรู้ บั จา้ งเปน็ ผ้เู ลอื กวธิ บี ่มคอนกรตี ท่ีลูกต้องเหมาะสม

(15) การแตง่ ผิวคอนกรตี

  1. ก่อนฉาบปูนมกี ารทำใหผ้ นังคอนกรีตหยาบขรฃุ ระหรอื ไม่
  1. ทันทีท่ถี อดแบบ ตอ้ งแตง่ ผวิ คอนกรีตให้ได้ตามแบบรปู
  1. กรณวี สั ดุสงคอนกรตี ผู้รับจ้างต้องสงปลอกหรือทอ่ วาง SLEEVE ไว้เสมอโดยเตรยี มไวก้ อ่ น 10. งานถนน สนามบนิ และระบบระบายน้าํ

(1) ลกู รังดีมคี ุณภาพดปี ราศจากวชั พืซ ดินกอ้ นทีโ่ ตกวา่ 5 ซม. ต้องทุบใหแ้ ตกเสยี ก่อน (2) ลูกรังต้องมเี ชอื้ ประสานที่ดี

(4) หินย่อยต้องแข็ง และเหนยี วปราศจากกอ้ นดินและวชั พชื

(3) หนิ คลุกต้องเปน็ หนิ ทีแ่ ขง็ ไม่ผกุ รอ่ น มเี ชื้อประสานท่ีดี

(5) ASPHALT สำหรบั ฉาบก่อนลงผวิ ( PRIME COAT ) ใช้ MC - 30 , MC - 70 1 MC - 250 (6) ASPHALT สำหรับเป็นเชือ้ ประสาน ใช้ AC 85 - 100 ยางทีน่ ำมาใช้ต้องไม่มนี ้ําเจอื ปน และตอ้ งได้ มาตรฐาน.

การบริหารสัญญาและการควบคมุ งาน - ทน้า 52

(7) งานคอนกรตี ต้องไดม้ าตรฐาน

(8) ท่อระบายนํา้ ทงิ้ ชนิด และขนาดทไ่ี ดม้ าตรฐานตาม มอก.ปจั จุบนั

(9) เสาเขม็ ไมต้ อ้ งทบุ เปลอื กออก หน้าตดั ได้ขนาดตามแบบกำหนด

(10) วิธีก่อสร้าง ( การทำดว้ ยคอนกรตี )

  1. ชนั้ รากให้ใชถ้ มดว้ ยลูกรัง หรอื หินคลกุ หนาชน้ั ละ 20 ชม. บดอดั แน่น 95% MOD.AASHO
  1. กอ่ นเทคอนกรีตตอ้ งแจง้ ผูค้ วบคมุ งานใหท้ ราบล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกว่า 48 ซม. เพือ่ ตรวจสอบ
  1. มีการเตรยี มการก่อนเทคอนกรตี ดี
  1. กรณเี ทคอนกรตี ต่อเนอ่ื งยาว ให้ตดั แนวคอนกรีตดว้ ยเคร่ืองจกั รภายใน 7 ซม.
  1. อนุญาตใหถ้ อดแบบไดใ้ น 12 ชม. แลว้ ทำการบม่ คอนกรีตตลอดเวลาทก่ี ำหนดไมน่ อ้ ยกว่า 7 วนั
  2. ผวิ หนา้ คอนกรีตได้ระดับ และลาดตามกำหนด ยอมใหผ้ ดิ ได้ 1 ซม. ในระยะ 3 ม.
  1. การยาแนวรอยต่อทำหลงั จากเทคอนกรีตแลว้ 7 วัน

(11) การทำผิวขนิดราดยางแมคคาดัม

  1. การทำชน้ั รองพ้นื ทาง ( SUB BASE COURSE ) ให้ถมลกู รัง1หนา,ชั้นละ 20 ชม. บดอัด 95%

MOD.AASHO

  1. การทำชัน้ พน้ื ทาง ( BASE COURSE ) ลงหนิ คลุกหนา 15 ซม.

.3) บดทับด้วยรถบดล้อเหลก็ หนัก 10 คัน ความเร็วไม่เกิน 4 กม /ซม.

  1. บดตามแนวยาง เริ่มจากขอบนอกเหลอื่ มไหลถ่ นนหรอื ขอบ 30 ซม. และบดเข้าหาศูนยก์ ลาง
  1. บดติดตอ่ กันจนผิวแน่น 95% MOD.AASHO
  1. การทำผิวช้นั ต้นโดยฉาบกอ่ นลงผิว ( PRIME COAT ) ด้วยจาก MC - 30 , MC - 70 , MC - 250 ปริมาณ 1 - 2 กก./ม.2 ราดซมึ ลงไปในผิวลกึ 1/4 นิว้
  1. บ่ม PRIME COAT ไว้ 48 ซม.

(12) การดาดผวิ

  1. การทำผวิ ชั้นท่ี 1ใสห่ ินหยาบหนา 7 ชม.
  2. เกล่ียแลว้ บดทบั ด้วยรถบดล้อเหลก็ หนัก 8 ตนั ลาดดว้ ยยาง AC 85 - 100 เกล่ยี แล้วบดทับด้วย

รถบดล้อเหลก็ หนกั 8 ตัน ลาดด้วยยาง AC 85 - 100

  1. การทำผวิ ชัน้ ท่ี 2 ลาดหินละเอยี ดทบั หน้ายางทีก่ ำลงั ร้อน เกลี่ยเสมอหนา 3 ชม.
  2. บดทบด้วยรดบดลอ้ เหลก็ แล้วราดยาง AC 85 - 100 ปรมิ าณ

2 - 3 กก./ ม2

  1. ลาดดว้ ยหนิ ฝน่ หรอื ทราย ทับหนา้ หนาประมาณ 1 ซม. แลว้ บดทับด้วยรถบดลอ้ เหล็ก

การบริพรสญั ญาและการควบคุมงาน - หน้า 53

(13) การทำถนนผิว ASPHAI TIC CONCRETE

  1. สว่ นผสมของ ASPHALTIC CONCRETE โดยวัสดุที่มาตรฐานของกรมทางหลวง
  2. การทำชนั้ รองพนื้ ทางตามมาตรฐาน
  3. การทำช้นั พนื้ ทางตามมาตรฐาน
  4. การทำผวิ ASPHALTIC CONCRETE ดังต่อไปน.ี้ - 1. ทำความสะอาดชนั้ รากไม้ปราศจากสง่ิ สกปรก 2. สำหรบั ชั้นพื้นทางจะต้องลง PRIME COAT กอ่ นปดู ้วย ASPHALTIC CONCRETE 3. สำหรับผิวเดิมทเ่ี ป็นลาดยาง หรือ ASPHALTIC เดิมจะต้อง

ลงชนั้ TACK-COAT กอ่ นปูทบั ดว้ ย ASPHALTIC CONCRETE

°4. ลงผิว ASPHALTIC CONCRETE ดว้ ย SELF POWERED PAVER โดยมีอุณหภมู ิ 250 F °5. การนำ ASPHALTIC CONCRETE มาท่ีแหลง่ เทดว้ ยรถดั๊มต้องรักษาอุณหภมู ิ ASPHALT ไว้ 270 F

(14) การใ )ดทับ ASPHALTIC CONCRETE

  1. ภายหลงั PAVER แล้วให้บดทบั ครง้ั แรกด้วยรถบดล้อเหลก็ 2 ล้อ หรือ 3 ล้อ ‘นาห'นัก 8 - 10 ตนั บดด้วยความเร็ว 5 กม./ซม.
  1. บดทับจากด้านนอกขอบถนนเข้าหาศนู ยก์ ลาง
  1. บดทับครัง้ แรก 2 เทยี่ ว แล้วตรวจสอบระดับ
  1. บดทับครง้ั ที่ 2 ดว้ ยรถบดลอ้ ยางหนัก 10 - 12 ตนั 9 ลอ้ ความเร็ว 7 กม./ซม.
  1. บดทับคร้งั สุดท้ายด้วยรดบดลอ้ เหล็ก ความเรว็ 5 กม./ชม.
  2. บดเสร็จทิ้งไว้ 16 ชม. จงึ อนญุ าตใหเ้ ปดิ ใช้งานได้

(15) การทำไหลถ่ นน/สนามบนิ

  1. บดอัดหรือถมดนิ ลกู รงั ชัน้ ละไมเ่ กนิ 15 ชม. ความแน่น 95% MOD.AASHO
  2. ลาดของไหลท่ ่สี งู เกนิ กวา่ 1.50 ม. ตอ้ งปลกู หญา้ กันนา้ํ เซาะ

(16) งาน,ทอ่ ระบายนา้ํ

  1. หากจำเปน็ ต้องตอกเสาเข็มตอ้ งเปน็ ไปตามแบบ
  2. หากดนิ ออ่ นก่อนวางท่อตอ้ งลอกโคลนออกและปรบั ระดบั ดว้ ยทรายปรับระดบั แลว้ อัดแนน่
  1. รอยต่อทอ่ ต้องยาแนวดว้ ย ปนู ทราย ( 1 : 3 ) และบม่ ให้ชน้ื อยา่ งนอ้ ย 3 วนั
  2. การกลบทอ่ ตอ้ งใช้วัสดทุ ีด่ ีถมทอ่ เปน็ ชัน้ ๆ ละ 15 ซม.แล้วบดอดั จนสูงพ้นทอ่ 30 ชม. จงึ ใช้ เคร่อื งมอื บดอดั ได้
  3. กรณีทอ่ ลอดถนนใหด้ ำเนนิ การหลงั จากทำช้นั ( SUB BASE ) เสร็จแลว้

การบรหิ ารสญั ญาและการควบคุมงาน - หน้า 54

11. รายการ POST-TENSIONED FLAT-SLAB ในรายการงานจ้างเหมากอ่ สร้าง ในปัจจบุ ันมีลักษณะงานทีเ่ ปน็ ตกึ สงู มากยิง่ ขนึ้ โดยเฉพาะในพนื้ ที่หน่วย

ส่วนกลางใน กทม. อาคารทท่ี ำการ ทีพ่ ักอาศัยมกั มหี ลายชน้ั และการออกแบบแตล่ ะชนั้ มกั ให้เป็นแบบ POST- TENSIONED FLAT-SLAB ดงั นั้น เพือ่ เป็นการเพ่มิ พูนความรเู้ ป็นกรณพี เิ ศษ จึงใหม้ ีการเพิม่ เตมิ ชน้ั ตอนการ ทำงาน POST-TENSIONED FLAT-SLAB และรายการสำคญั ๆ ทีผ่ ค'ู้ วบคมุ งาน นายทหารควบคุมงานก่อสรา้ ง และคณะกรรมการตรวจการจา้ ง ควรจะทราบ และตรวจตรางานตามจุด และชน้ั ตอนต่าง ๆ ใหถ้ ูกตอ้ ง เพอ่ื ความมน่ั คงแข็งแรงของอาคารต่อไป งานสำคัญ ๆ ที่ต้องให้ตามสำดับตงั ต่อไปน้ี

(1) ชัน้ ตอนการทำงาน ( การตรวจงาน )

  1. ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของแบบหลอ่ และความแขง็ แรงของคาํ้ ยันต่าง ๆ
  1. ตรวจดูการจัดวางเหล็กเสรมิ ( BOTTOM BAR ) ตอ้ งไดต้ ามแบบกำหนด
  2. ตรวจดูการตดิ ต้ังสมอยดึ ( ANCFIORAGE )
  3. ติดตง้ั จัดแนวระดบั ( PROFILE ) ของสายเหลก็ เอ็น ( PRESTRESSING TENDONS )
  1. ตรวจดวู า่ การจดั เหลก็ เสริมบน ( TOP BAR ) ว่าไดม้ าตรฐานตามแบบกำหนด
  1. ตรวจ และควบคมุ การเทคอนกรตี
  1. ตรวจช้นั ตอนการบม่ น้ัา และถอดแบบขา้ ง
  1. การถอด PLASTIC FORMER และการใส่จำปา ( JAWS )
  1. ตรวจชั้นดึงสายเหล็กเส้น และการยึด
  2. การถอดแบบพ้นื

หมายเหตุ : 1. ในกรณที ี่มีการเว้นชอ่ งรอบเส้น ( COLUMN PACKET หรอื SLIDING JOINT ) หรอื COLUMN

HINGS ใหป้ รกึ ษา และขอคำแนะนำจากผูอ้ อกแบบ

2. งานนส้ี ว่ นใหญ่จะเหมอื นกบั งาน RC. FLAT SLAB

(2) สมอยึด ( ANCHORAGE )

  1. ตรวจดูสมอยดึ ( ANCHORAGE ) ต้องมีสภาพสมบรู ณ์ ตามท่ีออกแบบ ไมม่ ีร'ูโพรง หรือรอยแตกร้าว ทำดว้ ยวสั ดทุ ี่มคี วามคงทนตามทีท่ ดสอบแลว้
  1. ตรวจดจู ำปา ( GRIP ) ต้องมีความแข็งมากกว่าเหล็กลวดในสายเอน็ มขี นาดกระชับกับเหล็กสายเอ็น และสมอยดึ พอดี
  1. ตรวจดแู นใ่ จวา่ PLASTIC FORM ไมแ่ ตกร้าว จนปลอ่ ยใหน้ ํ้าปูนร่วั ไหลเข้าไปจับกบั สมอยดึ และ

จำปาได้

  1. กรณีทีป่ ลายข้างหน่งึ มสี มอยดึ ตายอยู่ ( DEAD END ANCHORAGE ) ใหต้ รวจดูตำแหนง่ และสภาพ

ความแขง็ แรงของสมอยดึ ด้วย

  1. กอ่ นเรม่ิ งานควรศกึ ษาทำ SHOP DRAWING ให้เข้าใจพรอ้ มทงั้ ตรวจสอบดว้ ย STRAND และ MILD STEEL ทบี่ รเิ วณ COLUMN และท่ี mid span ให้เป็นไปตามที่ผอู้ อกแบบได้คำนวณไวแ้ ละขอความเหน็ ชอบก่อน ลงมือทำงาน

— การบริหารสญั ญาและการควบคมุ งาน - หน้า 55

(3) รายการตรวจสอบสมอยึด

  1. ตรวจสอบตำแหนง่ สมอยดึ ทีแ่ บบขา้ งตามแบบและทำเคร่ืองหมายวา่ เป็นปลายตึงหรือปลายตายตัว
  2. วดั และกำหนดตำแหนง่ และระดบั ของศนู ย์เหลก็ เอ็นทีจ่ ะโผลให้ละเอียดถึง 0.05 มม. แลว้ เจาระรู
  3. ประกอบเขา้ พลาสติกเขา้ กบั สมอใหต้ รงกบั รูท่ีเจาะเบ้าพลาสตกิ ซงึ่ จะถกู ร้อื ออกในภายหลงั เพื่อให้

ปากแมแ่ รงย่ืนเขา้ ไปยนั กบั แปน้ สมอได้

  1. ยดึ เบ้าและสมอเขา้ กบั แบบขา้ ง ตอ้ งรักษาระนาบแป้นสมอให้ได้ปากกับแกนตามยาวของสายเหลก็ ดงึ
  1. ตรวจดกู ารปอ้ งกนั ไมให้คอนกรตี และน้าํ ปูนรั่วไหลเขา้ ไปในเบา้ ได้ (4) สายเหล็กเอ็น ( PRESTRESSING TENDONS ) ตรวจดดู งั ต่อไปน.ี้ -
  1. การติดต้งั สายเหล็กเอ็นจะทำภายหลงั ท่ีจดั วางเหล็กเสริมลา่ ง ตามแบบเรียบร้อยแล้ว
  2. คลข่ี ดสายเหล็กเอน็ ไปตามความยาว ตามทศิ ขดสมอ ตัดสายและร้อยสายเขา้ ตามคสู่ มอทลี่ กู ตอ้ ง
  1. ตรวจตูการตัดสายเหลก็ เอน็ ว่าต้องใช้เล่อื ยจานคาโบรันตัมรอบสงู ตดั เทา่ น้ัน ห้ามใช้ไฟแก๊สตดั และ

ต้องเผอ่ื ความยาวใหย้ ่นื โผลจ่ ากสมอ ให้เพียงพอท่ีแมแ่ รงจะทำการดงิ ได้ (ให้ตรวจสอบระยะโผลก่ บั ผจู้ ดั หาแม่แรง)

  1. วสั ดทุ ่หี ่อทุ้มทอ่ ( POLYETHYLENE ) ต้องอยใู่ นสภาพดี ล้ามรี อยฉกี ขาดใหร้ ีบพนั ซ่อมด้วย TAPE

ทันที เพ่ือป้องกนั ปญั หาเร่ืองน้ัาปนู ไหลซมึ เขา้ ไปขณะเทคอนกรีต

  1. การจดั แนวระดับ และยึดสายเหลก็ เอน็ ใหม้ ่นั คงในตำแหนง่ ตอ้ งมคี วามแขง็ แรงพอท่ีจะไม่ คลาดเคลื่อนเกนิ ± 1 มม. ในขณะเทคอนกรตี ต้องใช้แครเ่ หลก็ แบกรบั สายไปห่างประมาณทุก ๆ 1.00 ม.
  1. ตรวจนับจำนวนเหล็กเสน้ เอน็ ท้ังหมดให้ครบตามแบบ
  2. ตรวจสอบแนวระดับ ( PROFILE ) ไมใ่ 'หม้ ีค'วามคลาดเคลอื่ นเกนิ กวา่ กำหนดตังน.้ี -

- ในแนวดงิ่ คลาดเคลื่อนไดไ้ ม่เกิน ± 2 มม. - ในแนวราบ คลาดเคล่ือนไดไ้ มเ่ กิน ± 5 มม.

  1. รอยตอ่ ระหว่างสมอยดึ ( ANCHORAGE ) กับสายเหลก็ เอ็นตอ้ งพนั ดว้ ย TAPE กาวให้เรียบรอ้ ยเพื่อ

ป้องกนั น้ัาปูนรว่ั เขา้ ไปจับระหว่างสมอกับสายเหลก็ เอ็น

  1. ห้ามใชส้ ายเหล็กเอ็น ( PRESTRESSING TENDONS ) เป็นสายดิน ในการเชือ่ มด้วยไฟฟ้าเป็นอนั ขาด
  2. ตรวจสอบวา่ สายเหล็กเอน็ ยนื่ โผลจ่ ากสมอเพียงพอ สำหรับปลายที่ต้องดงึ และตรวจสอบการยดึ

ตายของสายเหล็กอนั ปลายที่ไมม่ ีการตัด

  1. ห้ามคนงานเดินเหยยี บยํา่ บนสายเหลก็ เอ็น ทีจ่ ดั แนวระดบั ไวเ้ รยี บร้อยแลว้

(5) รายการตรวจลอบการเหคอนกรีต

  1. ตรวจดูการทำความสะอาดแบบหลอ่ ให้เกบ็ เศษลวดและถุงพลาสติก ก้นบุหรี่ และสงิ่ แปลกปลอมอน่ื ๆ

ออกไปใหห้ มด

  1. ต้องให้มีการพาดสะพานเพอ่ื ให้รถเขน็ เขา้ ไปเทคอนกรตี ใหห้ ่างจดุ ทต่ี อ้ งการไมเ่ กนิ 1.00 ม.
  2. ตรวจดคู วามถกู ต้องของสายเหล็กเอน็ และเหล็กเสริมเปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ยกอ่ นเท ไดแ้ ก่ ระยะแนวระดับ

และความสมบรู ณ์ของวสั ดุทุ้มสายเหล็กเอน็ ล้าพบขอ้ บกพรอ่ งให้แกไขใหเ้ รียบรอ้ ย

การบริหารสญั ญาแทะการควบคุมงาน - ทน้า 56

  1. ตอ้ งระมัดระวงั ไม่ให้มกี ารกระแทกเหลก็ เสริม และสายเหล็กเอน็ ให้คลาดเคลอ่ื นจากตำแหน่งท่ีจดั ไว้ ถา้ มกี ารเคลื่อนยา้ ยผิดที่ให้รีบจัด ใหเ้ ข้าที่เดมิ และต้องมกี ารวดั สอบระยะด้วย
  1. เม่อื เทคอนกรีตแลว้ ให้ใช้ เครอ่ื งสั่นคอนกรตี ( VIBRATOR ) จุ่มหรือจลี้ งในคอนกรตี ใหท้ ว่ั
  2. เพื่อกระจายส่วนผสมหนิ และทราย ใหส้ มา่ํ เสมอกนั คอื อยา่ ใหห้ ินแยกกลุ่มจากทราย
  3. ให้เพิม่ ความแน่นของคอนกรีตทบ่ี ริเวณหมุ้ สมอ เปน็ พเิ ศษ
  4. ห้ามใช้ เคร่อื งสั่นคอนกรตี (VIBRATOR) ท่ีจดุ เดิมอยู่นานเกนิ กว่า 15 วนิ าที
  1. หา้ มใช้ เครื่องสั่นคอนกรตี (VIBRATOR) จี้คอนกรตี ให!้ หลเข้าไปบรเิ วณใกลห้ ัว ANCHORAGE แตใ่ ห้

ทำการเทคอนกรีตทบ่ี ริเวณจุดนัน้ แลว้ จงึ ใชเ้ ครอื่ งสั่นคอนกรีตทำการสัน่ คอนกรีตตามปกติ

  1. ควรระมัดระวังบรเิ วณหวั เสาหา้ มเทหวั เสาสูงเกินพนื้ เด็ดขาด เนื่องจากแรงเฉือนทจ่ี ดุ น้นั จะสูงมาก
  2. ตรวจสอบว่าในแบบระบุให้เว้นหัวเสาหรอื บริเวณรองรับไวก้ ่อนหรือไม่ และตรวจดูให้เปน็ ไปตามน้นั

(6) รายการตรวจสอบกอ่ นการดึงสายเหลก็ เอน็ จะทำการดงึ ได้ต่อเมอ่ื คอนกรีตอายคุ รบตามท่ีวศิ วกรกำหนด แลว้ เทา่ นน้ั

  1. ตอ้ งทดสอบความเทยี่ งตรงของแม่แรงกับ CALIBRATION CRANE และ PROVING RING ทกุ วนั กอ่ น

นำแม่แรงไปใช้งาน

  1. ถ้าแม่แรงเกิดความคลาดเคลอื่ น ห้ามนำมาใช้งาน และใหว้ ิศวกรตรวจสอบทนั ที (แม่แรงจะมีความ คลาดเคลอ่ื นไดไ้ ม่เกนิ ± 2%)
  1. ตรวจสอบลำดบั ข้ันตอนของการดิงสายเหลก็ เอน็ ตามหมายเลขท่ีวิศวกรจัดทำบญั ชกี ารดงิ ไว้
  2. ตรวจทานระยะยดึ แรงอดั ในแมแ่ รง และคา่ ที่ได้จากการคำนวณไวส้ ำหรับแรงดงึ ในสายเหลก็ เอน็ แต่ละ

สาย

  1. ตรวจดูการต้งั แนวกน้ั ต้นปลายขายเหลก็ เอน็ ทีจ่ ะใชแ้ ม่แรงดงึ เพอ่ื ป้องกนั อนั ตรายอย่างรุนแรง อันท่ี อาจจะเกดิ จากสายเหล็กเอ็นขาด

(7) การดงึ สายเหล็กเอ็น

  1. ตรวจตกู ารจดั จำปา สายเหลก็ เอน็ และสมอ ให้กระชับดว้ ยความระมดั ระวัง ไมให้จำปาขบสายเหล็ก

เอ็นขาดในขณะดงึ

  1. ตรวจดใู หม้ ีการทำความสะอาดแปน้ เสมอ (ซ่งึ ปากแมแ่ รงจะยัน) ใหร้ วมท้ังจำปา ใหส้ ะอาดปราศจากข้ี

ปนู เกาะ

  1. กำกับดแู ลการสวมแม่แรงเข้ากับสายเหล็กเอ็น โดยจัดจำปาใหย้ ึดกระชับ แลว้ ดิงสายเหล็กเอ็น โดย

การอา่ นมาตรแรงอดั ของนามันไฮดรอริค เม่อื แรงอัดขน้ึ ประมาณ 10% แล้วให้คลายแรงตันให้หมด ตอ้ งระวงั ไมให้เกดิ แรงบิดแรงตดั อ่นื ๆ ทีไ่ ม่ต้องการ อันอาจจะเกิดจากการดึงสายเหลก็ เอ็นน้ดี ว้ ย

  1. ทำเคร่อื งหมายขีดตอนเรมิ่ วัดความยดื ไวบ้ นสายเหล็กเอ็น และเตรียมไมบ้ รรทดั เหล็กซึง่ วดั ได้ละเอยี ด จนถึงมิลลิเมตร
  1. เร่ิมเดินเคร่อื งอดั 1น้าํ มัน เพอื่ ดึงใหม่ การอ่านแรงในสายดึงให้วดั โดยตรงด้วย LOAD CELL หรอื อา่ น จากมาตรความคันน้ีามนั ซง่ึ มีการเทียบแรงไว้กอ่ นแล้ว พรอ้ มกบั ระยะยดื ใหไ้ ดต้ ามบัญชี การดึงดว้ ยความ

-การบริหารสญั ญาและการควบคมุ งาน หน้า 57

คลาดเคลือ่ นของแรง ซึง่ วัดจากมาตรความดันได้ไมเ่ กนิ ± 2% คือความยืดไม่เกิน ± 2 มม. หรือตามท่ีวศิ วกร กำหนด

  1. เม่อื ไดแ้ รงตามกำหนดแล้ว ใหอ้ ดั จำปายดึ สายเหลก็ เอน็ จนแนน่ นอกเสยี จากระยะยืดของสายเหลก็ เอน็ เกินกว่าระยะเล่ือนของกระบอกสูบ จงึ ให้ทำการอดั จำปาไวแ้ คพ่ อใหย้ ึดอยู่ แล้วจัดกระบอกสบู แมแ่ รงเพอื่ ดงึ

ใหมต่ อ่ ไป

  1. ตรวจควบคุมใท้มกี ารจดและบันทกึ ระยะลู่ตามของจำปา เม่อื ปลอ่ ยแม่แรง สำหรบั สายเหลก็ เอน็ ทุก สายระยะลตู่ ามนจี้ ะตอ้ งไม่เกินท่วี ิศวกรกำหนด ถ้าเกนิ จะตอ้ งทำการดึงซอ่ มแรงใหม่
  1. ตรวจดกู ารคลายแรงภายหลังการยดึ สมอแล้วนน้ั จะต้องกระทำไปด้วยอาการราบรื่น ปราศจากแรง กระตุกกระแทกใด ๆ ซงึ่ อาจเกิดขึน้ ในสายเหล็กเอ็น หรอื สมอเปน็ อนั ขาด

(8) การตดั และการอุดอัด ตรวจสอบตังต่อไปนี้

  1. ตรวจสอบระยะโด่งตา่ งๆ ตามทว่ี ิศวกรกำหนด ถา้ ไมไ่ ดร้ ะยะตามเกณฑ์ หา้ มดำเนนิ การตอ่ ไปและให้

รายงานวศิ วกรทราบทนั ที

  1. การตัดสายเหลก็ เอน็ ทโี่ ผลย่ น่ื เกิน ตอ้ งการใหใ้ ช้เลื่อยจานคาโบรนั ตมั ความเรว็ สูงตดั หา้ มใช้ไฟแก๊ส

หรือความร้อนตัดโดยเด็ดขาด

  1. ตอ้ งให้มกี ารพ่นสืกันสนมิ ท่สี มอยดึ ทุกตวั
  2. ให้มกี ารคลีส่ ายเหลก็ เอ็นหลังพับงอเข้าไปไวในเบา้
  3. อุดและอดั เบา้ สมอใหเ้ ต็มดว้ ยปนู ทราย

(9) การถอดแบบ

  1. ห้ามถอดแบบจนกวา่ จะทำการดงึ สายเหล็กเอน็ จนเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้
  1. ในกรณที น่ี า้ํ หนักคงที่ (DEAD LOAD) ของชน้ั ลดั ข้ึนไปเกนิ นํ้าหนักจร (LIVE LOAD) ทอ่ี อกแบบวศิ วกร จะตอ้ งตรวจสอบนา้ั หนักที่นัง่ รา้ น และค้ํายนั ให้เรยี บรอ้ ยเสยี กอ่ น โดยท0าค้าํ ยันมากกวา่ 1 ชัน้

12. งานก่ออิฐฉาบปูน

(1) อิฐมอญกอ่ นนำมาก่อต้องชบุ นา้ั จนอ่มิ ตัว (2) อฐิ ทีก่ ่อต้องได้แนวทัง้ ทางด่ิงและระดบั (3) เศษอิฐท่กี อ่ ไม่เต็มก้อนให้ก่อไวร้ ิมเสา (4) ควบคมุ ให้สว่ นผสมปนู กอ่ ปูนฉาบไดอ้ ัตราสว่ นทเ่ี หมาะสม (5) การฉาบปนู ผิวหนา้ ทัง้ ภายนอกและภายในหนาประมาณ 1 ซม. (6) กอ่ นฉาบปนู ต้องทำสะอาดผิว และราดนํ้าใหเ้ ปียกก่อนฉาบผวิ คอนกรตี ตอ้ งกะเทาะใหผ้ ิวหยาบ (7) ปนู ท่ฉี าบผวิ เสร็จแลว้ มองดูตอ้ งไมเ่ ปน็ คลื่น

(8) อตั ราสว่ นผสมของปนู กอ่ และปูนฉาบ

  1. ปนู กอ่ ผนงั ใต้ดินใช้ ปูนซีเมนต์ : ทรายหยาบ (อตั รา 1 ะ 4)
  1. ปูนกอ่ ผนังทั่วไป ปูนซีเมนต์ : ปูนขาว : ทรายหยาบ (อตั ราส่วน 1 : 2 : 4)
  2. ปนู เทเหลวแทรกในแนวกอ่ อฐิ ใชป้ นู ซเี มนต์ : ทรายละเอียด (อัตราส่วน 1 : 1)

การบริหารสัญญาแทะการควบคุมงาน - หน้า 58

  1. ปูนฉาบผนังภายนอกใช้ ปูนซีเมนต์ ะ ปูนขาว : ทราย (อตั ราสว่ น 1 : 1 : 5)
  2. ปนู ฉาบผนงั ภายในใช้ ปนู ซีเมนต์ : ปูนขาว : ทราย (อัตราส่วน! ะ 2 : 6)

(9) ตรวจขนาดความยาวและระยะหา่ งของเหล็กเสยี บขา้ งเสา ค.ส.ล.สำหรับยดึ ผนงั อฐิ

(10) ตรวจการกอ่ อิฐสลับรอยต่อ แนวฉาก สวนผสมของปนู กอ่ ความหนาของปูนกอ่ ไมค่ วรเกนิ 1 ชม. (11) การก่อถึงข้ันบนท่จี ะซนท้องคาน หรือแผน่ พน้ื ค.ส.ล. ควรเวน้ ไว้ให้คานหรอื แผน่ พ้ืนนนั้ แอ่นตัวมาก

ทสี่ ุดก่อนแลว้ จงึ ก่อขน้ั สุดทา้ ย โดยการเอยี งแผน่ อิฐอัดใหแ้ นน่ (12) ตรวจคานเอน็ และทบั หลัง ค.ส.ล.ทุกช่องเปิด และทกุ ระยะในแนวนอนไมเ่ กนิ 2 ม. และแนวตงั้ ไม่เกนิ

3 ม. ตรวจคานเอ็นและทับหลัง ค.ส.ล.ทุกชอ่ งเปิด และทกุ ระยะในแนวนอนไมเ่ กนิ 2 ม. และแนวตง้ั ไมเ่ กิน 3 ม.

(13) การฉาบปูนให้ฉาบเป็นข้นั ๆ หนาข้นั ละไมเ่ กนิ 1 ชม. ความหนาทั้งหมดไม่เกนิ 2.5 ชม.

13. การกอ่ อิฐคอนกรตี บล๊อค ฉาบปูน ก่อหิน อฐิ โปรง่ อฐิ ประดับและงานปนู แตง่

(1) ให้อัด หรือยาส่วนที่กลวงด้วยปูนทราย MORTAR ให้ท่วั เต็มหน้ากอ่ นกอ่ (2) วัสดุท่เี ปน็ กอ้ นกดใหเ้ รยี บโดยยา MORTAR ใหท้ ั่วเตม็ หน้าทั้งรอยต่อด้านหัว และทางราบ (3) รอยต่อด้านหวั และทางราบตอ้ งมี MORTAR ยาหนา 9 มม. แลว้ อดั ใหแ้ น่น (4) รอยต่อทางระนาบและทางตัง้ ( COLLAR ) ต้องอดั ดว้ ย MORTAR ให้เต็ม (5) รอยตอ่ ปลายธรณโี ดยรอบวงกบประตูหน้าตา่ ง หรือตำแหน่งอน่ื ทีก่ ำหนดว่าต้องอดุ MORTAR ต้องเชาะ ร่องลึก 2 ซม. และปาดใหเ้ รยี บสม่ําเสมอ (6) กอ่ นนำอฐิ มาก่อตอ้ งซุบน้าํ จนเปยี กให้ท่วั กอ้ นกนั ปนู รอ่ นเพราะอฐิ ดูดน้าํ

(7) รอยต่ออฐิ ก่อตอ้ งมีปนู ก่อเต็มหนา้ (8) หา้ มนำอฐิ หกั มาก่อกลางกำแพงหรือผนงั

(9) ถา้ จำเป็นต้องก่ออิฐบางแหง่ ในแนวผนังเดียวกนั ซง่ึ สูงกวา่ ทอี่ ่นื ๆ หา้ มกอ่ อิฐเทา่ กนั เกิน 1.00 ม. (กัน

กำแพงลม้ )

(10) การก่ออิฐตดิ สว่ นโครงสร้าง ตอ้ งกระเทาะหนา้ คอนกรตี ให้ขรขุ ระตลอดหน้า (ใหแ้ งห่ นิ โผล่แต่ไม่ใหถ้ งึ

โครงเหล็ก) และลาดนํา้ ให้เปียกก่อนกอ่ อิฐ

(11) กำแพงทกุ สว่ นตอ้ งมที ับหลังและเสาเอ็น ค.ส.ล.ทกุ แหง่

(12) กอ่ นก่ออิฐเหนือคานระตับดนิ ทกุ แห่งตอ้ งเทแนวกันความชื้นบนคานด้วย ASPHALT หนาอยา่ งนอ้ ย 1 ซม.

(13) เม่อื กอ่ อิฐเสร็จภายใน 48 ซม. หา้ มกระทบกระเทือนโดยเด็ดขาด (14) การกอ่ อิฐหนุนทอ้ งคานต้องรอหลงั กอ่ ผนงั เสรจ็ แล้ว 3 วนั

14. การทำเอน็ คอนกรีตเสรมิ เหลก็

(1) ผนังก่ออิฐหรือซีเมนต์บลอ๊ คทฉี่ าบปูนมเี น้ือทเี่ กนิ 9 ม.2 และผนังกอ่ อฐิ หรือ1ซีเมนต์'บลอ๊ คที่ก่อตดิ 'วงกบ

ประตหู นา้ ต่าง ต้องมีเอ็น ค.ส.ล.โดยใช้เหลก็ ยืน 2 - 9 มม. เหลก็ ปลอก 6 มม. ทุกระยะ 20 ซม.

(2) ความหนาของเอน็ เทา่ กบั ผนังก่ออฐิ หรือซเี มนต์บลอ๊ ค

(3) เสา ค.ส.ล.ทกุ ตน้ ท่ีกำแพง ก่อมาชนตอ้ งมเี หลก็ เลยี บขนาด 6 มม. ฝงื ย่ืนขา้ งละ 25 ชม. ทกุ ระยะ 30 ซม.

สำหรบั ผนงั ทีก่ ่ออิฐและทกุ ระยะ 20 ชม. สำหรบั ผนงั ซีเมนต์บล๊อค

การบริหารสญั ญาและการควบคนู งาน - หน้า 59

15. การปรบั พื้นไม้ (1) ไมท้ กุ แผ่นตอ้ งเขา้ ลนิ้ อดั สนิท

(2) การปรบั พน้ื ตอ้ งเป็นแนวตรง (3) การปรับไสต้องเรียบเสมอไมเ่ ปน็ คล่นื หรือลอน

16. การปูกระเบื้องยาง (1) วัสดทุ ีใ่ ชต้ อ้ งเป็นกระเบอ้ื งคุณภาพดี มสี ่วนประกอบด้วยส่วนผสมไวนิล และพลาสตกิ โดยท่วั ถึง

(2) ขนาดสม่าํ เสมอกัน (3) กระเบอ้ื งยางตอ้ งตดั เป็น 4 เหล่ยี มอย่างเทย่ี งตรง ไม่มีรอยตำหนิ

(4) ผวิ ทีจ่ ะปูพืน้ กระเบ้อื งยางตอ้ งแตง่ ใหเ้ รียบร้อย พนื้ คอนกรีตตอ้ งแหง้ สนทิ (5) การทากาวตามคำแนะนำฃองผผู้ ลิตโดยใช้เกรียงฟ้นปลาความหนาไม่เกิน 0.80 ซม. ตรงรูปตัว V ท่ี เกรยี งลึก 0.16 ชม. และห่างกัน 0.25 ซม. จากศูนย์ถงึ ศนู ย์ (6) จะเริม่ ปูกระเบ้อื ง เมอื่ ปูแต่งผวิ แลว้ มีอายไุ มน่ อ้ ยกว่า 21 วัน (7) ปูกระเบือ้ งยางใหไ้ ด้แนวสมา่ํ เสมอ (8) เม่ือปกู ระเบอ้ื งแลว้ ห้ามใช้งานจนกวา่ จะผ่านไปแล้ว 3 วัน

(9) ทำบัวเชิงยางสีดำ ผนังกวา้ ง 4" (10) เมือ่ กระเบื้องยางติดพน้ื ทีแ่ ลว้ ให้ขัดดว้ ย WAX โดยใชเ้ ครือ่ งขัด (11) การขจัดรอยดา่ งใหใ้ ชเ้ กรียง พุตต้ี หรอื ฝอยเหล็ก หรอื ผ้าชุบสบ่ทู ่เี ป็นกลาง ห้ามใช้นํา้ ยาอย่างอืน่ เด็ดขาด

17. การปกู ระเบื้องพ้นื ชนิดผวิ แขง็

(1) วัสดุทใ่ี ช้ ได้แก่ กระเบอ้ื งโมเสค เซรามคิ หินอ่อน หินแกรนติ กระเบอ้ื งเคลอื บ กระเบือ้ งดินเผา ความร้อนสูง กระเบือ้ งหนิ ขดั

(2) วสั ดทุ ่นี ำมาใช้ตอ้ งมคี ณุ ภาพ ขนาด สี และลักษณะตามแบบกำหนด (3) ข้นั เตรยี มการ

  1. ก่อนทำงานตอ้ งตรวจดวู า่ แนวปนู สมอ ยดึ พุก งานไฟฟา้ งานเดนิ ท่อ ถนนตา่ ง ๆ ท่ีอยู่ใต้พื้นผิวแขง็

เสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว

  1. ไมเ่ ร่มิ งานจนกวา่ ปกปดิ ท่ีใกลเ้ คียงใหพ้ น้ จากความเสียหายกอ่ น
  1. กอ่ นปูพื้นตอ้ งเตรยี มความสะอาดปราศจากเศษผงวสั ดุตา่ ง ๆ
  1. ผวิ ต้องได้ระดับและความลาดตามกำหนด
  1. ระดับพ้ืนตอ้ งตาํ่ กว่าความหนาของแผ่นและเช้อื ประสาน
  1. กอ่ นปูกระเบื้องตอ้ งล้างผิวทที่ ำงานใหส้ ะอาดใหผ้ วิ ชมุ่ แต่ต้องไมม่ ีนํ้าขัง
  2. ต้องเตรียมผวิ ด้วยการฉาบปูน 2 ขนั้ ปรับผวิ กำแพงใหไ้ ดฉ้ าก มุม ขนาดตามกำหนด
  3. ห้ามปกู ระเบือ้ งบนแผ่นพนื้ คอนกรตี ทอี่ ายไุ ม่ครบ 28 วนั หรอื ยกระดบั คอนกรตี ทอ่ี ายไุ มค่ รบ 15 วนั
  4. ปูนรองพ้นื ประกอบดว้ ย ปูนซีเมนต์ : ทราย ( อัตราสว่ น 1 : 5 ) ผสมนา้ํ พอเหลวทำงานได้ (4) การปูพื้นกระเบ้อื งชนิดผิวแขง็

การบรหิ ารสญั ญาและการควบคมุ งาน - ทน้า 60

  1. ก่อนปูกระเบ้อื งให้โรยซีเมนต์ผงให้ทว่ั ปนู รองพ้นื หนา 1.6 มม. ไล้ด้วยเกรียงแล้วเริ่มปแู ผ่นกระเบ้อื ง
  2. วางแผ่นกระเบือ้ งเรยี งเปน็ แนว แผ่นหา่ งกนั 1 มม.
  3. ปูนรองพ้นื ที่เทเกิน 1 ชม. หรือถ้าลงชัน้ ยึดประสานเกิน 15 นาที ถา้ ปูนมีเย่ือลอยปิดหน้าใหโ้ กยปนู ออกแล้วเทปนู รองหรอื เชอื้ ประสานใหม่
  4. ปรบั ระดับหนา้ กระเบอื้ งลอกกระดาษออกและแต่งแนวให้แล้วเสรจ็ ภายใน
  5. ยาแนวแต่งแนวดว้ ยผงซเี มนต์ ยาแนวเร็วทสี่ ดุ หลังแต่งแนวใน 1 1/2 ซม.

18. การบำรงุ รักษา และปอ้ งกนั กระเบือ้ งปพู ้ืนผนงั ผิวแข็ง (1) หา้ มแตะตอ้ งรบกวนกระเบอื้ งที่ปใู นเวลา 7 วนั

(2) ถา้ จำเปน็ ตอ้ งเดนิ ผ่านใหใ้ ช้โมร้ องก่อนเดินผา่ นหรือทำงาน

(3) ใชฟ้ องน้าํ ล้างกระเบอ้ื ง แล้วขดั ทำความสะอาดครัง้ สดุ ท้ายดว้ ยผ้าแห้ง วัสดุปพู ้นื (1) ตรวจดูวา่ กระเบ้อื งเคลือบมีคณุ ลกั ษณะตามแบบกำหนด ถา้ แบบใดไม่กำหนดตอ้ งเป็นขนาด 8”x8”สี เทาอ่อน คุณสมบัติใหไ้ ด้มาตรฐานตาม มอก. ปัจจุบัน

(2) วสั ดปุ ูพืน้ ทเ่ี ป็นกระเบ้ืองยางตอ้ งเปน็ P.V.C. ชนดิ ไม่ผสมใยหิน และไวนิลปพู ้ืนชนิดไม่ผสมใยหนิ

- อาคารทีพ่ กั อาศัย กระเบื้องหนา 1.6 มม. - อาคารทท่ี ำการ กระเบ้อื งหนา 2.0 มม.

(3) พ้นื หินแกรนิตตอ้ งไดม้ าตรฐาน ดังน.้ี - (1) ขนาดไม่เล็กกว่า 0.30 - 0.60 ม.2

(2) หนาไมน่ ้อยกว่า 2.5 ชม.

(4) ตรวจดกู ระเบอื้ งหนิ ขัดขนาด 0.30 X 0.30 ม. หนา 25 มม. หินเกลด็ เบอร์ 3 - เบอร์ 4 ผสมปนู ซีเมนต์

ขาวคุณภาพได้มาตรฐาน

19. การกรุฝา( ท่ัวไป )

(1) ฝากระเบื้องใยหนิ แผ่นเรียบ ฝาไมว้ ทิ ยาศาสตร์ต้องกรุโดยวางจากกง่ึ กลางท้อง โดยใหเ้ ศษท่ีเหลืออย่ตู อนริม (2) แนวรอยตอ่ ตอ้ งเปน็ เส้นตรง และเซาะรอ่ งตัววี เวน้ ฝากระเบ้ืองใยหนิ แผน่ เรยี บให้ยาแนวดว้ ยกัมกรตี (3) เคร่าฝาใหว้ างห่างกนั ระยะ 60 X 60 ชม. หรือตามแบบ (4) กระเบอ้ื งใยหินแผน่ เรียบ ให้ผวิ เรียบอยูด่ ้านนอก ส่วนไมว้ ทิ ยาศาสตรใ์ ห้ลายอย่ดู ้านนอก

20. การกรสุ ังกะสลี ูกฟกู

การกรุสงั กะสลี ูกฟกู ต้องกรุชอ้ นกันลอนคร่ึงสำหรบั ลอนใหญ่ และซ้อนกนั 2 ลอนครึ่ง สำหรบั ลอนเล็กยดึ

ดว้ ยตะปูตอกสังกะสี

21. การกรุกระเบอ้ื งแผ่นเรียบ หรือกระเบ้ืองใยหิน ( ASBESTOS )

(1) ถา้ แบบรูปมไิ ตก้ ำหนดใหใ้ ช้โม้เคร่าขนาด 1l/2"x3" ระยะ 60x60 ซม. ( ทานํา้ ยากันปลวกเรยี บรอ้ ย)

(2) ตดิ กระเบ้อื งให้ผวิ เรยี บอยูด่ ้านนอก

การบรหิ ารสัญญานละก!'รควบภูมงาน - หน้า 61

(3) รอยต่อเว้นช่องตามแนวเคร่าไม้ 1 ชม.หรือ เซาะร่องเป็นตวั V และไสกบลบมุม

(4) การตอกตะปู ใหต้ อกจากกึง่ กลางแผน่ กระเบอื้ งแล้วตอกไล่ 2 ข้างพรอ้ มกนั และตอกมมุ ห่าง 10 ซม. (5) การตดิ แผน่ กระเบื้องให้เรมิ่ จากกึง่ กลางห้อง

22. การกรุผนงั ด้วยกระเบอื้ ง ( FACING TILE ) (1) กระเบ้อื งเคลือบ กระเบอื้ งเซรามคิ กอ่ นกรจุ ะต้องทำความสะอาดผนงั ก่อน คือปนู ผิวชัน้ แรกของกำแพง

ฉาบปูนช้ันแรก หนา 1 ซม. (2) ขดู ผวิ ปนู ที่ฉาบกำแพง กอ่ นปูนแห้งเพ่อื เตรยี มเกาะปนู ฉาบครงั้ ที่ 2 (3) ฉาบปูนผนังครัง้ ท่ี 2 ทำเช่นเดียวกันกบั ชนั้ ท่ี 1 แตต่ อ้ งเหลือระยะไวใ้ หพ้ อดีกบั ความหนาของกระเบอื้ งเคลือบ (4) กอ่ นกรุกระเบื้องให้รดนา้ํ ผวิ ผนงั กำแพงทฉี าบชน้ั ท่ี 2 แล้วโบกปนู กรุผนังใหม้ ีระยะเสมอกับทีก่ ะระยะไว้

กับความหนาของกระเบอื้ ง (หนาไม่เกิน 2 ซม.)

(5) กอ่ นกรุกระเบอื้ ง ให้นำไปแชน่ ํา้ ก่อนแล้วฉาบหลงั กระเบือ้ งทนั ทกี อ่ นปูน (6) รอยตอ่ ทีป่ ูกระเบื้อง ห่างกันไมเ่ กนิ 3 มม. ปแู ล้วยาแนวด้วยซีเมนต์ ยาแนวใหเ้ รยี บรอ้ ย (7) ปแู ลว้ รบี ทำความสะอาดกอ่ นสว่ นท่เี ลอะสกปรกจะแทง้ แลว้ ขดั ทำความสะอาดโดยเชด็ ใหแ้ หง้ (8) การกรผุ นังด้วยกระเบอื้ ง (FACING TILE) โดยใชก้ าวผงสำเร็จรปู ผสมซีเมนต์ ทราย นา้ํ ต้องปฏิบตั ติ าม

ขอ้ กำหนดของบรษิ ทั ผู้ผลิตจำหนา่ ย

23. การกรุแผ่นบรรเทาเสยี ง ( ACOUSTIC BOARD )

(1) เครา่ ฝาื เพดานระยะ 30x30 ชม. จากศนู ย์กลางถงึ ศูนย์กลาง ขนาดไมเ้ ครา่ 1l/2"x3" หรือตามแบบ กำหนด

(2) วางแนวสมา่ํ เสมอจากกลางห้องไป 2 ข้างเทา่ กัน (3) ยดึ แผน่ ACOUSTIC BOARD ตดิ เคร่าดว้ ยตะปู

(4) หรือปฏิบัตอิ ย่างอ่ืนตามแบบกำหนด

24. การกรุฝ็าเพดานดว้ ยแผ่นไม้วิทยาศาสตร์

(1) เคร่าฝา็ เพดานระยะ 60x60 ซม. จากศนู ยก์ ลางถงึ ศนู ย์กลางใชไ้ ม้ขนาด 1 l/2"x3" หรอื ตามแบบ

(2) ยึดฝืาติดเคร่าดว้ ยตะปโู ดยปรบั ให้ชิดกัน

(3) ทบั แนวให้มเี ฉพาะรอบหอ้ งเทา่ น้ันโดยใช้ไม้เบือ้ แขง็

25. การติดตัง้ โครงเครา่ ผาี การตดิ ต้งั โครงเคร่าฝาื ระบบ T- BAR และตวั c (GALVANIZED STEEL

CEILING FRAME)

(1) ตรวจดูชนดิ และขนาด ของโครงเครา่ หลกั และรอง ได้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั หรอื ไม่ (2) ตรวจดูจดุ ปรับระดบั ทโ่ี ครงเครา่ หลกั ทกุ ระยะ 60x120 ซม. หรอื ตามแบบกำหนด (3) ตรวจดูระดบั ฝืาใหไ้ ด้ระดับเดียวกันทัว่ บริเวณ หรือตามแบบกำหนด การตดิ ตั้งโครงเคร่าฝาเหลก็ ชบุ สงั กะสรี ูปตวั C (1) ตรวจดูชนิดและขนาด ของโครงเครา่ หลักและรอง ได้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั หรือไม่ (2) ตรวจดรู ะยะโครงเครา่ ทุกระยะ 40 ซม. หรือ 60 ซม. หรอื ตามแบบกำหนด

ทารบริทารสญั ญา!!ตะการควบคมุ งาน - หน้า 62

26. แผ่นยบิ ซม่ั ( GYPSUM BOARD )

(1) ตรวจว่าแผ่นยบิ ซั่มที่นำมาใชม้ ี ชนดิ ขนาด และความหนา ตามแบบกำหนด

(2) ตรวจว่าแผน่ ยบิ ซ่ัมไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ ัน หรอื ไม่

27. การกรเุ พดานด้วยยบิ ซัม่

(1) ต้องจดั แนวเป็นเสน้ ตรงได้ระดบั เรยี บสม่ําเสมอ (2) การวางแนวเริ่มจากกลางห้องออกไปท้งั 2 ดา้ น

(3) โครงเคร่าตามแบบกำหนด

.28 แผ่นบรรเทาเสียง ( ACOUSTIC BOARD )

(1) ตรวจตูวา่ แผน่ สำเรจ็ รูป ACOUSTIC BOARD ท่นี ำมาใชส้ ามารถบรรเทาเสียง และความรอ้ น ได้หรอื ไม่

(2) เป็นชนิดและขนาดตามแบบกำหนด (3) ตรวจตราการติดตั้งต้องถกู วิธี เช่น เคร่าฝ็า หรือวธิ ีการ ฯลฯ

29. กระเบื้องใยหนิ แผ่นเรียบ ( ASBESTOS )

(1) ตรวจตวู ่าเป็นชนิด ขนาด ความหนาตามท่ีแบบกำหนด

(2) ตรวจวา่ คุณสมบัตไิ ด้มาตรฐานตาม มอก. ปัจจบุ ัน หรอื ไม่ (3) ตรวจตวู ิธกี ารตดิ ตัง้ ถกู ตอ้ ง รวมทง้ั วสั ดุอปุ กรณ์ประกอบอน่ื ๆ เชน่ เครา่ ฝาื การตอกตะปูยึดติด วิธีการกรุ

เปน็ ด้น

.30 กระเบ้อื งมุงหลงั คา ( ROOFING )

(1) ตรวจตูวา่ กระเบ้ืองใยหนิ ชนิดลอนตูล่ กู ฟูกลอนเลก็ หรอื ใหญ่ มคี ณุ สมบัตไิ ดม้ าตรฐานตาม มอก. ปจั จบุ นั

หรือไม่

(2) ตรวจตตู ะขอรบั กระเบอ้ื งวา่ มคี ุณสมบัตติ ามกำหนด (3) ตรวจตูเหล็กร้อยยดึ กระเบื้องสำเรจ็ รูปวา่ มคี ณุ สมบัติถกู ต้อง (4) หากมงุ ดว้ ยกระเบอื้ งคอนกรีต คุณภาพตอ้ งเทยี บเทา่ C - PAC MONIER หรอื V - CON และคุณสมบตั ิ ได้มาตรฐานตาม มอก. ปัจจบุ นั (5) อื่น ๆ ตรวจตวู สั ดอุ ุปกรณ์ว่าเป็นไปตามแบบกำหนด

31. การติดต้งั ผนังและหลังคา เหลก็ เคลอื บรีตลอน (ENAMELED STEEL CORRUGATED ROOFING SHEET)

(1) ตรวจตูชนดิ และขนาด ได้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ ัน หรอื ไม่ (2) ตรวจตูวธิ กี ารติดต้งั ถกู ตอ้ งตามแบบกำหนด หรือตามกรรมวธิ ีของผผู้ ลิต รวมทั้งวัสดุอปุ กรณป์ ระกอบอนื่ ๆ

หรือไม่

32. การทำหนิ ขัดในที่

(1) ตรวจตราให้แนใ่ จวา่ งานที่เกย่ี วช้องทำเสร็จไปก่อนแลว้ กอ่ นทำหนิ ขดั ในที่

(2) ห้ามทำหินขดั ในพ้ืนคอนกรตี ท่ีอายุไม่ครบ 28 วัน (3) สว่ นผสมหินขดั หนิ ขดั หนา 1 ซม. และในพื้นที่ 1 ม.2 ใช้ซีเมนตข์ าว 6 กก. (4) สว่ นผสมของหินลา้ งหนา 1 ซม. ในพ้นื ที่ 1 ม.2 ใช้ปนู ซีเมนต์ธรรมดา

(5) การเตรยี มการกอ่ นทำหนิ ขัดในที่

ก!รบรหิ ารสญั ญาและการควบภมู งาน - หน้า 63

  1. พรมน้ําให้ผิวช้นื โดยไม่มนี าํ้ ขัง ( พน้ื สะอาด )
  1. วางเสน้ แบง่ ฉาบปนู ผิวข้างเส้นแบ่ง ก่อนทำหนิ ขัด 24 ซม.
  2. เทส่วนผสมหนิ ขัดในเสน้ แบง่ โดยเกณฑต์ ามกำหนดดังกลา่ วแลว้
  3. บ่มหนิ ขดั อย่างน้อย 6 วนั จึงสามารถขดั ดว้ ยเครอ่ื งขัดได้
  1. การแตง่ หน้าครั้งสดุ ทา้ ยเชด็ ใหแ้ หง้ แลว้ ขัดด้วยชื้ผ้ึงจนช้นื มัน 33. การทำหินขัดขน้ั บันไต

การทำหนิ ขดั ขน้ั บันได กระทำเชน่ เดยี วกันกบั การทำพืน้ หินขัด

34. เชงิ ผนงั หินขัด

(1) ถ้าแบบรูปหรือรายการไมไ่ ดก้ ำหนด เชิงผนงั หินขัดมคี วามสงู ไมน่ อ้ ยกว่า 10 ชม.( จากขอบบนถึงพ้นื )

(2) หนิ ขดั เชิงผนังหนาอยา่ งนอ้ ย 10 มม. (3) ทินขัดเชงิ ผนงั ตอ้ งบม่ อยา่ งนอ้ ย 6 วนั จงึ ขดั ให้เรียบ (4) เชงิ ผนงั ทว่ั ไบ่

  1. ให้ทำเชิงผนังทุกคร้ังแม้แบบไม่กำหนด โดยใช้วัสดุที่กลมกลืนหรอื เหมาะสม
  2. ท้องหรอื พื้นซเี มนตไ์ ม่ปูวัสดุใด ๆ ให้ทาสีแทนเชงิ ผนังโดยมีความสงู จากพ้นื 10 ซม.

35. การตดิ กระจก

(1) บานทตี่ ดิ กระจกต้องใหก้ รอบบานแห้ง ฉาบดว้ ยพุตต้ี ( PUTTY ) บาง ๆ แล้วกดกระจกลงไปบนพุตต้ี (2) ตอกตะปไู ม้กับแนวเข้าท่แี ตง่ PUTTY ที่ล้นออกมาให้เรียบ (3) อย่าใหถ้ ูกน้ําจนกวา่ PUTTY จะแหง้ แล้วจงึ ทาสี

36. การกรุขึงลวดถกั

(1) ก่อนกอ่ อฐิ ทนไฟต้องล้างนํ้าทำความสะอาดกอ่ น

(2) การก่ออฐิ ใหท้ ำตามหลักวิชาชา่ ง

(3) พ้ืนคอนกรตี ทุกแห่งท่จี ะก่ออฐิ ทนไฟ ต้องกระเทาะให้แง่หินโผล่ เพอ่ื ให้ปนู ก่อจับแน่น (4) เมือ่ สรา้ งเตาแลว้ ตอ้ งถอื ปูนฉาบ และคอนกรตี ใหแ้ ห้งสนทิ ก่อน และรมไฟในเตาโดยรมไฟใหร้ มุ ๆ และ เพิม่ ความรอ้ นทลี ะน้อย ๆ ในระยะ 48 ชม. ในขณะกอ่ อฐิ หรือก่ออิฐเสร็จห้ามเปยี กนา้ํ เดด็ ขาด (5) ใน 48 ซม. ห้ามไดร้ บั การกระทบกระเทือนหรือรับน้ําหนัก

37. วสั ดทุ ใ่ี ช้ในการก่อสร้างเตาหงุ ต้ม

(1) ตรวจดูอิฐทนี่ ำมาก่อสร้างตอ้ งสามารถทนความรอ้ นได้ และคุณสมบัติให้ได้มาตรฐานตาม มอก. ปัจจุบนั (2) ตรวจดูฉนวนกันความร้อนสำหรบั ปล่องเหล็กระบบควัน มคี ณุ สมบตั ติ ามแบบกำหนด (3) ตรวจดูปนู ทนไฟว่าคณุ สมบัตไิ ดม้ าตรฐานตาม มอก. ปัจจุบนั หรือไม่

การบริหารสัญญาและการควบคมุ งาน - หนา้ 64

38. วสั ดุกอ่ สร้างทที่ ำด้วยไม้ (1) ไม้ ( ตรวจดวู ่ามีคณุ สมบตั ดิ ังต่อไปน้หี รือไม่ )

  1. ไมเ้ นอื้ แข็ง ต้องเปน็ ไมท้ ี่มีรายช่อื ตามทกี่ ำหนด มคี ณุ สมบัตริ ับแรงประลยั ได้ 1,000 กก./ซม.
  1. ไม้เนือ้ ออ่ น ต้องเปน็ ไมท้ มี่ รี ายซอ่ื กำหนดไว้แล้ว คุณสมบัตสิ ามารถรบั แรงประลัยไดไ้ ม่น้อยกว่า 550 กก./1ซม.2

(2) ตรวจดูว่าไมท้ น่ี ำมาใช้งานต้องไมผ่ ุ เปน็ รโู ต้งงอ แตกร้าว เปน็ กระพี้ จนเสียความม่นั คง แข็งแรง (3) ตรวจ และกำกับดูแลการไสไมต้ ่าง ๆ ท่ีนำมาใช้ทกุ ชนิดว่าเม่ือไสแล้วขนาดลดลงต้องอยตู่ ามเกณฑท์ ี่ กำหนดในตาราง (4) ตรวจดชู นิดไม้ท่นี ำมาใช้กบั สว่ นต่าง ๆ ของอาคารวา่ ถกู ตอ้ งคอื

  1. ไม้เนื้อแขง็ ใช้กบั เสา คาน ตง อะเส อกไก่ ส่วนของโครงหลงั คา จนั ทันพราง สะพานรับท้อง

จันทัน เชิงชาย คํา้ ยัน ลูกกรงบนั ได ราวบนั ได สว่ นประกอบของบนั ได พ้นื บัวเชิงผนัง วงกบ ประตหู นา้ ต่าง วงกบมงุ้ ลวด วงกบซ่องลม บานเกลด็ ไม้ กรงเก็บอาวุธ กรงเก็บเงิน หรือตามแบบ

  1. ไมเ้ นือ้ อ่อนใช้สร้างเคร่า ฝา เคร่าฝา็ เพดาน ฝา แป ไม้ทับแนวเพดาน หรือตามแบบ
  1. ไมอ้ ดั PLYWOOD มคี ณุ สมบัติตามผลิตภัณฑ์ไม้อดั ไทย หรอื ให้ไดม้ าตรฐานตาม มอก. ปจั จุบนั

39. ประตูหนา้ ต่างไม้

(1) ตรวจดูว่าประตูไม้เปน็ ชนิดแผน่ เรยี บท้ังดา้ นหน้าและหลงั เปน็ ไมส้ กั ของบรษิ ัทไม้อดั ไทยหรือเทยี บเทา่ หรอื ไดม้ าตรฐานตาม มอก. ปัจจุบัน

(2) แบบ ขนาด ให้ถือตามแบบกำหนด (3) อปุ กรณ์ประกอบประตหู น้าต่างดงั ต่อไปน.้ี -

  1. บานพับประตตู อ้ งเปน็ เหล็กได้มาตรฐานตาม มอก. หรอื ทองเหลอื ง หรือเหลก็ ชุบ ( GALVANIZED ) หรอื เคลอื บสขี อง WHITCO หรอื SANLOCKMรือ CHAMP หรือ 555 CPS หรือไดม้ าตรฐานตาม หรอื เคลือบสขี อง WHITCO หรือ SANLOCKWรอึ CHAMP หรือ 555 CPS หรอื ไดม้ าตรฐานตาม
  1. ถา้ กรอบหนา 1 1/2”ขน้ึ ไปใช้ขนาด 5”
  2. ถ้ากรอบหนานอ้ ยกว่า 1 1/2”ใชข้ นาด 4”
  1. ตดิ บานพับบานละ 3 อัน แตถ่ า้ ประตสู ูงเกนิ กวา่ 2.00 ม. ใหต้ ิดบานพับ 4 อัน
  2. หน้าต่างติดบานพับบานละ 2 อนั ขนาด 4”
  1. ตรวจดกู ลอนว่าตอ้ งเปน็ โลหะเคลือบสี หรือโลหะชบุ โครเมยี ม หรอื อะลมู ิเนียมอลั ลอยด์ หรือ ทองเหลือง
  1. กลอนมาตรฐานขนาด 9 มม. - 6”ตดิ ตอนล่างบานประตลู ะ 1 อัน และกลอนขนาด 9 มม. - 8” ตดิ ตอนบนประตบู านละ 1 อนั
  1. กลอนหนา้ ต่างใช้ 9 มม. - 5”ติดบานละ 2 อนั (บน-ลา่ ง)
  2. ตรวจดมู อื จบั วา่ ต้องเป็นโลหะเคลอื บสี หรือโลหะชบุ โครเมยี ม หรอื อะลูมเิ นยี มอลั ลอยด์ หรอื

ทองเหลอื ง ขนาดไม่เลก็ กว่า 5”บานละ 1 อัน (เว้นแตบ่ านที่ติดกญุ แจลูกบิด)

-การบรหิ ารสญั ญาและการควบคุบราน หน้า 65

  1. กญุ แจลูกบดิ ให้ใช้ลูกบิดมาตรฐานของ ALPHA 1 DIAMON , SEVENLOCK หรือเทียบเทา่ หรอื

ตามแบบ

  1. การติดตง้ั กุญแจลกู บิดชนิดมกี ญุ แจติดท่ีประตูห้องทั่ว ๆ ไป ห้องละ 1 ชดุ
  2. ตดิ ต้ังลกู บดิ ชนดิ ไมม่ กี ญุ แจ แตล่ อ๊ คดา้ นในไดก้ บั หอ้ งนํ้า-ส้วมหรือ ประตูออกระเบียงซึ่งไม่มีทางไป

ที่อ่นื

  1. ตรวจดูว่าประตูทกุ บานตอ้ งมีกนั ชนปุ่มยาง
  1. ตรวจดูวา่ ขอรับขอสับเป็นโลหะเคลอื บสี หรอื โลหะชุบโครเมยี ม หรอื ทองเหลอื ง ขนาด 6 มม. - 8”บานละ 1 ชุด หรือท่ยี ดึ ชนิดลูกปืนตดิ สปริง

40. ประตูหนา้ ตา่ งอลมู เิ นยี ม

(1) ตรวจดบู านพบั สปรงิ ชนดิ สงในกรอบคุณภาพไม่ดอ้ ยกว่า NEIVSTAR , JACKSON , CHAMP 1 NSK ,

555 CPS หรือเทียบเท่า และ ปดิ เปิดได้ 2 ทาง (2) ตรวจดูกลอนว่าเป็นแบบสงในกรอบบาน บานละ 2 อนั ( บน-ลา่ ง )

(3) ตรวจดูว่าหากเปน็ ประตบู านเล่ือนหน้าตา่ งบานเลอ่ื น ลูกล้อบานเลอ่ื นท้งั หมดเป็นล้อ NYLON ซง่ึ มี

BALL BEARING สงใน และเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ของ DELMAR , KILLEN , DlNASTY

41. ประตูหนา้ ตา่ งเหล็กรีดขึน้ รูป (ตวั Z)

(1) ตรวจดูว่าการรดี เหลก็ ขึน้ รูปโดยวธิ ีตดั อดั เช่อื ม ตกแต่งรอยเชอื่ มไดม้ าตรฐาน (2) ตรวจดูขนาดหน้าตา่ งเหลก็ และนา้ํ หนักตอ่ เมตร ให้ดูตามแบบขยาย DACO หรือ THAI NACO หรือ OPA NICCO หรือ A.U.M. หรือเทียบเทา่

(3) ตรวจดูบานพับวา่ ต้องประกอบเสร็จจากโรงงาน (4) ตรวจดกู ุญแจประตวู า่ เป็นแบบเหลก็ สงติดกรอบบานและไตข้ นาด

(5) ตรวจดูอปุ กรณอ์ น่ื ๆ เซน่ มือจบั ลอ๊ ค เปิด-ปดิ แขนคํา้ บานกระทงุ้ วา่ ถกู ต้องและได้มาตรฐานตามแบบ

.42 หน้าต่างบานเกล็ดกรอบเหล็ก

(1) ตรวจลวู า่ บานเกล็ดกรอบเหลก็ เปน็ เหลก็ ชนิดอาบสังกะสี ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.2 มม. (2) ตรวจดูคันบงั คับเปน็ แบบคันโยกเปดิ ค้างลอ๊ คได้

(3) ตรวจดกู ารตดิ ตงั้ วา่ เชา้ กบั กรอบหนา้ ต่างแนบสนทิ และมแี มือทางซ่างที่ดี 43. ประตเู หล็กมว้ น

(1) ตรวจดวู ่าประตูเหล็กมว้ นแบบบานทึบ ทำจากเหลก็ GALVANIZED เกล็ดเปน็ ลอน และใบประตูชนิด ชิมข้ึนรูป

(2) ตรวจดวู ่าใบประตูลอนเดย่ี วต้องใช้กับประตกู ว้างไมเ่ กิน 4.00 ม. ความหนาของใบประตเู หล็กเคลอื บสี

อย่างน้อย 0.5 มม.

การบรหิ ารสัญญาและการควบคุ>1งาน - หนา้ 66

(3) ตรวจดวู า่ ใบประตูลอนเดีย่ วใบใหญ่ใชก้ ับประตูกวา้ งไมเ่ กนิ 10.00 ม. สงู ไมเ่ กิน 9.00 ม. ความหนาใบ ประตู 1.2 มม.

(4) ความหนาใบประตู 1.0 มม. ใช้กบั ประตกู วา้ งไม่เกิน 8.00 ม. สงู ไม่เกนิ 9.00 ม. (5) ตรวจดรู ะบบการปิด-เปิด แบบมอื ดึงแบบโซ่ แบบไฟฟา้ วา่ เป็นไปตามขอ้ กำหนด (6) คณุ ภาพของประตเู หลก็ ม้วนตอ้ งไมด่ ้อยกวา่ ผลติ ภณั ฑข์ อง BANGKOK SHUTTER , KY , THAI SHUTTER , TOYO SHUTTER , RAJA SHUTTERS , SAFETY หรอื เทียบเท่า คณุ สมบัตไิ ตม้ าตรฐานตาม มอก.

ปจั จุบนั (7) ตรวจดวู า่ ผรู้ บั จา้ งตดิ กญุ แจใหบ้ านละ 1 ชุด

44. งานเบ็ดเตล็ด ( งานตกแตง่ )

(1) งานไสกบ ให้ทำการไสกบกบั งานไม้ทกุ แหง่ ทีม่ องเห็นด้วยสายตา (2) งานมงุ กระเบอ้ื งหลงั คาทกุ แผ่นต้องทบั กนั แนน่ สนิททุกแผน่ (3) กอ่ นมุงกระเบอ้ื งตอ้ งพิจารณาทิศทางลม แลว้ ทำการมงุ สวนทศิ ทางลม (4) มงุ กระเบ้ืองใหช้ ายทับช้อนกนั 20 ซม.ทุกแผ่น (5) การเจาะรูกระเบ้อื งเพ่ือขันสลักเกลยี วยดึ ตอ้ งรูโตกว่า 1/16 น้วิ อย่าชันสลักเกลยี วแน่นมากเกนิ ไปอาจทำ ให้กระเบือ้ งแตก (6) หากกระเบื้อง 1.20 ม. ไม่พอดคี วรใชข้ นาด 1.50 ม. หรอื 1.80 ม. สำหรับแนวสดุ ท้ายไมค่ วรเอา กระเบ้ือง หากกระเบอื้ ง 1.20 ม. ไมพ่ อดีควรใชข้ นาด 1.50 ม. หรอื 1.80 ม. สำหรับแนวสดุ ท้ายไมค่ วรเอา กระเบื้อง (7) ขอรับกระเบอ้ื งลอนคู่ใหไ้ ซ้ตะขอ 2 อนั ต่อ 1 แผ่น สำหรบั ชายล่าง และชายบนใหย้ ึดดว้ ยตะปูเกลยี ว (8) การเจาะกระเบอ้ื งเพ่ือยดึ ด้วยสลักเกลียวต้องเจาะโตกวา่ เกลยี วครึง่ หุน ( 1/12" ) โดยเจาะทะลทุ ้งั 2 แผ่น เจาะหา่ งปลายซายกระเบือ้ งไมน่ ้อยกวา่ 5 ซม. (9) ตะปูเกลียวยึดกระเบอ้ื งลอนคูใ่ ห้ยดึ ที่ลอนตวั กลาง แผน่ ละ 1ตวั โดยชายกระเบือ้ งทับกนั 1/2 ลอน (5 ซม.) (10) ตะปเู กลยี วยึดลกู ฟกู ลอนเล็ก ขนั ยึดท่ีลอนที่ 1 แผ่นละ 1 ตวั โดยชายกระเบ้ืองทับกันลอนคร่งึ (9 ซม.) (11) ตะปเู กลยี วยึดกระเบอ้ื งลูกฟูกลอนใหญ่ใหย้ ดึ ทีล่ อนท่ี 2 แผ่นละ 1 ตวั โดยซายกระเบ้ืองซอ้ นทบั กนั 1

ลอน (7 ชม.)

(12) ตะปูเกลียวยึดกระเบ้อื งโปรง่ แสงลอนคู่ ใหย้ ึดท่ีหวั ลอนกลาง และลอนท่ีทบั ช้อนกัน 2 ข้าง ( ทกุ ลอน ) (13) ตะปเู กลยี วยึดกระเบอื้ งโปรง่ แสง ลกู ฟกู ลอนเล็ก ใหย้ ึดทตี่ ัวลอนกลางและลอนท่ีทบั ชายท้งั 2 ขา้ ง (14) ตะปเู กลยี วยึดกระเบ้อื งโปร่งแสงลูกฟกู ลอนใหญ่ ใหย้ ึดท่ตี ัวลอนกลาง และลอนทช่ี ายทบั กนั ทั้ง 2 ขา้ ง

45. การยดึ ตรึง

(1) การประกอบประตูหนา้ ตา่ ง วงกบทุกแหง่ ต้องเข้าเดอื ย และปากไม้อย่างดี (2) โครงจั่วไมท้ ก่ี ว้างกวา่ 30 ม. ตอ้ งยดึ ด้วยสลกั เกลยี ว 12 มม. อย่างน้อยจดุ ละ 1 ตวั

(3) การต่อยึดอน่ื ๆ เปน็ ไปตามขอ้ กำหนด

การบริหารสญั ญาและการควบกุบงาน - หน้า 67

46. ลวดเหล็กถัก เหล็กตาข่ายขนมเปียกปูน ม้งุ ลวดอลมู เิ นยี ม

(1) ตรวจดูว่า ได้มาตรฐานตามแบบกำหนด หรอื ไม่

(2) ตรวจดู่ฟมิ อื ในการตดิ ตั้งตอ้ งไดม้ าตรฐาน

47. ลวดหนาม

(1) การขงึ ติดตัง้ ต้องเป็นไปตามแบบ (2) เปน็ ลวดหนามท่ที ำจากลวดเหลก็ อาบสงั กะสี จำนวน 2 เสน้ ตีเกลยี วขนาดเบอร์ 12 ลวดเหลก็ ทำหนาม เบอร์ 14 มี 4 หนาม ระยะห่างระหว่างหนามไมเ่ กนิ 12.7 ชม.

48. หินเกล็ด

(1) ตรวจตูว่าหนิ เกล็ดที่ผรู้ ับจา้ งนำมาใชก้ อ่ สรา้ งสำหรับงานหนิ ขดั หินล้างต้องเป็นเกลด็ หินอ่อน ขนาดเมด็ สม่ําเสมอ

(2) ถ้าแบบมไิ ด้กำหนดขนาดหนิ เกล็ดให้ใชห้ นิ เกล็ดเบอร์ 3 เบอร์ 4

49. ปนู ซเี มนตข์ าว

(1) ตรวจดูวา่ ปูนซีเมนต์ขาวที่ผรู้ ับจ้างนำมาใชง้ านเป็นปนู ท่ีไมห่ มดอายุใชง้ าน ไมเ่ ป็นก้อน ฯลฯ (2) ตรวจคณุ ภาพปนู ซีเมนต์ขาว คณุ สมบัตใิ หไ้ ดม้ าตรฐานตาม มอก. ปัจจบุ ัน

50. วสั ดกุ ่อสร้างทเี่ ปน็ กระจก

(1) กระจกสำหรบั ตดิ ต้ังกบั ประตู-หนา้ ตา่ ง ชอ่ งแสง ชนิด-ขนาด และความหนา คุณสมบตั ติ อ้ งให้ได้ มาตรฐานตาม มอก. ปจั จบุ ัน

(2) ควบคมุ กำกบั ดูแลวิธีประกอบติดตง้ั โดยใกล้ชติ (3) ตรวจดูการยึดกระจกกับกรอบบานไมใ้ ห้ไดม้ าตรฐานตามชนดิ ทอ่ี อกแบบ

(4) ตรวจดกู ารติดกระจกกับกรอบบานเหล็กหรอื อลมู ิเนยี มวา่ ทำไดม้ าตรฐาน และใช้วสั ดุยึดตดิ ถูกต้อง

หรือไม่

51. งานทาสี (1) พ้ืนที่ทกุ แห่งทม่ี องเห็นดว้ ยตาตอ้ งให้มีการทาสี ( เว้นกระเบอื้ งมุงหลังคาหรือที่ไดร้ ะบเุ ป็นอยา่ งอ่นื )

(2) ตอ้ งทาสที อ่ ประปา ทอ่ นํา้ ทิง้ ท่อลมซ่งึ ไม่มสี ิ่งปกปดิ ทุก ๆ แหง่ (3) กลอ่ งสายสูบของงานติดตงั้ เคร่ืองดับเพลงิ หัวทอ่ ตับเพลงิ ต้องทาสดี ้วย (4) ก่อนให้ผ้รู ับจ้างทาสที กุ แหง่ ต้องไดร้ บั ความเห็นชอบจากผคู้ วบคมุ งานซง่ึ ต้องตรวจใหเ้ รยี บรอ้ ย (5) สีทกุ ชนิดที่นำมาใชง้ าน ตอ้ งมีตวั ยาป้องกนั เชือ้ ราและตะไคร่ ผสมอยูใ่ นปริมาณทเ่ี พยี งพอสที ุกชนิดที่ นำมาใช้งาน ต้องมีตวั ยาป้องกนั เชือ้ ราและตะไคร่ ผสมอยู่ในปรมิ าณทเ่ี พียงพอ

(6) ตรวจดูการทาสีผสมเสรจ็ วา่ ผ้รู บั จ้างได้ปฏบิ ตั ิตามเอกสารแนะนำวธิ ใี ชข้ องบริษัทผู้ผลิต (ห้ามนำทินเนอร์

มาผสมทุกกรณี เว้นแตบ่ รษิ ัทผู้ผลิตจะกำหนด) (7) ตรวจดวู ่าสรี องพ้นื ตอ้ งเปน็ ชนดิ ที่เหมาะสมและใชค้ กู่ นั ได้กบั สที ับหน้า

,

(8) ตรวจดูวาสีทใ่ี ช้ข้นั แรกเป็นสชี นดิ เดียวกนั กบั สีขน้ั สดุ ท้ายและเป็นสียห่ี ้อเดยี วกัน (9) ชนิดของสี

การบริหารสัญญาและการควบคุมงาน - ทนา้ 68

^(ก) สีอมิ ลั ช่ัน EMULSION PAINT) น้าํ ไวนิลอะคลีลิค, สนื ํ้าพลาสติก) ถา้ แบบมิได้กำหนดให้ใชส้ ีนํา้

พลาสตกิ (EMULSION PAINT) ทม่ี ีตวั ยาปอ้ งกันเชอื้ ราหรอื ตะไคร่

  1. ผนังภายนอก ให้ใช้ให้ใชผ้ ลติ ภัณฑส์ ไี ด้ ดังตอ่ ไปนี้

1. c I C รุ่น SUPER LITE

2. I c I รนุ่ DULUX PENTALITE

3. JOTUN ร่นุ STRAX DULUX

4. PAMMASTIC รุน่ PERMOLITE

  1. ผนังภายใน และฝีาเพดาน ให้ใช้ให้ใช้ผลิตภณั ฑส์ ีได้ ตงั ตอ่ ไปน.ี้ -

1. c I C รนุ่ INDOOR

2. I c I ร่นุ HOMEMATT

3. JOTUN รนุ่ JOTAPLAST

4. PAMMASTIC ร่นุ VINYLMATT

( ข ) ลีน้ํามนั (ENAMEL PAINT) ใชท้ าส่วนท่เี ปน็ ไม้ และโลหะ ใหใ้ ช้ผลิตภัณฑ์สีได้ ตังตอ่ ไปน.ี้ -

1. c I C รนุ่ SUPERLUX

2. I c 1 รนุ่ DULUX GROSS FINISH

3. PAMMASTIC รนุ่ SUPER GROSS

(10) สผี สมซเี มนต์ทรายสำเรจ็ รูปใชท้ าไดท้ ้งั ผนังภายใน และภายนอกอาคาร ฝืาเพดาน และสว่ นที่มองเหน็

ด้วยตาท้ังหมด

(11) ตรวจดูการใช้นํา้ มนั ซักเงา ทาไมว้ งกบกรอบบาน ประตู หนา้ ต่าง หรือสิ่งก่อสรา้ งอ่ืน ๆ ท่รี ะบใุ หใ้ ช้

ผลติ ภณั ฑข์ อง c I C หรือ I c I หรือ JOTUN หรือ PAMMASTIC 52. ลรี องพ้นื

(1) ตรวจดูวา่ ตอ้ งใชล้ รึ องพ้ืนอย่างน้อย 1 เทย่ี ว

(2) สรี องพืน้ ปนู อครีลิคกันดา่ ง ให้ใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ลีได้ ตงั ตอ่ ไปน.ี้ -

1. c I C รุ่น PRIMER # 4010

2. I c I ร่นุ ALKALI RESISTING PRIMER

3. JOTUN ร่นุ ALKALI RESISTING PRIMER

4. PAMMASTIC รนุ่ PRIME LIME

(3) สรี องพื้นงานไม้ ( WOOD PRIMER ) ใ'หใ้ ชผ้ ลติ ภณั ฑล์ ไี ด้ ตังตอ่ ไปน.ี้ -

1. c I C ร่นุ WOOD PRIMER

2. I c I รุน่ WOOD PRIMER

3. JOTUN รุน่ WOOD PRIMER

4. PAMMASTIC รุ่น WOOD PRIMER

การบรทิ ารสญั ญาและการควบคุมงาน - ทน้า 69

(4) สรี องพนื้ งานเหล็กต้องเปน็ สรี องพื้นชนิดกนั สนิม ใหใ้ ชผ้ ลติ ภัณฑ์สไี ด้ ดังตอ่ ไปน้ี

1. c I C รนุ่ Primer # 5010

2. I c I รุ่น Primer # 400 - py - 0076

3. JOTUN รุ่น Primer # 1121

4. PAMMASTIC รุ่น Red lead / Iron Oxide Primer

53. แลคเคอร์

แลคเคอร์ ( LACQUER )ต้องเป็นแลคเคอรท์ มี่ ีคณุ ภาพเทยี บเท่า ลำหรับงานขัดเงาภายใน และครภุ ัณฑ์ตา่ งๆ

ใหใ้ ชผ้ ลติ ภณั ฑแ์ ลคเคอร์ได้ ตังต่อไปน้ี

1. c I C 2. I c I

3. JOTUN

4. PAMMASTIC

54. วธิ กี ารทาสี

ตรวจสอบและกำกับดแู ลตามข้อกำหนดตังต่อไปนี้

(1) ผนงั อฐิ วัสดุปูภายใน จะตอ้ งใหก้ ำแพงทฉี่ าบปนู แห้งอยา่ งน้อย 20 วันกอ่ นทาสี

(2) ผนังอฐิ ภายนอก ตรวจดผู ิวพ้นื ตอ้ งสะอาด ปราศจากเชื้อรา หรือปนู ก่อท่กี ระเทาะ หรอื ยืน่ โผล่ออกมา

ปลอ่ ยผวิ นอกให้แห้งอย่างนอ้ ย 20 วนั

(3) หา้ มทาสผี นังฉาบปูนภายนอกขณะฝนตก หรือผนังเปยี กชนื้

(4) ก่อนทาสไี ม้ถา้ มี ตรวจดรู อยแตก รอยตะปู ต้องอุดด้วย PUTTY

(5) การทาสีงานไม้ ตรวจดูว่าผวิ ไมท้ ี่จะทาสีนน้ั สะอาด ปราศจากฝนละอองกอ่ นทาสี

(6) ก่อนทาสไี มต้ อ้ งลงสึพน้ื กอ่ น 1 เท่ยี ว (7) งาน'ไม'้ท่ี'จะต้องลง'ขีผ้ ึง้ ตอ้ งตรวจดวู า่ มีการขดั กระดาษทรายละเอียดแล้วจึงใช้ ทเิ ลเลอร์ ทาใหซ้ ึมลงใน เสย้ี นไม้

(8) งานไมท้ ี่ขัดแลคเคอร๎ ต้องดใู หม้ ั่นใจว่าได้เตรยี มพน้ื ผิวดีแล้ว จึงย้อมสตี ามแบบ แล้วทาแลคเคอร์ 2 ครง้ั

จงึ ขัดดว้ ยกระดาษทรายนํา้

(9) ตรวจดูครั้งสดุ ท้ายผิวไมต้ ้องมคี วามมันละเอยี ดเหมอื นเปลือกหอย 55. การเตรียมผวิ โลหะก่อนทาสี ให้ตรวจตราและดำเนินการให้เป็นไป ตงั นี้

(1) เหลก็ เหนียว เหลก็ หล่อ และเหล็กรปู พรรณจะต้องทำความสะอาดใหป้ ราศจากสิง่ สกปรก สนมิ ขมุ รอย เปอื นสี หรอื ไขมนั ฯลฯ

(2) โลหะอาบสังกะสี ผวิ ทองเหลืองอาบสังกะสี ต้องให้ผรู้ ับจา้ งทำความสะอาดดว้ ยนํา้ มนั ก๊าด แล้วทาดว้ ย

นํ้ายา1ของ1ชดุ สี 30 แกรม ผสมน้ํา 1 ลิตร

(3) ทอ่ ทองแดงท่อี ยภู่ ายนอก ก่อนทาสตี อ้ งล้างด้วยนา้ํ อุน่ กบั สบู่ แล้วเชด็ ให้สะอาดกอ่ นทาน้าํ ยาลงพนื้

(4) ตรวจดวู า่ การทาสีคร้ังสดุ ทา้ ยยังเปน็ รอยแปรงอย่หู รอื ไม่ หากมิให้สั่งทาชา้ํ อีก

การบริทารสญั ญาและการควบค!ุ เงาน - ทน้า 70

56. ข้อกำหนด อ่นื ๆ เกย่ี วกบั สีของอาคารทุกประเภท

(1) สว่ นอาคารท่ีเปน็ ผวิ ฉาบปนู คอนกรตี หรือกระดาษใหใ้ ชส้ ีซีเมนตห์ รือสนี ํ้า (2) ส่วนทีเ่ ป็นไม้ และโลหะ ให้ทาดว้ ยสนี ้ํามนั สำหรับโลหะให้ทาสีกนั สนิมกอ่ นทุกคร้ัง (3) ตรวจดูว่าเชงิ ผนงั อาคารทุกประเภท ถา้ แบบมไิ ด้กำหนดอย่างอนื่ แลว้ ให้ทาสี DUSKGREY 5 - 996 สงู จากพ้ืน 10 ชม. เป็นอยา่ งน้อย (4) เหล็กรูปพรรณทงั้ หมด ให้ทาสีรองพ้ืนดว้ ยสกี ันสนมิ กอ่ น แลว้ ทาสนี ํา้ มนั อีกสองชน้ั เสมอ (5) งานสีเป็นเรือ่ งละเอยี ดอ่อน การใชส้ อี ื่นแทนสีทีก่ ำหนดไว้ ผู้รับจ้างตอ้ งสง่ ตัวอย่างสใี หผ้ ูว้ ่าจ้างตรวจสอบ และให้ความเหน็ ชอบกอ่ นนำไปใชท้ ุกคร้งั

57. สขุ ภัณฑ์และอุปกรณ์ ( SANITARY WARES & ACCESSORIES )

(1) ตรวจดวู ่าเปน็ ผลิตภัณฑจ์ าก AMERICAN STANDARD (อเมรกิ นั แสตนดารต) , COTTO (คอตโต)้ , KARAT (กะรตั )

(2) ตรวจดเู น้อื กระเบ้อื งเคลอื บ ขนาด ชนดิ ของอปุ กรณว์ ่าถกู ต้อง (3) ตรวจดูมิติ ระยะ สงู /ตา-'ห่าง/ชติ ที่สุขภัณฑ์ติดต้งั วา่ ถูกต้องตามแบบหรอื ไม่ (4) ตรวจดวู ัสดุประกอบการตดิ ตงั้ เช่น ปูนซีเมนต์ ปนู ยาแนวว่าได้มาตรฐานและทำถูกต้องเรยี บร้อยหรือไม่ (5) ตรวจดกู ารเชื่อมต่อสขุ ภณั ฑ์กับท่อ ว่าไมม่ รี อยนาํ้ รว่ั ซีม และถกู ต้องเรยี บร้อยหรอื ไม่ (6) ตรวจดูท่อนา้ํ เช้า-ออก ท่อระบายอากาศวา่ มีการติดตง้ั ใหถ้ ูกตอ้ ง (7) ตอ้ งตรวจดจู ดุ ตดิ ตั้ง จดุ ทำรฝู งื ท่อ การผิงพุกตา่ ง ๆ ก่อนทำการเทคอนกรีต (8) ตรวจดกู ารต่อเชือ่ มสุขภัณฑ์ อยา่ ให้มเี ศษวัสดอุ ดุ ตัน กอ่ นทำการวางสขุ ภณั ฑ์ (9) ตรวจดแู นวการเดนิ ท่อตา่ ง ๆ ทอ่ นาํ้ ทงิ้ ให้ตอ่ ลงอกี ทอ่ หน่ึง หา้ มรวมกนั กบั ท่อปัสสาวะอจุ จาระ

° °(10) ตรวจดกู ารเดนิ ท่อเขา้ มุมตา่ ง ๆ ห้ามใช้ข้อต่องอ 90 ให้ใช้ขอ้ ต่อโคง้ 45

58. ระบบกนั น้าํ ซึม ( WATERPROOFMENT )

ผูค้ วบคมุ งานกำกับดแู ลการติดตั้งโดยผู้ชำนาญงานของ บริษทั ผู้ผลิต และใหเ้ ป็นไปตามแบบรูปรายการและ สัญญาทก่ี ำหนด พร้อมมีใบรบั ประกันจากทางบรษิ ทั ผผู้ ลติ สนิ ค้า

59. วัสดแุ ละอุปกรณป์ ระกอบระบบประปา และระบบระบายน้าํ ใหต้ รวจ และควบคุมกำกับดูแล ใหเ้ ปน็ ไป

ตามหวั ขอ้ ตงั ตอ่ ไปน.้ี - (1) ตรวจดูว่าวสั ดุท่อ และอุปกรณป์ ระกอบทุกชนิดทุกขนาดทนี่ ำมาใชต้ ้องเปน็ ของใหมท่ ่ไี ม่เคยใชง้ านมา

ก่อน ไมเ่ ปน็ ของเก่าเก็บ)

(2) ตรวจดขู นาดท่อ อปุ กรณต์ ่อทอ่ ประดนู ํา้ ต้องได้ขนาดตามแบบ

(3) ความขัดแยง้ ในรายละเอยี ด ขอ้ กำหนดใท้ผู้รับจา้ งรายงานผูค้ วบคุมงานของผวู้ ่าจ้างเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

เพื่อเสนอใหเ้ จา้ หนา้ ทีข่ องผู้วา่ จา้ งทำการวินจิ ฉัยต่อไป (4) ตอ้ งตรวจควบคุมการขนสง่ ทอ่ และอปุ กรณป์ ระกอบให้ถูกตอ้ งตามกรรมวธิ ที ี่กำหนด เพือ่ ป้องกนั การ

แตกร้าวเสยี หาย

การบริหารสญั ญาแล:;การควบธมุ งาน - หน้า 71

(5) กอ่ นการวางทอ่ ทกุ ชนดิ รวมทงั้ อุปกรณป์ ระกอบทอ่ ผู้ควบคมุ งานต้องตรวจสอบอกี ทกุ คร้งั ถ้าจำเปน็

อาจต้องใชล้ มเป่าทดสอบกท็ ำได้

(6) ตรวจดูวา่ กอ่ นวางทอ่ ทกุ ชนิด จะต้องมีคา้ํ ยันหรือเครื่องรองรับทงั้ ชนิดถาวร และชัว่ คราว บางครั้งถ้า

ต้องเทคอนกรีตรองรบั ก็ต้องทำให้เรียบรอ้ ย

60. เครือ่ งสูบนา้ํ (WATER PUMP ) (1) ตรวจดู ชื่อผลิตภัณฑส์ นิ ค้า หรอื BRAND NAME ใหถ้ ูกต้องตรงตามที่ผวู้ ่าจา้ ง อนุมัติและให้ความ

เห็นชอบแลว้

(2) ตรวจดู ชนิด ขนาด และความสามารถ ของเครอื่ งสูบนา้ํ ให้ได้ตรงตาม Specification ตามในตาราง

ความสามารถและคู่มอื ทมี่ ากบั ผลิตภัณฑ์สินค้า

61. ประตูนา้ํ ( GATE VALVE )

(1) ต้องเปน็ ของใหม่ไม่เคยใชง้ านมาก่อนหรือเป็นของเกา่ เกบ็

(2) ตรวจดถู า้ ในกรณีทีแ่ บบมไิ ดร้ ะบขุ นาด และชนิดไว้ ให้ถือวา่ ขนาดประตูน้าํ ท่จี ะติดตัง้ มขี นาดเท่ากบั ขนาดท่อท่ีตอ่ บรรจบ ณ จุดนั้น

(3) ตรวจดวู า่ ประตนู า้ํ ทุกขนาดต้องเปน็ แบบลน้ิ เดยี่ ว (SOLID WEDGE) หรือลนิ้ คู่ (DOUBLE WEDGE) ก้าน ลน้ิ ไม่ยก NON-RISING STEM) บงั คบั กา้ นลน้ิ ให้ปิด-เปดิ ด้วยพวงมาลยั (HAND WHEEL)

(4) ตรวจดูประตู''นาข'นาด 0 50 มม. ( 2" ) และเด็กกวา่ ต้องใชช้ นดิ ตัวเรอื น ฝาครอบเรือน ล้นิ และก้าน ทำด้วยทองเหลอื ง (BRONZE) ชน้ั ความดันใชง้ าน 125 ปอนด์ ปลาย 2 ขา้ งสามารถตอ่ บรรจบทอ่ ทง้ั สองขา้ ง คุณสมบตั ไิ ดม้ าตรฐานตาม มอก.ปจั จุบัน

(5) ประตูน้ําขนาด 0 80 มม.(3") และใหญก่ ว่า ตรวจดูวา่ ตวั เรอื นทำด้วยเหล็กหล่อ (CAST IRON) ปลาย ทัง้ สองด้านของประตนู ้ัาเปน็ แบบหน้าจานชน้ั ความดันใชง้ าน 14 กก./ชม.2 สำหรบั ทอ่ ขนาด 0 300 มม. และช้นั ความดัน 10.5 กก./ซม.2 กับขนาดทอ่ 0 350 มม. ประตูนา้ั นตี้ ้องมีคณุ สมบัติได้มาตรฐานตาม มอก.ปจั จุบนั

(6) การทดสอบความดันนาํ้ ตอ่ ATG VALVE (1) ขนาด 0 80 - 300 มม. - ความตนั ทดสอบล้นิ 14.0 กก./ชม.2 - ความดนั ทดสอบตัวเรือน 28.0 กก./ชม.2 (2) ขนาด 0 350 - 900 มม. - ความดันทดสอบลิน้ 10.5 กก./ซม.2 - ความตันทดสอบตวั เรือน 21.0 กก./ชม.2 (3) ทดสอบลิ้นเวลา 5 นาที ตัวเรอื น 10 นาที

(7) ตรวจดูการปัมเคร่ืองหมายท่ปี ระตนู ้ําเหลก็ หลอ่ ทุกตวั จะมเี ครอ่ื งหมายประทับกับตัวเรือนแสดง

เครื่องหมายบอก ดังน้ี

  1. ช่อื หรือเครอื่ งหมายของผู้ผลติ
  2. ปที ผ่ี ลติ
  1. ความดันใชง้ าน
  1. จำนวนรอบในการเปดิ -ปดิ
  2. ตัวหนงั สือต้องไมเ่ ลก็ กวา่ 15 มม. และเป็นตวั นูนจากผวิ ไม่น้อยกว่า 3 มม.

การบริหารสัญญาและการควบคุมงาน - หน้า 72

62. ประตูกนั นาํ้ ไหลกลับ ( SWING CHECK VALVE )

ตรวจและควบคมุ กำกบั ดูแลใหไ้ ด้มาตรฐาน ดังตอ่ ไปน้ี (1) ตรวจดลู นิ้ วา่ เปน็ แบบลิ้นเหว่ยี ง ( SWING TYPE ) และเป็นของใหม่ และไมเ่ ก่าเกบ็ จนส่วนใดเสอ่ื ม คุณสมบัติ (2) ถา้ แบบมไิ ดก้ ำหนดไมว่ ่ากรณีใด ๆ ประตูกนั นํ้าไหลกลับ ขนาดของประตูน้าํ ตอ้ งมขี นาดเท่ากบั ทอ่ ที่ บรรจบ ณ จดุ นน้ั (3) ตรวจดวู ่าประตูน้ํากนั ไหลกลบั ขนาด 0 50 มม. (2") และเลก็ กว่ามีลกั ษณะ ตังน.ี้ -

  1. ตวั เรือนและล้ินทำด้วยทองเหลือง (BRONZE)
  2. ช้นั ความคันใช้งาน 125 ปอนด์
  3. ปลายทง้ั สองช้างเปน็ ขอ้ ต่อเกลยี วสามารถตอ่ บรรจบเขา้ เกลียวของขอ้ ตอ่ คุณสมบตั ิไดม้ าตรฐานตาม

มอก.ปจั จุบัน (4) ตรวจดปู ระตนู ้าั กนั ไหลกลับขนาด 0 80 มม. ( 3”) และใหญก่ ว่า มีคณุ สมบัติ ตังน.้ี -

  1. ตอ้ งมคี ุณสมบตั ติ าม มอก. ปัจจุบนั ปลาย 2 ด้าน ของประตูน้าั

แบบนต้ี ้องเปน็ แบบหน้าจาน

  1. ทอ่ ขนาด 0 300 มม. และเลก็ กว่าชนั้ ความตนั ใช้งาน 14 กก./ซม.2
  2. ทอ่ ขนาด 0 350 มม. และใหญ่กวา่ ใช้ชัน้ ความคนั 10.5 กก./ซม.2
  1. การเคลือบผิวภายในด้วย Coal Tar Epoxy หนา 400 ไมครอน ( Dry film Thickness )
  2. ตรวจดผู ิวภายนอกเคลอื บด้วย Coal Tar Epoxy หนา 400 ไมครอน
  3. กอ่ นการเคลือบสตี อ้ งตรวจดวู ่ามีการขัดทำความสะอาด ขดั สนิมคราบสิง่ สกปรกให้หมด

(5) การทดสอบความตนั ( HYDROSTATIC PRESSURE TEST ) ให!้ ดต้ ามเกณฑ์ตังน้ี-

  1. มาตรฐาน หรือการรับรองจากผ้ผู ลิต

- ความตันทดสอบลิ้น 3 กก./ซม 2 - ความตันทดสอบตวั เรือน 25 กก./ซม.2

  1. การทำเครือ่ งหมาย ช่อื ผูผ้ ลิต/วัน เดอื น ปที ีผ่ ลิต ขนาดความคนั ใชง้ าน จำนวนทดสอบในการ

เปดิ -ปดิ ใช้งานเซน่ เดียวกันกบั ทก่ี ล่าวมาแล้ว

63. เครือ่ งยึดเหน่ยี วและอปุ กรณท์ อ่

(1) ตรวจดวู ่าการแขวน รองรับ รัด หรอื ยดึ ท่อมีความเหมาะสมและมัน่ คงแขง็ แรงพอรับน้ําหนกั ท่อได้ (2) ตรวจดูขนาดเหลก็ แขวนวา่ เปน็ ไปตามเกณฑท์ ก่ี ำหนดหรือไม่ (3) ตรวจดวู ่ามกี ารทาสกี ันสนิมเครื่องยึดเหนี่ยวและอุปกรณ์แขวนท่อทุกชนั้ (4) ตรวจดทู ่อท่ีติดตัง้ ในแนวดิ่ง ต้องมีการยึดหรือรดั ท่อใหม้ ัน่ คงทุกชัน้ (5) ตรวจดูวา่ เม่อื ท่อเป็นจากแนวดง่ิ เป็นแนวราบ มีการติดตงั้ เครื่องรองรบั ทอ่ หรอื ไม่

การบริหารสญั ญาและการควบคมู งาน - หนา้ 73

.64 วาลว์ อากาศ ( AIR VALVE )

(1) เป็นของใหมไ่ ม่เคยถูกใชง้ านมาก่อน และไม่เป็นของเกา่ เกบ็ จนสว่ นใด ๆ ไตร้ ับความเสียคุณสมบัติใช้งาน (2) ตรวจคุณลกั ษณะอ่นื ๆ พร้อมทงั้ การตดิ ตง้ั ว่าเป็นไปตามแบบกำหนด

65. มาตรวัดนํา้ (WATER METER )

(1) มาตรวดั นํา้ ในโครงการ ฯ ในเขต กทม. ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิตามข้อกำหนด กปน. (2) มาตรวดั น้ําในโครงการ ๆ ในสว่ นภูมภิ าค ต้องมคี ุณสมบัตขิ องมาตรตามขอ้ กำหนด กปภ. (3) สำหรบั มาตรวดั นํ้าชนดิ MULTI-JET TYPE มคี ณุ สมบตั ิไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั หรอื เทยี บเท่า

66. ฟตุ วาลว์ ( FOOT VALVE )

คุณสมบตั ิของ FOOT VALVE ดงั ต่อไปนี้ (1) ตอ้ งเป็นแบบปดิ สนิมมอี ตั ราการดดู ผา่ นของนํ้าเทา่ ขนาดเสน้ ท่อ (2) กา้ นนำรอ่ งและปลอกอัด ทำจากวสั ดุชนดิ เดยี วกนั กบั บา่ วาลว์ และล้ินวาล์ว (3) บา่ วาลว์ กนั น้าํ รวั่ ทำดว้ ย BUNA-N

(4) ตะแกรงทำด้วยสเตนเลสชนดิ BASKETO (5) ขนาด 0 3" หรอื เลก็ กว่า ทำดว้ ยทองเหลือง (6) ขนาด 0 4" หรอื ใหญ่กวา่ ทำดว้ ยเหลก็ หล่อ

67. ท่อกันกลิน่ ( TRAP )

ตรวจดวู ่าทอ่ กันกลิ่นของรนู าํ้ ท้งิ พืน้ เป็นแบบเปิดตรวจระบายตะกอนได้ 68. สต๊อปวาลว์ หรอื ( GLOBE VALVE )

ตรวจลใู นรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี (1) วสั ดทุ ่ีทำต้องเป็นทองเหลืองบรอนซ์

(2) ทนแรงตันทดลองได้ 600 ปอนด/์ นิ้ว2 (3) ตรวจปมมอื จับหมนุ ว่าเปน็ ทองเหลอื งชบุ โครเมยี่ ม (4) สต๊อปวาลว์ ทีใ่ ชต้ ดิ ประจำท่อท่เี ดนิ ลอย ให้ใช้ชนิดชบุ โครเมีย่ มท้งั ชดุ (5) สตอ๊ ปวาลว์ ท่ใี ชต้ ดิ ประจำที่ปสั สาวะแบบหนิ ขดั ให้ใช้ชนดิ ทองเหลอื ง (6) สตอ๊ 'ป'วาล์ว แบบ ANGLE VALVE ซึง่ ใช้ตดั ตอนกอ่ นตอ่ เชา้ เชื่อมสุขภัณฑ์ ให้เปน็ แบบทองเหลอื งชุบ โครเม่ียมอยา่ งดี

69. ก๊อกนํา้ ( FAUCET

(1) ตรวจดูว่าเป็นชนิดและขนาด ท่ีถกู ต้องตามแบบหรอื ไม่ (2) ชนดิ ชบุ โครเมย่ี มแบบธรรมดา ใชส้ ำหรับตดิ ใต้ฝืกบัวหรอื จดุ ตา่ ง ๆ ท่ีกำหนด (3) ชนดิ ทองเหลอื งใชต้ ดิ ตามจุดตา่ งๆท่ัวๆไปตามแบบกำหนด (4) ชนิดทองเหลอื งปลายต่อสายยางได้ ใหใ้ ช้สำหรับรดนํา้ หรือติดตงั้ ตามจุดท่แี บบกำหนด (5) ตรวจดูคุณภาพ คณุ สมบตั ิใช้งานของกอ๊ กน้าํ ทกุ ตวั โดยทดลองปิดเปิดใช้งานจรงิ

การบริหารสญั ญาและการควบคุมงาน - หนา้ 74

70. ทอ่ เปิดสำหรบั ทำความสะอาด ( CLEAN-OUT )

(1) ตรวจดวู า่ สำหรับทอ่ ส้วม ทอ่ ปสั สาวะ ไดใ้ ช้จดุ เกลียวทองเหลืองประกอบเกลยี วทอ่ ทองเหลอื ง (

CLEAN-OUT PLUG ) (2) สำหรับท่อระบายต่าง ๆ ให้ใช้ PLUG หรือ CAP เปน็ เหล็กอาบสงั กะสีขนาดเท่าทอ่ ระบายนาํ้ (3) ตรวจดกู ารติดตั้ง CLEAN-OUT วา่ ครบและตรงตามแบบกำหนดในผัง (4) ถ้าพจิ ารณาแลว้ เห็นควรติดต้ังเพ่ิมตามหลกั วชิ าการทดี่ ี ก็สามารถสงั่ ผู้รบั จา้ งได้ (5) ถ้าสงิ่ แวดลอ้ มหรือภูมิประเทศบังคับ ทำใหไ้ มส่ ามารถวางตดิ ตงั้ CLEAN-OUT ได้ตามในผงั หรอื แบบต้อง

ปรึกษาขอความเห็นชอบจากผคู้ วบคุมงานเสยี ก่อน (6) ตรวจดวู า่ ทอ่ ที่วางลกึ ได้ตามกำหนดในแบบ

(7) ทุกคร้งั ก่อนนำทอ่ ไปติดตง้ั ต้องใหม้ กี ารทำความสะอาดท่อ และอุปกรณ์ประกอบ (8) ทุกครงั้ ทต่ี ัตท่อต้องตบแตง่ ปลายท่อใหเ้ รียบรอ้ ย (9) หา้ มใช้วัสดอุ ื่นนอกจาก PIPE JOINT COMPOUND ทาเกลียวทอ่ ด้านนอกโดยรอบ หรือใช้ TAPE

P.V.C. พนั เกลียวท่อขนั ยึดให้แนน่ ไมใ่ หน้ ้าํ รว่ั ซึมได้ (10) ห้ามใช้ท่อทำเกลียวยาวประกอบแป้นเกลียว ( LONG SCREW-AND-NUT ) แทนยูเนยี น

(11) ยเู บยี นหนา้ แปลน ยโี บลท์ และเหลก็ รัด ต้องมปี ะเลน็ ยางกันนํา้ รัว่ อย่างดี อดั แน่นสมาํ่ เสมอ (12) ตรวจดวู า่ การเจาะท่อเมน เพ่ือต่อท่อแยกระยะต้องหา่ งกนั 1.00 ม. ตามความยาวของทอ่ เมน และรู ที่เจาะต้องมขี นาดเทา่ กับท่อทจ่ี ะต่อแยก

(13) ตรวจดชู อ้ โค้งทุกแห่งของท่อซีเมนตใ์ ยหินขนาด 0 100 มม. ข้นึ ไป ต้องมแี ทน่ คอนกรีตรองรับตามแบบ หนาไมน่ ้อยกวา่ 15 ชม.

71. การวางทอ่ ท่ัวไป

(1) ตรวจดูแนวการวางท่อให้ตรงกบั แบบทีก่ ำหนด ถ้าภมู ปิ ระเทศบังคบั ไม่สามารถวางไดต้ ามแบบ ผ้รู บั

จ้างตอ้ งปรึกษาผู้ควบคมุ งาน

(2) ตรวจดูความลึก วา่ วางทอ่ ลกึ ไดต้ ามแบบกำหนด สำหรบั ท่อแตล่ ะชนดิ

(3) ตรวจดูว่าผู้รับจา้ งได้ทำความสะอาดทอ่ และอุปกรณ์ กอ่ นทำการวางท่อทกุ ชนิด

(4) ตรวจดูเกลยี วท่อเหล็กสังกะสี ว่าไม่ชำรุด และห้ามใชว้ สั ดุใด ๆ พนั เกลียวทอ่ ให้ใช้ PIPE JOINT COMPOUND ทาเกลยี วดา้ นนอกโดยรอบหรือใช้ TAPE P.V.C. พนั เกลยี วท่อเท่านัน้ แลว้ จงึ ขนั ยึดแน่นไมม่ นี ้าั รว่ั ซึมได้

(5) การตรวจสอบความดนั น้าํ ในทอ่ ใหผ้ ู้รบั จา้ งทำการทดสอบความตนั น้ําในทอ่ ด้วย HYDROSTATIC

PRESSURE TEST โดยกกั น้ําไวภ้ ายในท่อทีจ่ ะทำการทดสอบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 24 ชม. ให้ใชแ้ รงดนั ในการ

ทดสอบไมน่ อ้ ยกวา่ 6 กก./ซม.2 และคงความตันนึ๋ไวิไม่นอ้ ยกวา่ 2 ซม.การกลบท่อ (1) ตรวจดูกรรมวธิ กี ารกลบทอ่ ให้เกดิ ความมัน่ คง แขง็ แรง

การบริหารสญั ญาและการควบคมุ งาน - หนา้ 75

(2) ทำการตรวจสอบความดนั นํ้าให้ไดม้ าตรฐานก่อนการกลบทอ่ (3) ตรวจดวู ่าดินทใี่ ช้กลบทอ่ ต้องยอ่ ยใหเ้ ป็นกอ้ นเล็ก ๆ และกลบเป็นช้ัน ๆ หนาไมเ่ กินชนั้ ละ 20 ซม. ให้

กระทงุ้ แนน่ จนถึงระดับดนิ เดิม

(4) สำหรับท่อซเี มนต์ใยหนิ ช้ันแรกใหก้ ลบด้วยทรายก่อน หนาอย่างนอ้ ย 10 ซม.

72. งานระบบสาธารณูปโภคไฟฟ้าภายใน

(1) ใหผ้ รู้ บั จา้ งจดั หาวัสดอุ ุปกรณ์ไฟฟ้าแรงงานพร้อมดำเนนิ การ ติดต้งั ระบบให้เปน็ ไปตามแบบรปู และ

รายการทกี่ ำหนด (2) ดำเนินการขออนุญาตใช้กระแสไฟฟา้ ช่ัวคราว พรอ้ มเตรียมอปุ กรณ์ตามข้อกำหนดของการไฟฟ้า (3) ให้ผรู้ บั จ้างประสานติดตามระบบไฟฟา้ ภายนอก ทด่ี ำเนนิ การโดยการไฟฟา้ ใหเ้ รง่ รัดใหก้ ารดำเนินการให้

แลว้ เสร็จพรอ้ มงานงวดสดุ ทา้ ย ในการน๋ีใหถ้ อื วา่ งานระบบไฟฟา้ ภายนอกเป็นสว่ นหนึง่ ของงานงวดสดุ ท้าย (4) คณะกรรมการตรวจการจา้ ง จะรบั งานงวดสุดท้ายได้ต่อเมอ่ื การไฟฟ้าไดต้ ่อเชือ่ ม และจา่ ย

กระแสไฟฟ้าใหไ้ ขง้ านไดเ้ รียบร้อยแลว้ เท่านัน้

(5) วัสดอุ ปุ กรณ์ทีน่ ำมาใช้ตอ้ งเปน็ ของใหม่ โดยผูร้ บั จ้างตอ้ งสง่ รายละเอยี ดพรอ้ มขอ้ มลู ทางเทคนิคท้งั หมด ให้ คณะกรรมการตรวจการจา้ งตรวจอนุมัติก่อนนำไปติดตงั้ ( บางทีอาจนำตวั อย่างให้ตรวจด้วย )

(6) มาตรฐานผลติ ภัณฑ์

  1. ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. หรอื NFPA 1 IEC, NEC
  1. ถ้าไม่ม่ันใจในรายละเอยี ด ผรู้ ับจ้างต้องทำ SHOP DRAWING ให้ผ้คู วบคุมงานพจิ ารณาเห็นขอบก่อนดำเนนิ การใด ๆ
  1. แบบการตดิ ตัง้ จริง ผูร้ บั จา้ งตอ้ งเสนอขออนมุ ตั กิ อ่ นส่งมอบงานงวดสดุ ท้าย
  2. วัสดอุ ุปกรณท์ ก่ี ำหนดในแบบรูปรายการและสญั ญาตอ้ งมี มอก. และเป็นไปตามระเบยี บสำนกั

นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535

  1. วัสดุอุปกรณอ์ น่ื ๆ ให้เปน็ ไปตาม ANSI, BS, DIN, IEC, JIS, NEMA, NESC, NRDA, UL และ VDE

(7) การเทยี บเท่าวสั ดุและอุปกรณ์

  1. กรณหี าวัสดอุ ปุ กรณ์ไม่ไดต้ ามแบบกำหนดต้องเสนอขอใชว้ สั ดอุ ปุ กรณเ์ ทยี บเท่า โดยชแ้ี จง

เปรยี บเทียบรายละเอยี ด ( คณุ ภาพ/ราคา/ขอ้ พสิ ูจน/์ ขอความเห็นชอบ จากคณะกรรมการตรวจการจา้ ง)

  1. ค่าใช้จ่ายในการทดสอบคณุ ภาพ ตกเปน็ ภาระของผ้รู บั จ้าง
  1. การขออนุมัตใิ ช้วัสดุเทยี บเท่า ผู้รับจ้างตอ้ งคำนวณเวลาเพ่อื ใหท้ นั กับเวลาในสญั ญา จะถอื เป็น

ข้ออ้างเพอื่ เปน็ การให้ทางราชการขยายระยะเวลาของสญั ญาไม่ได้ (8) การตรวจสอบและทดสอบไฟฟา้

  1. เม่ือติดตัง้ แล้วเสรจ็ ผรู้ ับจา้ งต้องดำเนนิ การทดสอบการทา่ งานของระบบ ตามมาตรฐานทร่ี ะบโุ ดยมี

ผคู้ วบคมุ งานและคณะกรรมการตรวจการจ้างเข้ารว่ มการทดสอบด้วย

-การบริหารสัญญาและการควบค!ุ เงาน ทนา้ 76

  1. ความเสยี หายที่เกดิ จากการทดสอบ ใหเ้ ปน็ ภาระรบั ผดิ ชอบของผ้รู บั จา้ ง
  2. ผู้รับจา้ ง ต้องจดั ใหม้ ีปา้ ยแสดงแผงควบคมุ ตามทผ่ี วู้ า่ จา้ งเห็นว่าจำเปน็
  3. ผรู้ ับจา้ ง ดำเนินการฟกิ อบรมเจา้ หน้าท่ีของผวู้ า่ จ้างใหเ้ ชา้ ใจในการทำงาน และการปรนนิบัติ บำรุงรักษาอปุ กรณไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี
  4. การรับประกนั วัสดอุ ุปกรณ์ ใหเ้ ป็นไปตามที่กำหนดในสัญญา

(9) ข้อกำหนดงานระบบไฟฟา้ ภายใน

  1. งานระบบไฟฟ้าภายในครอบคลุมเฉพาะภายในอาคาร ไฟสนามในบรเิ วณอาคาร และสายเมนท่ีเดนิ ไปยังมาตรวดั
  1. การไฟฟา้ จะเป็นผู้ต่อสายเมนเขา้ กบั มาตรวัด ตามรายละเอยี ดท่กี ำหนดในแบบ
  2. สายไฟฟ้าทัง้ หมดทนี่ ำมาใช้ ตอ้ งเป็นชนดิ ทองแดง หมุ้ ฉนวน P.V.C. ที่ได้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบัน เช่น BANGKOK CABLE 1 THAI YAZAKI , PHELPS DODGE
  3. สายไฟทองแดงหมุ้ ฉนวนครอสลิงคโ์ พลีเอสทีลนี 600 V 900 C ทีไ่ ดม้ าตรฐานตาม มอก.ปัจจุบัน
  4. การเลอื กใชส้ ายไฟให้ใซล้ ีตามท่ีกำหนด ตงั ต่อไปน.้ี -

1. เฟส A ใช้ สีแดง

2. เฟส B ใช้ สีเหลอื ง 3. เฟส C ใช้ สนึ ํ้าเงนิ

4. ตวั นำศนู ย์ N ใช้ สขี าว หรอื เทา 5. สายดนิ G ใช้ สเี ขียว หรือ สเี ซียวคาดเหลือง

  1. ชนิดของสายไฟฟา้ หากมิได้กำหนดอย่างอนื่ ให้ใช้ ตงั ตอ่ ไปน.ี้ - 1. วงจร ระบบ 1 เฟส 2 สาย 220 V ให้ใชส้ ายไฟแรงคนั 300 V 700 C

2. วงจร ระบบ 3 เฟส 4 สาย 220/380 V ให้ใช้สายไฟแรงตัน 750 V 700 C 3. สายไฟฟา้ เดินลอยใชส้ าย VAF 4. สายไฟฟ้าร้อยทอ่ หรอื รางเดนิ สาย ( CABLE TRAY ) ใชส้ าย THW.

5. สายไฟฟ้ารอ้ ยทอ่ ผิงดิน หรอื ผงิ ดนิ โดยตรงใชส้ าย NYY หรือ XLPE

6. สายวงจรยอ่ ยใชข้ นาด 2.5 มม.2 ใช้กับสวทิ ช์ 15 AT 7. สายย่อยขนาด 4 มม.2 ใช้กบั สวิทชอ์ ตั โนมติ ิ 20 AT 8. ในกรณีเดนิ สายร้อยท่อ สายแยกจากวงจรยอ่ ยเชา้ เต้ารับดวงโคมไฟฟา้ พดั ลมให้ใช้สายขนาด

1.5 มม.2 9. ในกรณเี ดินสายลอย สายแยกจากวงจรเขา้ เต้ารบั ดวงโคมไฟฟา้ พดั ลม ให้ใชส้ ายขนาด 2.5

มม.2 (10) ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าและวัสดเุ ดินสายอ่ืน ๆ

  1. ทอ่ เหล็กอาบสังกะสใี ช้ที่ได้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั เช่น MARUICHI, MATSUSHITA, TAS,

CDC, NATIONAL

การบริหารสญั ญาแล::การควบคแุ งาน - หนา้ 77

  1. ท่อเหลก็ ชุบสงั กะสหี นาและหนาปานกลาง ขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางไมเ่ ล็กกวา่ 1/2"
  2. ทอ่ โลหะบางขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางไมเ่ ล็กกว่า 1/2"
  1. ท่อโลหะออ่ นชนิดโคง้ งอไดห้ ากใชใ้ นท่ีมคี วามขน้ึ ตอ้ งมปี ลอกพลาสตกิ หมุ้ ภายนอกอีกชัน้ หนง่ึ
  2. ท่อ P.V.C. ร้อยสายตอ้ งใช้ท่ไี ดม้ าตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ นั
  1. ท่อ PE. และท่อ PB. ต้องไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างก่อนนำมาใช้

.73 แผงสวิทชไ์ ฟฟา้

(1) แผงสวิทช์แรงตํา่ ต้องได้มาตรฐาน S.I.M. , ABB 1 SQUAR D 1 MERLIN GERIN , TIC และอื่น ๆ

(2) แผงสวทิ ชแ์ รงตํา่ แรงดนั ไฟฟา้ ไมน่ อ้ ยกว่า 416/240 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย

(3) ถ้าในแบบรูปมไิ ต้กำหนดแผงสวทิ ช์แรงตา่ํ ใหใ้ ชพ้ กิ ดั กระแสลัดวงจร ไมน่ ้อยกว่า 50 KA ท่ีพกิ ัดแรงตนั ใช้งาน (4) ตแู้ ผงสวิทช์แรงตํ่า ต้องใชแ้ บบโมดูลลาร์ซสิ เตม็ โดยโมดลู 200 มม. ท้งั ดา้ น กว้าง สูง ตกึ (5) ตวั ตู้แผงสวทิ ช์แรงตํา่ ทำจากเหลก็ หนา 3 มม. ส่วนฝาตใู้ ช้เหลก็ ขนาด 1.6 มม. (6) Busbar ต้องเป็นทองแดงบรสิ ทุ ธี้ 98% (7) ระดบั การป้องกนั ติดในอาคารเป็นประเภท IP 32 แต่ตดิ ตัง้ ภายนอกอาคารเป็นประเภท IP 66 หรือ

ตามแบบ

.74 แผงสวทิ ซ์ย่อย

แผงสวทิ ชย์ ่อย ทกุ อยา่ งตอ้ งไดม้ าตรฐาน เช่น S.I.M., SQUARE D, ABB, Cutler-Hammer, MERLIN GERIN, TIC

(1) แผงย่อยต้องมพี กิ ดั แรงตันไฟฟา้ ไมน่ ้อยกว่า 220 โวลท์ 1 เฟส 2 สาย หรือ 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย (2) ตแู้ ผงยอ่ ย ถ้าติดตั้งในอาคารต้องมรี ะดบั ปอ้ งกัน IP31 ถ้าตดิ ตงั้ นอกอาคารตอ้ งมีระดบั ป้องกนั IP34 (3) Busbar สำหรบั ต่อกันตดั ตอนอตั โนมตั ิ เป็นแบบลำดับเฟส (4) ตัดตอนอตั โนมัติ วงจรย่อยใหใ้ ช้อุปกรณป์ ลดวงจรชนดิ ความรอ้ น-แม่เหล็ก มกี ระแสลดั วงจร ( 1C ) อยา่ งตํา่ 5 KA ที่ 220 V ( ไมร่ วมเมน )

(5) เมน Circuit Breaker แผงวงจรย่อย ให้ใช้อุปกรณ์ปลดวงจรชนดิ ความรอ้ น-แมเ่ หล็ก มีคา่ กระแส

ลัด'วงจร1ไมต่ ํ่าก'ว่า 10 KA ท่ี 220/415 V หรือตามแบบ

(6) ตดั ตอนอัตโนมตั ิสำหรบั แผงสวทิ ชแ์ รงตาํ่

  1. ตดั ตอนอตั โนมัติทัง้ หมดเปน็ ชนดิ Molded Case Circuit Breaker ทนแรงตันไฟฟา้ ได้ไมน่ อ้ ยกวา่

380/220 V 3 เฟส 4 สาย เช่นรQUARE อ 1 ABB , Cutler-Hammer , MERLIN GERIN และอนื่ ๆ

  1. คา่ กระแสตดั ลดั วงจร ( 1C ) ตดั ตอนอตั โนมตั พิ ิกัดไมน่ อ้ ยกว่า 16 KA ที่ 240/415 V
  2. ตัดตอนอัตโนมัติ ตวั เมนขนาดตง้ั แต่ 1,000 A ข้นึ ไปในระบบ 3 เฟส 4 สาย ต้องตอ่ GROUND ดว้ ย
  1. ผู้ควบคมุ งานตอ้ งตรวจดูอุปกรณ์ตดั ตอนให้ไดต้ ามแบบกำหนด และท่ไี ด้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ ัน

75. เซฟตีส้ วทิ ซ์ ( SAFETY SWITCH )

(1) เซฟตสี้ วทิ ชท์ ่ตี ิดตั้งภายใน ต้องมีคา่ ระดับการป้องกนั IP31 (2) เซฟต้ีสวิทชท์ ่ีติดตัง้ ภายนอก ต้องมคี ่าระดบั การปอ้ งกนั IP34 (3) การผลติ ต้องได้มาตรฐาน เช่นรQUARE D , ABB , Cutler-Hammer และอนื่ ๆ

การบรหิ ารสัญญาและการตวนคูมงาน - หนา้ 78

(4) ตรวจดวู า่ ฟิวส์และขว้ั รบั ฟวิ ส์ต้องรวมอย่ใู นกล่องเดียวกัน

(5) ตรวจดูวา่ พกิ ัด และกระแสของฟิวสต์ อ้ งไม่สูงกวา่ ขัว้ รับฟิวส์

(6) ตรวจดูคอนแทคเตอร์ว่าไดม้ าตรฐาน เช่นTelemechanique , ABB , Cutler-Hammer

(7) คอนแทคเตอร์สำหรับคาพาซเิ ตอร์ต้องมคี ณุ สมบัติดงั น้ี ประเภทการใช้งาน ACI , พิกดั แรงตนั 380 V 50 Hz , แรงตันคอยล์ 220 V หรอื 380 V 50 Hz , พกิ ัดของคอนแทคเตอรไ์ ม่ตา่ํ กว่า 1.5 เทา่ ของกระแสคาพาซเิ ตอร์

(8) ตรวจดคู อนแทคเตอร์สำหรับไฟฟา้ แสงสว่าง หรือเครือ่ งท0าน้าํ ร้อนตอ้ งได้ตามเกณฑ์กำหนด (9) ตรวจดคู อนแทคเตอรส์ ำหรบั มอเตอร์สตาร์ทเตอร์ ต้องมคี ุณสม,บติตามแบบ'ท่ีกำหนด

76. เครือ่ งวดั ไฟฟ้าและอปุ กรณ์

(1) ตรวจดเู ครอ่ื งวัดแรงดันสวิทช์ ( VOLTMETER ) เคร่อื งวดั แรงตัน ( SELECTER VOLT ) และเครือ่ งวดั 1

กระแส ( AMMETER ) ตอ้ งมคี ณุ สมบัตติ ามแบบกำหนด

(2) ตรวจหมอ้ แปลงกระแสไต้มาตรฐาน มีความแม่นยำ ± 1.0 % หรอื ดีกว่า

(3) ตรวจเครือ่ งวดั ความถ่ี ท่ใี ช้ในระบบ 3 เฟส วา่ ค่าทว่ี ดั ระหวา่ ง 47 - 53 Hz มีความแมน่ ยำ ± 0.5 %

หรอื ดกี ว่า

(4) โคมไฟฟ้า และอปุ กรณ์ประกอบ ต้องเป็นไปตามแบบกำหนด และท่ีไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปจั จบุ ัน เชน่ หลอด, บาลาสต,์ สตารท์ เตอร์ ฯลฯ

(5) โคมไฟฟ้าอินแคนเดสเซนต์ ( INCANDESCENT ) แรงตนั พกิ ัด 220 V 1 เฟส 2 สาย ขว้ั รบั หลอด, ตวั

หลอดต้องได้รับการรบั รองมาตรฐานแล้ว เชน่ OSRAM , PHILIPS 1 SYLVANIA

(6) โคมไฟฟา้ ฟลอู อเรสเซนต์ ( FLUORESCENT ) แรงคนั พิกดั 220 V 1 เฟส 2 สาย ตวั โคมหนา 0.8 มม.

ขว้ั หลอดต้องได้มาตรฐานรับรอง เชน่ BJB , GE , PHILIPS , NATIONAL 1 TOSHIBA

(7) บัลลาสติให้ใช้ HIGH POWER FACTOR หรอื ตามแบบ และทไ่ี ด้มาตรฐานตาม มอก.ปจั จบุ ัน เช่น Bovo , HK , PHILIPS , DELIGHT เป็นต้น

(8) บลั ลาสตชิ นดิ LOW POWER FACTOR ตอ้ งมคี าปาซิเตอร์ เพ่อื ปรบั ปรุง POWER FACTOR ใหไ้ ด้

อยา่ งน้อย 0.85

(9) โคมไฟฟา้ ก๊าซ DISCHARGE แรงตันพกิ ดั 220 V I เฟส 2 สาย ตอ้ งเปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ี่ได้มาตรฐานตาม

มอก.ปจั จุบัน เชน่ PHILIPS, EYE, SYLVANIA, OSRAM

(10) โคม'ไฟฟ้าฉกุ เฉิน ตอ้ งไดม้ าตรฐานตามแบบกำหนด

(11) สวทิ ช์ และเตา้ รบั

  1. สวทิ ซแ์ ละเตา้ รับ ท่เี ป็นผลติ ภณั ฑท์ ไี่ ดร้ ับการรบั รอง อาทเิ ช่น BTICIN , NATIONA , CLIPSAL, MK
  1. ขนาดของสวิทช์ และเตา้ รบั ต้องสามารถทนกระแสไม่น้อยกว่า 10 A ที่ 250 V รูเสยี บของเตา้ รับ

ตอ้ งใช้ได้กบั ขาชนิดกลมและแบน

  1. ขนาดสายไฟ และวัสดุสำหรับเตา้ รับ 2.5 มม.2

การบรหิ ารสัญญาและการควบคมุ งาน - หนา้ 79

84. การติดต้ังและเดนิ สายไฟฟา้ แรงสูง

(1) ตรวจว่าสายไฟฟ้าอลูมิเนียมเกลยี วเปลอื ยมคี ุณภาพมาตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ ัน หรอื ไม่ (2) ตรวจว่าสายไฟฟ้าอลมู ิเนียมดีเกลยี วเปลือยแกนเหล็กมีคณุ ภาพมาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั หรอื ไม่

(3) ตรวจเสาไฟฟา้ คอนกรีตอดั แรงไดม้ าตรฐานของการไฟฟา้ ขนาดความยาวตามแบบ

(4) ตรวจไมค้ อนตอ้ งเป็นไมเ้ นื้อแข็งมาตรฐานตามแบบ (5) ตรวจเหลก็ ยึดคอน ลกู ถว้ ยได้มาตรฐานตามแบบ

(6) ตรวจดูกันไฟฟ้าแรงสูง ฟิวสต์ ดั ตอนและ GROUND ROD ไดม้ าตรฐานตามแบบ

(7) ตรวจหมอ้ แปลงไฟฟ้าตอ้ งใชห้ มอ้ แปลงของการไฟฟ้าเท่าน้ัน (8) การปักเสาไฟตอ้ งเป็นแนวตรงขนานกับถนนหา่ งจากไหลถนนไมน่ ้อยกวา่ 50 ซม. (9) ตรวจดวู ่าเสาทุกตน้ มีการเทคอนกรีตทมุ้ เสาไมน่ ้อยกวา่ ดา้ นละ 0.25 ม. และลกึ ลงไปในดิน 0.50 ม.

(10) ระยะห่างของเสาไฟฟา้ แตล่ ะต้นไมม่ ากกว่า 50 ม. ( กรณสี ายอลูมเิ นียมเปลอื ย ) (11) ระยะหา่ งเสาไฟฟา้ แต่ละตน้ 100 ม. ( กรณีสายอลมู เิ นียมเปลือยแกนเหล็ก ) (12) ตรวจดูวา่ สายไฟฟ้าท่เี ดินพาดอยบู่ นลกู ถว้ ยซึง่ ตรึงอยูบ่ นไม้คอน และต้องพันยดึ ด้วย TIE WIRE

(13) กรณีต่อสายไฟตอ้ งต่อทไ่ี มค้ อนสายเท่าน้นั ห้ามต่อระหวา่ งขว่ งเสาเดด็ ขาด (14) ตรวจดูว่าการตดิ ต้ังหม้อแปลง มกี ารตดิ ต้ังกนั ฟา้ ลง และตัดตอนแรงสงู ดว้ ยหรือไม่ และตามมาตรฐาน

ของการไฟฟา้ ด้วย

(15) งานอน่ื ๆ ใหถ้ อื ตามมาตรฐานของการไฟฟ้า

85. พัดลม

(1) ตรวจดู ซอื่ ผลติ ภณั ฑ์สินค้า หรือ BRAND NAME ให้ถูกต้องตรงตามท่ผี วู้ ่าจา้ ง อนมุ ตั แิ ละใหค้ วาม

เหน็ ชอบแล้ว

(2) ตรวจดู ชนิด ขนาด และความสามารถ ของพดั ลมใหไ้ ดต้ รงตาม Specification ตามในตารา ความสามารถ และค่มู อื ท่ีมากับผลติ ภัณฑส์ นิ ค้า และท่ีไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปจั จบุ ัน

ชนิดของพดั ลม 1. พัดลมตดิ เพดาน

2. พัดลมดดู อากาศ 3. พดั ลมดดู ควันไฟ

.86 ระบบล่อฟา้ และไล่ฟา้ ( LIGHTNING PROTECTION ) ตรวจดงั น.ี้ -

ผู้ควบคมุ งานกำกบั ดแู ลการตดิ ต้งั โดยผูช้ ำนาญงานของ บรษิ ัทผ้ผู ลติ และใหเ้ ปน็ ไปตามแบบรูปรายการและ

สญั ญาทกี่ ำหนด

(1) ระบบล่อฟ้าผลิตตามมาตรฐาน NESC เชน่ Furse, Alloy, ABSOฯลฯ

(2) เสาล่อฟา้ เปน็ แทง่ ทองแดงกลมปลายแหลมตามแบบกำหนด

(3) หลักสายดนิ ใชแ้ ท่งทองแตงขนาด 0 5/8" ยาว 3.00 ม. ปกั ลงในดนิ ลึก 60 ซม. (ตอ่ สายดว้ ยวธิ ีเช่อื มรอ้ น)

ลายล่อฟา้

การบ'ริทารสัญญาแกะการควบคู>1งาน - ทน้า 82

(1) ตรวจตูว่าการติดต้งั เปน็ ไปตามแบบกำหนด

(2) สายทองแดงทน่ี ำมาใชห้ ากแบบไมก่ ำหนดใหใ้ ช้ขนาด 25 มม 2

(3) สายตวั นำเปน็ ทองแดงดเี กลียวเปลือยสายนำลงดิน ตลับเปน็ ทองแดงขนาด 50 มม.2

87. ระบบดบั เพลิงในอาคาร( FIRE PROTECTION )

(1) ตรวจตูวัสดุทอ่ วา่ ตอ้ งเป็น ชนิดท่อเหลก็ อาบสงั กะสี ( GALVANIZED STEEL PIPE ) ชนดิ ต่อดว้ ยเกลียว สว่ นทอ่ ส่งน้าํ ดบั เพลงิ (FIRE PIPE) จะตอ้ งเปน็ ทอ่ เหล็กอาบสังกะสี ชนดิ ขอ้ ตอ่ เกลียวให้ได้มาตรฐาน มอก.

ปจั จุบนั หรือ BS1387-1907 (2) ตรวจตอู ปุ กรณ์ประกอบทีใ่ ชใ้ นการเดินท่อส่งตบั เพลงิ จะต้องเป็นอุปกรณ์ประกอบท่อเหล็ก ชนดิ เดียวกับ

เหลก็ หล่อเหนียวตอ่ ด้วยเกลยี วผวิ อาบสงั กะสี คุณสมบ้ตไิ ด้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ ัน หรือ BS 1256 -1968

(3) AIR RELIEF VALVE ให้ตรวจตูวา่ ตอ่ ดว้ ย COPPER ALLOY สว่ น SPRING ต้องทำด้วย STANLESS

STEEL รับแรงตันได้ไม่น้อยกวา่ 250 ปอนด/์ น้วิ 2 (4) ตูเ้ กบ็ อปุ กรณต์ ับเพลงิ ให้ตรวจตูวา่ ชนิดของตตู้ อ้ งเป็นสี่เหลย่ี มทำดว้ ยเหลก็ แผน่ เบอร์ 20, บนกระจก

ต้องมคี ำวา่ “FIRE”ตวั อกั ษรขนาดสูง 15 ชม. หนา 5 ชม. ด้วยสแี ตง (5) ตอ้ งกำกับดูแลการตดิ ตั้งโดยผ้ชู ำนาญงานชอง บริษัทผ้ผู ลติ และใหเ้ ป็นไปตามแบบรูปรายการและสัญญา

ทก่ี ำหนด พรอ้ มการทดสอบการทำงานของระบบ และระยะเวลา Service Metainace ถา้ มี

.88 หัวต่อตบั เพลงิ

(1) ตรวจตวู ่าการติดต้ัง ตรงตามแบบกำหนดหรอื ไม่ (2) ตอ้ งใหผ้ ู้รบั จ้างทาสแี ดงที่ท่อดับเพลงิ ทเ่ี ป็นเหล็กหลอ่ หรือทองเหลอื งหลอ่ (3) ตรวจตูวา่ ชนดิ ของหวั ต่อ สามารถต่อเข้ากับท่อตดู ของท่อคับเพลิงของหนว่ ยท่มี ีอยู่ และต่อกับ

รถตับเพลิงของทางราชการไดห้ รอื ไม่

รายละเอียดการตอ่ ท่อตับเพลิง

(1) ใหผ้ ูร้ บั จ้างทาสีท่อลง่ ตบั เพลิงดว้ ยสีแดง

(2) ต้องใหม้ ีคำแนะนำวธิ ีใชอ้ ปุ กรณ์ดับเพลงิ เป็นภาษาไทย ตดิ ไวท้ ่ตี ู้คบั เพลงิ (3) ตอ้ งใหม้ ีการทดสอบความคันด้วยวิธี HYDROSTATIC PRESSURE TEST ทค่ี วามดัน 150 ปอนด/์ นว้ิ 2 เปน็ เวลา 15 นาที แล้วตวู ่าท่อน้นั จะต้องไมร่ ่วั ซมึ

.89 ระบบขนสง่ และถา่ ยเท ( CONVEYING SYSTEM )

(1) ลฟิ ต์โดยสาร ( ELEVATORS ) (2) ลฟิ ต์ล่งของ ( PALLET LIFTS )

(3) ปนั จัน่ และรอก ( HOISTS & CRANES )

90. เคร่อื งปรับอากาศ ( AIR CONDITION )

(1) เครื่องปรบั อากาศและอปุ กรณต์ อ้ งได้ตามมาตรฐานสากล อาทิ เช่น AMCA, ARI, IEC, BS, ASTM ฯลฯ (2) สถาบันท่ีอนุญาตให้ทดสอบและรบั รองมาตรฐานของวสั ดอุ ปุ กรณ์มีดังตอ่ ไปน.ี้ -

  1. คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

รบรหิ ารสัญญาและการควบคมุ ง!น - หน้า 83

  1. คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ วทิ ยาเขตธนบรุ ี
  1. คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
  1. สถาบันอื่น ๆ ท่ีผ'ู้วา่ 'จ้างยอมร' ับ

91. การตดิ ต้ังเครอ่ื งปรบั อากาศและอุปกรณ์

(1) ตรวจแบบรปู รายการว่า เคร่ืองปรับอากาศทจ่ี ะนำมาตดิ ต้ังเปน็ แบบใด ขนาดใด BTU แลว้ ตรวจดใู ห้ได้ มาตรฐานตามแบบ

(2) ตรวจดอู ปุ กรณท์ ่นี ำมาใช้ เซ่น สายไฟฟ้า แกนคทู่ ุม้ ฉนวน p.v.cl. ห้ได้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั หรือ

สายไฟแกนเดีย่ ว THW. สายทองแดงทมุ้ พันฉนวนไดม้ าตรฐานตามกำหนดหรือไม่ (3) ตรวจดูสวิทชต์ ดั ตอนวา่ ได้มาตรฐานตาม IEC 947 - 2

(4) ตรวจดูท่อน้าํ ยาวา่ เปน็ ท่อทองแดงหรือทอ่ อลูมิเนยี มหรอื ท่อเหล็กไมเ่ ปน็ สนิม ไม่มรี อยตะเขบ็ เปน็ ชนดิ “L” (5) ฉนวนทุ้มท่อนาํ้ ยาตอ้ งใช้ชนดิ ไมต่ ิดไฟความหนา 3/4” (6) แผน่ เหลก็ อาบสังกะสสี ำหรับทำทอ่ ลมให้ไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั (7) ตรวจดูวา่ การทำทอ่ ลมใชฉ้ นวนท้มุ ถูกต้อง แผน่ ใยแหง้ หรอื ใย ASBESTOS กรภุ ายนอกถูกต้อง 92. การติดต้ังเคร่ืองปรับอากาศชนดิ แยกสว่ น ( SPLIT-TYPE )ตอ้ งตรวจดงั ตอ่ ไปน.้ี - (1) ตรวจดวู ่าเคร่ืองส่งลมเย็น (FANCOIL UNIT) ติดต้งั อยใู่ นที่ทเี่ หมาะสม (2) การตดิ ตง้ั ต้องมนั่ คงและไมม่ ีการสน่ั สะเทือนเกิดเสียงรบกวน

(3) .ที่ต้ังตอ้ งสามารถให้ จนท.เขา้ ไปดูแลรกั ษาไดส้ ะดวก (4) ตรวจดูว่าสถานท่ตี ดิ ตั้งตอ้ งใหท้ อ่ ระบายนา้ํ ท้ิงมีความลาดระบายนํ้าท้ิงออกไปได้

(5) FAN COIL UNIT ต้องเปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ ดียวกนั กับ CONDENSING UNIT

(6) ตรวจดอู ุปกรณI์ นเคร่อื งระบายความร้อน (CONDENSING UNIT) ว่าใหม่ และใชก้ ารได้

(7) ตรวจดรู ะบบทอ่ นา้ํ ยาว่าใช้ท่อทองแดงทาง SUCTION ท้มุ ฉนวน และหนาไม่ตรกว่า 20 มม. (8) การเดนิ ท่อน้ํายาต้องควบคมุ ให้เป็นแนวขนาน หรอื ตงั้ ฉากกบั อาคาร (9) ตรวจดวู ่าท่อทีเ่ จาะทะลุผนงั ทุกแหง่ มีการอุดซอ่ งว่างด้วยวัสดกุ นั น้าํ เรียบรอ้ ย (10) ตรวจดวู ่ามีการติดตงั้ FILTER, DRYER และ SIGHT GLASS ทท่ี ่อน้าํ ยากอ่ นเขา้ เครอ่ื งเปา่ ลมเยน็ ทกุ ชนดิ

(11) ตรวจดูทอ่ นํ้าท้งิ วา่ เปน็ p.v.c. CLASS 13.5 ทมุ้ ด้วยฉนวนชนิดเดียวกนั หนา 1/2”หรอื ไม่

(12) ตรวจดทู อ่ ลมว่าทำดว้ ยเหลก็ อาบสังกะสี มมี าตรฐานความหนาตามกำหนดในตาราง (13) ตรวจดทู ่อทกุ ขนาดวา่ มกี ารเสริมด้วยการพับขึน้ รปู หรอื เสรมิ เหล็กฉากถกู ตอ้ ง แข็งแรง ทกุ ทางแยก

ตอ้ งมี SPLITTER DAMPER ข้อโค้งต้องเป็นแบบ FULL RADIUS

(14) ต้องควบคมุ ใหม้ ีการติดต้ังซ่องบริการขนาด 30 X 30 ชม. เพ่อื บริการ FIRE DAMPER และรPUTTER DAMPER ทุกจุด

(15) ตอ้ งกำหนดให้มซี ่องเปิดฝืาเพดาน เพอ่ื เข้าไปบรกิ ารซ่อมบำรงุ รักษาท่อลม (16) ตรวจดูวา่ การแขวนและยึดทอ่ ลมเป็นไปตามขอ้ กำหนดถกู ตอ้ ง แข็งแรง

การบรหิ ารสัญญาและการควบคมุ งาน - หนา้ 84

(17) ตรวจดวู ่าการตดิ ตั้ง DAMPER ในท่อลมทุกชนดิ ถกู ต้องหรือไม่ พรอ้ มทั้งควบคุมเวลาติดต้งั อย่างใกลช้ ิด (18) ตรวจดูฉนวนหุ้มทอ่ ลม (DUCT INSULATE) วา่ มีความหนาตามกำหนดกรรมวธิ ีการตดิ ต้ังถกู ตอ้ งหรือไม่ (19) ตรวจดูวา่ เครอื่ งเป่าลมเย็นขนาดใหญ่แบบต้ังพนื้ มีการตดิ ต้งั AIR PLENUM OUTLET อย่างถกู ต้องท้ัง วสั ดทุ ีน่ ำมาใช้ และวธิ กี ารติดตัง้

93. เครื่องปรบั อากาศชนิดหน้าต่าง (WINDOWS TYPE)

(1) ตรวจดขู อบประตูหนา้ ต่าง ที่จะตดิ ตงั้ ต้องมีความมัน่ คงแขง็ แรงตามแบบ (2) การติดตัง้ เครือ่ งกับวงกบเหล็กต้องจดั ใหม้ ีแผ่นยางรองกันสะเทือนดว้ ย (3) ตรวจตูตำแหน่งตดิ ตัง้ สวทิ ซ์ และทอ่ ระบายน้ํา วา่ อย่ใู นตำแหน่งทเี่ หมาะสมสะดวกต่อการใชง้ าน

กา'รบริหารสัญญาและการควบค!ุ!งาน - หน้า 85

บทที่ 6

เอกสารประกอบการพิจารณาการบริหารสัญญา

ในการบริหารสญั ญางานจ้างเหมา เพื่อให้ดำเนินการเปน็ ไปตามระเบยี บทีเ่ กี่ยวขอ้ ง และการ ดำเนินการด้านเอกสารมคี วามครบถว้ น ถกู ต้อง และรวดเรว็ ขอใหผ้ ทู้ ่ีเกยี่ วขอ้ งพิจารณาตรวจสอบเอกสาร ดังที่ แสดงไวด้ ังนี้

6.1 เอกสารประกอบรายงานการแจ้งเชา้ ปฏิบัติงาน 1. สำเนาหนงั สอื คณะกรรมการตรวจการจา้ งแจง้ ให้ผูร้ บั จา้ งเข้าปฏบิ ตั ิงาน 2. หนังสอื ผูร้ ับจ้างรบั ทราบและยนื ยันการเขา้ ปฏบิ ัตงิ าน

3. เอกสารอนื่ ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง

- สำเนาหนังสอื รบั รองการจดทะเบยี นนติ บิ ุคคล ของกระทรวงพาณิชย์ ซ่ึงออกใหไ้ มเ่ กนิ 6 เดือน พรอ้ ม

รบั รองสำเนาถูกต้องโดยผู้มีอำนาจ

- กรณมี ีการมอบอำนาจ ใหแ้ นบหลกั ฐานการมอบอำนาจพรอ้ มปิดอากรแสตมปใ็ หถ้ ูกตอ้ งตาม กฎหมาย ได้แก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปดิ อากรแสตมป็ 10 บาท

- มอบอำนาจทวั่ ไป ปิดอากรแสตมป็ 30 บาท

6.2 เอกสารประกอบการเสนอแผนการปฏิบัติงานกอ่ สร้าง แผนเคร่ืองจักร-เคร่ืองมอื และแผนบคุ ลากร 1. สำเนาหนงั สือคณะกรรมการตรวจการจา้ งแจง้ ใหผ้ ้รู ับจ้างเสนอแผนการปฏบิ ัติงานก่อสรา้ ง แผนเครอื่ งจกั ร- เครอื่ งมอื และแผนบุคลากร 2. หนังสอื ผรู้ ับจ้าง ขอสง่ แผนการปฏิบตั งิ านกอ่ สร้าง แผนเครื่องจักร-เครื่องมือ และแผนบคุ ลากร

- แผนงานกอ่ สรา้ ง

- แผนเคร่อื งจักร - เครอ่ื งมอื

- แผนบคุ ลากร - หนังสือรบั รองการเป็นวิศวกรของบรษิ ทั ของผจู้ ัดทำแผน

- สำเนาใบสภาวศิ วกรของผูจ้ ดั ทำแผน

- สำเนาใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพวศิ วกรรมควบคุม ของผู้จดั ทำแผน

3. คณะกรรมการตรวจการจา้ งและผคู้ วบคุมงาน เหน็ ขอบในแผนการปฏบิ ตั ิงานก่อสร้าง

กา'5บรหิ ารสญั ญาแทะการควบคมงาน - หนา้ 87

4. เอกสารอน่ื ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง

- สำเนาหนังสอื รับรองการจดทะเบยี นนิตบิ ุคคล ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งออกให้ไมเ่ กนิ 6

เดือน พร้อมรบั รองสำเนาถูกต้องโดยผ้มู ีอำนาจ

- กรณีมีการมอบอำนาจ ให้แนบหลกั ฐานการมอบอำนาจพร้อมปิดอากรแสตมป็ใหถ้ ูกตอ้ งตาม

กฎหมาย ไดแ้ ก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปิดอากรแสตมน์ 10 บาท

- มอบอำนาจทัว่ ไป ปดิ อากรแสตมบี 30 บาท

6.3 เอกสารประกอบการขอเบกิ เงนิ คา่ จา้ งล่วงหนา้ (15%)

1. สำเนาหนงั สือแจ้งใหผ้ ูร้ ับจา้ งเข้าปฏิบัตงิ านตามสญั ญา

2. หนังสือผู้รับจ้างขอเบกิ เงนิ ค่าจ้างลว่ งหน้า

3. แผนการใชเ้ งนิ คา่ จ้างล่วงหน้า 15% และใบแจง้ หนี้

4. สำเนาหนังสือค้าํ ประกนั ของธนาคาร (หลกั ประกนั การรับเงนิ คา่ จา้ งลว่ งหนา้ )

5. สำเนาบนั ทกึ ส่งต้นฉบับหนังสอื คํ้าประกนั (หลกั ประกนั การรับเงินคา่ จ้างล่วงหนา้

6. สำเนาค่ฉู บบั หนังสอื ตรวจสอบหนังสอื คํา้ ประกัน (หลกั ประกนั การรบั เงินคา่ จา้ งล่วงหนา้ )

(ให้ตรวจสอบหลักประกนั การรบั เงนิ คา่ จ้างล่วงหน้า ไปท่ีสำนกั งานใหญแ่ ต่ละธนาคาร)

7. หนงั สอื ยนื ยันการออกหลักประกนั ผลงานของธนาคาร ถา้ เจา้ หน้าท่ที ลี่ งนามในหนงั สอื ยนื ยนั ฯ ไม่ใช่บุคคล

เดยี วกนั กับเจา้ หน้าที่ทล่ี งนามในหลักประกนั ฯ ใหแ้ นบเอกสารการมีอำนาจลงนามแทนธนาคารด้วย

8. สำเนาหนงั สือรับรองการจดทะเบยี นนติ ิบุคคล ออกโดยกระทรวงพาณชิ ย์ ของผรู้ บั จา้ ง ซง่ึ ออกให1้ มเ่ กนิ 6

เดือนพร้อมรบั รองสำเนาถกู ต้องโดยผมู้ อี ำนาจ

9. หนังสือมอบอำนาจ กรณมี อบอำนาจใหบ้ คุ คลอื่นทำการแทนของผู้รับจา้ ง

10. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบยี นนติ ิบุคคล ออกโดยกระทรวงพาณชิ ย์ ของธนาคาร ซ่ึงออกให้ไม่เกนิ 6

เดอื น พรอ้ มรับรองสำเนาถกู ตอ้ งโตยผมู้ ีอำนาจ

11. สำเนาหนังสอื มอบอำนาจของธนาคาร ตวั อยา่ งลายมอื ชื่อ และสำเนาบัตรประจำตวั ประชาซนพร้อมรบั รอง

สำเนา ของผูล้ งนามหนังสอื ค้าํ ประกนั (หลักประกนั การรับเงนิ คา่ จา้ งลว่ งหน้า)

12. บันทกึ คณะกรรมการตรวจการจา้ งพิจารณาให้ความเห็นในการเบิกเงินค่าจา้ งลว่ งหนา้

13. เอกสารอ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

- สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิตบิ คุ คล ออกโดยกระทรวงพาณชิ ย์ ซึง่ ออกให้

ไมเ่ กิน 6 เดอื น พรอ้ มรับรองสำเนาถูกต้องโดยผู้มีอำนาจ

- กรณมี ีการมอบอำนาจ ใหแ้ นบหลักฐานการมอบอำนาจพรอ้ มปดิ อากรแสตมปใ้ หถ้ กู ต้องตาม

กฎหมาย ได้แก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปดิ อากรแสตมน้ 10 บาท

- มอบอำนาจทว่ั ไป ปดิ อากรแสตมบี 30 บาท

การบรหิ ารสญั ญาและทารควบคมุ 'ทน •หน้า 88

6.4 เอกสารประกอบการขออนมุ ตั กิ ารโอนสิทธิเรยี กรอ้ งในการรับเงนิ ค่าจา้ งหรอื ค่าซอื้ ทรัพยส์ ิน

1. หนังสอื บอกกลา่ วการโอนสิทธเิ รยี กรอ้ งการรบั เงินตามตวั อย่างในสญั ญา

2. สำเนาสัญญาการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ้ งการรบั เงินระหวา่ งผรู้ บั จ้าง (ผูโ้ อน) กบั ธนาคาร (ผู้รับโอน) 3. สำเนาหนงั สอื รบั รองการจดทะเบียนนิติบคุ คล ออกโดยกระทรวงพาณชิ ย์ ของผู้รับจ้าง ซงึ่ ออกให้ไมเ่ กิน 6

เดือนพร้อมรบั รองสำเนาถูกต้องโดยผ้มู อี ำนาจ

4. หนังสอื มอบอำนาจ กรณีมอบอำนาจใหบ้ คุ คลอน่ื ทำการแทนของผรู้ ับจา้ ง

5. สำเนาหนงั สือรับรองการจดทะเบยี นนติ บิ ุคคล ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ ของธนาคาร ซ่ึงออกใหไ้ ม่เกนิ 6

เดือนพร้อมรบั รองสำเนาถูกต้องโดยผูม้ อี ำนาจ

6. สำเนาหนังสอื มอบอำนาจของธนาคาร ตัวอย่างลายมอื ซือ่ และสำเนาบัตรประจำตวั ประชาซนพร้อมรบั รอง สำเนา ของผ้ลู งนามในฐานะผรู้ ับโอน

7. บันทึกงานการเงินและบัญชี ของหน่วยเบกิ - จา่ ย ยืนยนั ยอดเงินท่ผี ้รู บั จา้ งมสี ทิ ธิโอนสทิ ธิเรียกรอ้ งในการ

รับเงนิ ให้กบั ธนาคารผู้รับโอน

8. บันทกึ คณะกรรมการตรวจการจ้างพจิ ารณาให้ความเห็นในการโอนสิทธเิ รียกรอ้ งในการรบั เงิน 9. เอกสารอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง

- สำเนาหนงั สือรบั รองการจดทะเบยี นนติ บิ ุคคล ออกโดยกระทรวงพาณชิ ย์ ซ่งึ ออกใหไ้ ม่เกิน 6 เดอื น

พรอ้ มรับรองสำเนาถกู ตอ้ งโดยผูม้ อี ำนาจ

- กรณีมีการมอบอำนาจใหแ้ นบหลักฐานการมอบอำนาจพร้อมปิดอากรแสตมปใ็ ทถ้ กู ต้อง

ตามกฎหมาย ไดแ้ ก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปดิ อากรแสตมบี 10 บาท

- มอบอำนาจทั่วไป ปิดอากรแสตมป้ 30 บาท

6.5 เอกสารประกอบรายงานผลงานก้าวหนา้ ของงานก่อสรา้ ง

.1 หนงั สือของผู้รบั จา้ ง รายงานผลงานกา้ วหน้าของงานกอ่ สรา้ ง ประกอบดว้ ย ดังน้ี

- รายงานผลงานกา้ วหน้าของงานกอ่ สร้าง (กบ.1)

- แผนงานก่อสร้าง

- รายงานแสดงเครอ่ื งจักร-เครอื่ งมือประจำงวด (กบ.5)

- รายงานบุคลากรและอตั รากำลงั

- รายงานด้านความปลอดภัย

2. บนั ทกึ ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง รายงานผลงานก้าวหนา้ ของงานกอ่ สรา้ ง 3. เอกสารอน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วช้อง

- สำเนาหนังสอื รบั รองการจดทะเบียนนติ ิบคุ คล ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ ซง่ึ ออกให้ ไมเ่ กิน 6 เดอื น พร้อมรับรองสำเนาถกู ต้องโดยผูม้ อี ำนาจ

การบริหารสญั ญาแอะการควฃคุมงาน - หนา้ 89

- กรณีมกี ารมอบอำนาจ ให้แนบหลกั ฐานการมอบอำนาจพรอ้ มปดิ อากรแสตมปใ็ หถ้ ูกต้อง

ตามกฎหมาย ไดแ้ ก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปดิ อากรแสตมป็ 10 บาท

- มอบอำนาจท่ัวไป ปดิ อากรแสตม‘ป๋ 30 บาท

6.6 เอกสารประกอบรายงานการตรวจการจา้ ง

1. หนงั สือของผรู้ ับจ้าง ขอสง่ มอบงาน และเบกิ ค่างานประกอบด้วย ดงั นี้ - ใบแจง้ หนี้

- รายละเอยี ดรายการเบกิ จา่ ยงวดงาน ประจำงวด

- รายงานแสดงเคร่อื งจักร-เครือ่ งมือประจำงวด (กบ.ร)

- รายงานบุคลากรและอัตรากำลัง

- รายงานตา้ นความปลอดภัย

2. ใบแจ้งคณะกรรมการตรวจการจา้ ง (พด.37)

3. รายงานการตรวจการจ้าง (พด.39)

4. ใบรบั รองผลการปฏิบัติงานเฉพาะงวด (พด.41)

5. บนั ทกึ ของคณะกรรมการตรวจการจา้ ง รายงานการตรวจการจา้ ง

6. เอกสารอ่นื ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง

- สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิตบิ ุคคล ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ ซึง่ ออกให้ ไม่เกนิ 6 เดือน พรอ้ มรับรองสำเนาถกู ตอ้ งโดยผูม้ อี ำนาจ - กรณีมกี ารมอบอำนาจ ให้แนบหลกั ฐานการมอบอำนาจพรอ้ มปิดอากรแสตมปใ็ หถ้ กู ตอ้ ง ตามกฎหมาย ได้แก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปดิ อากรแสตมป้ 10 บาท

- มอบอำนาจทว่ั ไป ปดิ อากรแสตมป็ 30 บาท

6.7 เอกสารประกอบการพจิ ารณากรณีแกไ่ ขสญั ญา 1. สำเนาสัญญา 2. สำเนาสญั ญาแก่ไขเพิ่มเติม (ถ้ามี) 3. สำเนาหนังสอื แจ้งใหผ้ ูร้ ับจา้ งเขา้ ปฏิบัติงานตามสัญญา 4. สำเนาหนังสือคณะกรรมการตรวจการจ้าง แจ้งผรู้ บั จ้างขอแก่ไขแบบและแกไ่ ขสัญญา 5. หนงั สือผู้รบั จา้ ง รบั ทราบการแก่ไขแบบและแกไ่ ขสญั ญา

6. ขออนุมตั ิในหลกั การให้แก่ไขแบบพร้อมแนบเอกสารหลกั ฐานสาเหตุทต่ี อ้ งแกไ่ ขแบบ

7. แบบเดมิ ก่อนการแก่ไข

8. แบบใหม่ทไ่ี ดแ้ ก่ไขและได้รบั การอนุมัติแลว้ 9. ตารางเปรียบเทยี บหมายเลขแบบที่แก่ไข ยกเลิกหรือเพิ่มเติม และลงนามกำกบั โดยคณะกรรมการตรวจการจา้ ง 10. สำเนาหนงั สอื คณะกรรมการตรวจการจ้าง ล่งแบบแกไ่ ข

การบรทิ ารสัญญานทะการควบคุ)เงาน - หนา้ 90

11. หนงั สอื ผรู้ ับจ้าง ยินดีทำงานตามแบบแกไขและยนิ ยอมแกไ้ ขสญั ญา พร้อมยนื ยนั หลกั ประกนั สัญญา

12. กรณีทีแ่ กไ้ ขแบบและมรี ายการงานเกิดขึน้ นอกเหนอื รายการงานในใบแจ้งปริมาณงานและราคา (BOQ) จะต้องแนบเอกสาร ดังน้ี

- สำเนาบันทกึ อนุมตั แิ ต่งตง้ั การกรรมการกำหนดราคากลาง - สำเนาบนั ทกึ อนุมัตแิ ต่งตัง้ คณะกรรมการตกลงราคา

- ราคากลาง

- ใบเสนอราคาของผู้รบั จา้ ง

- บันทกึ สรุปรบั ราคาของคณะกรรมการตกลงราคา

13. กรณที ี่มีวงเงนิ เพ่ิมจากสัญญาเดิม ตอ้ งแนบหลกั ฐานการโอนเปลยี่ นแปลงเงินงบประมาณ 14. บนั ทึกคณะกรรมการตรวจการจ้าง พจิ ารณาเสนอความเห็น

15. ตารางเปรียบเทยี บปริมาณงานและราคาทีเ่ ปล่ยี นแปลง เน่อื งจากการแกไ้ ขแบบ และลงนามกำกบั โดย

คณะกรรมการตรวจการจ้าง

16. เอกสารอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง

- สำเนาหนงั สือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล ออกโดยกระทรวงพาณชิ ย์ ซ่งึ ออกให้

ไม่เกนิ 6 เดือน พรอ้ มรับรองสำเนาถกู ตอ้ งโดยผู้มอี ำนาจ

- กรณมี ีการมอบอำนาจ ใหแ้ นบหลักฐานการมอบอำนาจพร้อมปดิ อากรแสตมปใ็ หถ้ กู ตอ้ ง

ตามกฎหมาย ไดแ้ ก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปดิ อากรแสตมป็ 10 บาท

- มอบอำนาจท่วั ไป ปดิ อากรแสตมบี 30 บาท

6.8 เอกสารประกอบการพิจารณาการขออนมุ ตั บิ อกเลิกสญั ญา

1. สำเนาสญั ญา 2. สำเนาสัญญาแกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ถา้ มี) 3. สำเนาหนังสือแจง้ ใหผ้ ู้รบั จา้ งเข้าปฏบิ ัตงิ านตามสญั ญา 4. บนั ทกึ คณะกรรมการตรวจการจ้างพจิ ารณาเหตบุ อกเลกิ 5. เอกสารหลกั ฐานท่ีเก่ียวขอ้ งของเหตุบอกเลกิ สัญญา

เชน่ ในกรณบี อกเลิกสญั ญาช้อื ขายสนิ คา้ เพราะเหตุเลิกการผลิต เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวขอ้ ง ได้แก่

5.1 หนงั สือยนื ยันเหตุบอกเลิกของบริษัทผผู้ ลติ ต้องระบุ

- เหตุแหง่ การบอกเลิก เชน่ ยกเลกิ การผลิต - วัน เดอื น ปี ของเหตแุ ห่งการบอกเลิก (ตอ้ งไม่ยกเลิกการผลติ กอ่ นวนั ลงนามใน

สัญญา) 5.2. ในกรณีหนงั สอื ยนื ยนั ของบริษัทผูผ้ ลิตเปน็ ภาษาอังกฤษ ผ้ขู าย/ผู้รบั จ้างต้องแนบ ฉบับท่แี ปล

เป็นภาษาไทย ซึง่ แปลและให้การรับรองโดยสถาบันท่ีเชื่อถอื ไต้

การบริทารสญั ญาและการควบคมุ งาน - ทน้า 91

6. เอกสารอน่ื ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง

- สำเนาหนังสอื รับรองการจดทะเบียนนติ ิบคุ คล ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ ซงึ่ ออกให้

ไมเ่ กิน 6 เดือน พรอ้ มรบั รองสำเนาถกู ตอ้ งโดยผูม้ อี ำนาจ

- กรณีมีการมอบอำนาจ ให้แนบหลกั ฐานการมอบอำนาจพร้อมปิดอากรแสตมปใ้ ห้ถูกตอ้ ง

ตามกฎหมาย ไดแ้ ก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปดิ อากรแสตมบี 10 บาท

- มอบอำนาจทัว่ ไป ปิดอากรแสตมบี 30 บาท

หมายเหตุ กรณกี ารบอกเลกิ สญั ญากอ่ สร้างตอ้ งสง่ เอกสารประกอบการพิจารณาเกย่ี วกบั สัญญาจา้ งกอ่ สร้าง

6.9 เอกสารประกอบการพิจารณาการขออนุมตั กิ ารงดหรือลดคา่ ปรบั หรอื ขยายอายสุ ัญญา ตามระเบียบสำนกั

นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ.2535 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเตมิ ข้อ 139 (1)

1. สำเนาสัญญา

2. สำเนาสัญญาแกไ้ ขเพิม่ เติม (ถ้ามี)

3. สำเนาหนังสอื แจ้งใหผ้ ้รู บั จา้ งเข้าปฏิบตั งิ านตามสัญญา 4. หนงั สอื แจ้งของผู้รับจา้ งขอหยุดงานชั่วคราว

5. หนังสอื คณะกรรมการตรวจการจ้างส่ังให้ผูร้ บั จ้างหยุดงาน 6. หนงั สือผ้รู ับจา้ งรบั ทราบและยนิ ยอมหยดุ งาน โดยไม่เรยี กรอ้ งคา่ เสยี หายจากการสั่งหยดุ งาน 7. เอกสารหลกั ฐานอ่นื ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งของเหตทุ ีต่ ้องส่ังหยดุ งาน

8. สำเนาหนังสือแจง้ ให้ผรู้ ับจา้ งเขา้ ปฏิบตั ิงานที่สัง่ หยดุ ไว้

9. บันทกึ การปฏิบัตงิ านประจำวันของผคู้ วบคมุ งาน (ตน้ ฉบับ)

10. หนังสอื ยนื ยนั เขา้ ปฏบิ ตั ิงานของผู้รับจ้าง

11. หนังสือของดหรือลดคา่ ปรบั หรอื ขยายอายสุ ัญญาของผ้รู บั จ้าง

12. บนั ทึกพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง ในการงด ลดค่าปรบั หรอื ขยายอายสุ ญั ญา

(คณะกรรมการตรวจการจา้ ง ต้องระบุให้ชดั เจนว่าระยะเวลาทฃ่ี องด/ลด/หรอื ขยายอายุสญั ญาเหมาะสม

หรอื ไม่ อย่างไร)

13. เอกสารอนื่ ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง

- สำเนาหนังสือรบั รองการจดทะเบยี นนติ ิบคุ คล ออกโดยกระทรวงพาณชิ ย์ ซึ่งออกใหไ้ มเ่ กิน 6 เดอื น

พร้อมรับรองสำเนาถูกตอ้ งโดยผมู้ ีอำนาจ

- กรณีมกี ารมอบอำนาจ ใหแ้ นบหลักฐานการมอบอำนาจพร้อมปิดอากรแสตมป็ให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย ได้แก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปิดอากรแสตมป็ 10 บาท

- มอบอำนาจทั่วไป ปดิ อากรแสตมป้ 30 บาท

การบริหารสญั ญาและการควบคมู งาน หนา้ 92

6.10 เอกสารประกอบการพิจารณาการขออนมุ ตั ิการงดหรอื ลดคำปรับ หรอื ขยายอายุสัญญา เนอ่ื งจากเหตุ สุดวสิ ัย หรอื เหตุเกิดจากพฤติการณอ์ ันหน่ึงอนั ใดทคี่ สู่ ญั ญาไม่ต้องรบั ผิดตามกฎหมาย ตามระเบยี บสำนัก

นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการพสั ดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพ่มิ เตมิ ข้อ 139 (2) และ(ร)

1. สำเนาสัญญา

2. สำเนาสญั ญาแกไ้ ขเพ่มิ เติม (ถา้ มี)

3. สำเนาหนงั สอื แจง้ ใหผ้ รู้ บั จา้ งเขา้ ปฏิบัติงานตามสัญญา

( ) 3.4 หนงั สอื แจ้งของผ้รู ับจา้ งแจ้งเหตุที่เกดิ ภายใน 15 วนั นับแต่เหตกุ ารณน์ น้ั สิน้ สดุ

( ) 3.5 หนงั สือผูร้ ับจา้ งของดหรือลดค่าปรับหรอื ขยายอายุสญั ญา

( ) 3.6 ปรมิ าณ1น้าํ ฝน (ของส่วนราชการท่ีเกีย่ วข้อง) ภาพถา่ ย ภาพขา่ ว หลกั ฐานอ่ืนๆ ที่เกยี่ วข้อง

กบั เหตุการณ์

( ) 3.7 ประกาศเร่ิมและสิ้นสุดการเกดิ อทุ กภยั ของจงั หวัดที่เปน็ พ้ืนทกี่ ่อสร้าง

( ) 3.8 บันทึกการปฏิบัติงานประจำวันของผ้คู วบคมุ งาน

( ) 3.9 รายงานการตรวจสภาพพื้นที่ก่อสรา้ งของคณะกรรมการตรวจการจา้ งและผูค้ วบคุมงาน ( ) 3.10 บันทึกพิจารณาใหค้ วามเหน็ ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง ในการงด ลดคา่ ปรับ หรือ

ขยายอายุสญั ญา (คณะกรรมการตรวจการจา้ ง ต้องระบใุ หช้ ดั เจนว่าระยะเวลาท่ขี องด/ลด/

หรอื ขยายอายุสญั ญาเหมาะสมหรอื ไม่ อยา่ งไร)

( ) 3.11 เอกสารอ่ืนๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง

- สำเนาหนงั สือรับรองการจดทะเบียนนิตบิ คุ คล ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ ซ่งึ ออกให้

ไมเ่ กิน 6 เดอื น พรอ้ มรับรองสำเนาถกู ตอ้ งโดยผู้มอี ำนาจ

- กรณีมกี ารมอบอำนาจให้แนบหลักฐานการมอบอำนาจพรอ้ มปิดอากรแสตมบใี ห้ถูกตอ้ ง

ตามกฎหมาย ได้แก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปิดอากรแสตมป็ 10 บาท

- มอบอำนาจท่ัวไป ปิดอากรแสตมป็ 30 บาท

6.11 เอกสารประกอบการพิจารณาการขออนมุ ตั ิขอขยายอายสุ ัญญา ตามมติคณะรฐั มนตรี เรือ่ งมาตรการใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประกอบการท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากเหตุอุทกภัย 1. สำเนาสญั ญา

2. สำเนาสญั ญาแก้ไขเพมิ่ เติม (ถา้ ม)ี 3. สำเนาอนุมตั งิ ดคา่ ปรับหรือขยายอายสุ ญั ญา (ถ้าม)ี 4. สำเนาหนงั สือแจง้ ให้ผรู้ ับจ้างเข้าปฏบิ ตั ิงานตามสญั ญา 5. สำเนาประกาศจงั หวัดทีเ่ ป็นพื้นทก่ี อ่ สร้าง 6. หนังสือขอขยายอายสุ ัญญาของผู้รับจา้ ง 7. เอกสารหลักฐานที่ผรู้ บั จ้างไดร้ บั ผลกระทบจากเหตุอุทกภยั หลักฐานอ่นื ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับเหตุการณ์

การบรทิ ารสัญญาและการควบคมุ งาน •หนา้ 93

8. บนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ านประจำวนั ของผู้ควบคมุ งาน (ต้นฉบบั )

9. รายงานการตรวจสภาพพ้ืนที่กอ่ สร้างของคณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคมุ งาน พรอ้ มพิจารณาให้ ความเหน็ ซ่งึ คณะกรรมการตรวจการจ้างต้องระบใุ หซ้ ัดเจนว่าผูร้ บั จา้ ง ได้รับผลกระทบในวันใด ไดร้ ับ

ผลกระทบอยา่ งไร ขยายระยะเวลากวี่ นั และควรใหต้ น้ ฉบับ

10. ขอขยายตามมตคิ ณะรัฐมนตรี ใหแ้ นบสว่ นประกาศเริ่มและสิ้นสุดการเกิดอทุ กภยั ของจงั หวดั ท่เี ปน็ พ้นื ท่ี

กอ่ สร้าง

11. เอกสารที่เป็นสำเนาใหร้ ับรองสำเนาถกู ต้องทุกหนา้

12. เอกสารอ่นื ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

- สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบยี นนติ บิ ุคคล ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งออกให้ ไมเ่ กิน 6 เดือน พร้อมรบั รองสำเนาถกู ต้องโดยผู้มีอำนาจ - กรณีมกี ารมอบอำนาจ ใหแ้ นบหลักฐานการมอบอำนาจพรอ้ มปิดอากรแสตมป็ใหถ้ กู ตอ้ ง

ตามกฎหมาย ไดแ้ ก่

- มอบอำนาจเฉพาะกาล ปิดอากรแสตมน้ 10 บาท

- มอบอำนาจทวั่ ไป ปิดอากรแสตมป็ 30 บาท

6.12 เอกสารประกอบการขออนุมัติคนื เงินประกนั ผลงาน (10%)

1. หนงั สอื ผรู้ บั จา้ งขอคืนเงินประกนั ผลงาน (10%) 2. ใบแจง้ หนี้

3. สำเนาหนังสอื คํ้าประกนั ของธนาคาร (เงนิ ประกนั ผลงาน 10%) 4. สำเนาบันทึกลง่ ต้นฉบับหนงั สือค้าํ ประกันผลงาน (เก็บไว้ท่หี นว่ ยเบิกจา่ ย) 5. สำเนาค่ฉู บบั หนังสือตรวจสอบหนังสือค้าํ ประกันผลงาน (ให้ตรวจสอบหนงั สอื ค้ําประกันผลงาน ไปที่

สำนักงานใหญ่แตล่ ะธนาคาร)

6. หนงั สอื ยนื ยันการออกหลักประกนั ผลงานของธนาคาร ถา้ เจ้าหน้าที่ทลี่ งนามในหนงั สือยืนยนั ฯ ไม่ใช่บุคคล

ตู้ เย็น 2 ประตู ควร ปรับ อุณหภูมิอย่างไร

อุณหภูมิช่องแช่เย็นควรอยู่ระหว่าง 1.7 - 3.3 องศาเซลเซียส โดยช่วงอุณหภูมินี้จะช่วยชะลอการเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันไม่ให้อาหารเน่าเสีย ซึ่งในช่องต่างๆ ของตู้เย็นนั้นอาจมีอุณหภูมิที่แตกต่างกันเล็กน้อย เช่นบริเวณประตูอาจมีอุณหภูมิที่สูงกว่าในชั้นด้านในตู้ ซึ่งหากต้องการควรแม่นยำสามารถใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดได้

ช่องแช่แข็งตู้เย็น 2 ประตู กี่องศา

อุณหภูมิภายในตู้เย็น -ช่องแช่แข็ง อุณหภูมิที่ต่ำกว่า -18℃ ช่องนี้เหมาะสมกับ การแช่เนื้อสัตว์ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความเย็นจัด เช่น น้ำแข็ง ไอศกรีม เนื้อสัตว์ ต่างๆ -ช่องเย็นที่สุด 0℃ ถึง 5℃ อาหารประเภทต้องการความเย็นแต่ไม่ต้องการแช่ให้แข็ง เช่น อาหารที่ปรุงสำเร็จ อาหารหมัก เป็นต้น

ตู้เย็น 2 ประตูยี่ห้อไหนดีที่สุด

10 แบรนด์ตู้เย็น 2 ประตู ยี่ห้อไหนดี เย็นฉ่ำไม่กินไฟ.

Electrolux ตู้เย็น 2 ประตู รุ่น ETB5400B-A..

Sharp ตู้เย็น 2 ประตู รุ่น SJ-X510GP2-BK..

TOSHIBA ตู้เย็น 2 ประตู GR-AG58KA..

Samsung ตู้เย็น 2 ประตู รุ่น RT62K7350BS..

Hitachi ตู้เย็น 2 ประตู รุ่น R-VGX400PF MIR..

Haier ตู้เย็น 2 ประตู รุ่น HRF-THM49I..

ตู้เย็นควรปรับเลขอะไร

หมายเหตุ ภาวะปกติให้บิดไปที่เลข “ 3 ” สภาวะที่ต้องการทำน้ำแข็งอย่างรวดเร็วให้บิดไปที่ตำแหน่ง “ COLD ” OFF ไม่ทำงาน , 1-2 เย็นเล็กน้อย , 3 ปานกลาง , 4-5 เย็นมาก , COLD เย็นจัด