ข อม ล จาก แหล ง ปฐม ภ ม primary

Page 21 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง

  1. 21
``` หลกั การเขยี นบทวิทยุกระจายเสียง 6-11 เร่ืองท่ี 6.1.3 การน�ำวัตถุประสงค์ไปใช้ในการเขียนบท
   โรเจอร์ แอล วอลเตอร์ ศาสตราจารยก์ ติ มิ ศกั ดทิ์ างการกระจายเสยี ง แหง่ มหาวทิ ยาลยั แคลฟิ อรเ์ นยี  
(Professor Emeritus of Broadcasting) กลา่ ววา่ ความสำ� เร็จในการเขยี นบทประเมนิ ได้จากการทบี่ ท ที่เขียนนั้นสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีก�ำหนดไว้ ดังนั้น ผู้เขียนบทจึงต้องเข้าใจอย่างชัดเจนว่าต้องการ บรรลผุ ลอะไร อยา่ งไร (Walters, 1994, pp. 20, 22) และเมอื่ ลงมอื เขยี นบท ผเู้ ขยี นบทจงึ นำ� วตั ถปุ ระสงค์ นนั้ ๆ มาเปน็ กรอบก�ำหนดทศิ ทางและเปน็ กรอบก�ำกับในการเขยี นบท
   วัตถุประสงค์ในการเขียนบทอาจก�ำหนดโดยอิงบทบาทหน้าท่ีของส่ือมวลชน หรือการก�ำหนด  
วัตถุประสงค์โดยมุ่งหวังผลในระดับใดระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์การเขียนบทท่ีแตกต่างกัน บทที่เขยี นกย็ ่อมแตกตา่ งกนั ไปด้วย ตัวอย่าง
   การเขยี นบทโดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เพื่อ  
  1. บอกให้ผู้ฟังทราบเหตุการณ์ เรื่องราวท่ีเกิดขึ้นในชุมชนว่าเกิดอะไรข้ึนที่ไหน เมื่อใด และ อยา่ งไร ลกั ษณะเชน่ นผ้ี เู้ ขยี นบทสามารถนำ� เสนอโดยใชก้ ารรายงานขา่ วใหผ้ ฟู้ งั ไดท้ ราบอยา่ งตรงไปตรงมา
  2. เสนอแง่คิด มุมมองเกี่ยวกับเหตุการณ์ประเด็นใดประเด็นหนึ่งที่เกิดขึ้นในชุมชน ผู้เขียนบท อาจเลอื กใชก้ ารวเิ คราะห์ เพอื่ ใหผ้ ฟู้ งั ไดข้ อ้ มลู ความเหน็ ทล่ี กึ ซงึ้ มากกวา่ การนำ� เสนอดว้ ยการรายงานขา่ ว ทใ่ี ห้เฉพาะข้อมลู ผิวเผนิ
  3. ให้ผ้ฟู ังได้รับสาระเร่ืองใดเร่อื งหน่ึงจากแหล่งข้อมลู ปฐมภมู ิ (primary source) ซ่ึงจะมีความ น่าเช่ือถือในด้านเนือ้ หาเปน็ อยา่ งยงิ่ กรณีเชน่ นค้ี วรนำ� เสนอด้วยการสัมภาษณ์
  4. จงู ใจใหใ้ ชผ้ ลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ ชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ กรณเี ชน่ นก้ี ารนำ� เสนอดว้ ยสปอตจะมคี วามเหมาะสม
       จากตัวอย่างท่ียกมาข้างต้นจะเห็นว่าหากวัตถุประสงค์ท่ีผู้เขียนบทต้องการแตกต่างกัน วิธีการ  
    
    น�ำเสนอรายการกจ็ ะแตกตา่ งกนั ไปดว้ ย
       ผู้เขียนบทสามารถเลือกวิธนี ำ� เสนอรายการไดห้ ลากหลายรูปแบบ เชน่ พดู คยุ รายงาน สนทนา  
    
    สมั ภาษณ์ สารคดี นิตยสารทางอากาศ เพลง ละคร สปอต เปน็ ตน้
       การน�ำเสนอรายการในแต่ละรูปแบบ ผู้เขียนบทจะต้องเข้าใจลักษณะของรูปแบบรายการแต่ละ  
    
    รปู แบบ จงึ จะสามารถเลอื กใชน้ ำ� เสนอเนอื้ หาใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี ำ� หนดไวไ้ ด้ (ศกึ ษารายละเอยี ดเกยี่ วกบั รูปแบบรายการได้ในหน่วยท่ี 3) นอกจากน้ีผู้เขียนบทจะต้องเข้าใจเทคนิคในการเขียนบทเพ่ือให้บรรลุ วัตถปุ ระสงค์ทีก่ ำ� หนดไว้ เช่น
  5. การก�ำหนดวัตถุประสงคเ์ พื่อให้ข่าวสาร กรณที ก่ี ำ� หนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ชน่ น้ี เนอ้ื ความทป่ี รากฏ

    ในบทจะต้องให้ข่าวสารกับผู้ฟังได้ชัดเจน ครบถ้วน สมบูรณ์ เช่น หากจะบอกผู้ฟังให้ทราบเร่ืองการเกิด แผ่นดินไหวก็จะต้องมีเนื้อหาท่ีฟังแล้วรู้ว่าเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวท่ีไหน เม่ือใดและมีผลต่อผู้ฟังอย่างไร เป็นต้น

    `

1 หน ่ วยท ี ่ 1 ความหมายของสถ ิ ต ิ ศาสตรแ ์ ละข ้ อมล ู ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/1-6/3 (แผนการเร ี ยนว ิ ทย-์ คณ ิ ต) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โดย นางน ิ ตยา อภ ิ ญ ตา แหน ่ งคร ู ว ิ ทยฐานะ ครช ู า นาญการพ ิ เศษ กล่ม ุ สารการเร ี ยนร ้ คูณิตศาสตร ์ โรงเร ี ยนชา นาญสามคัค ี วิทยา ตา บลคลองปนูอา เภอแกลง จงัหวดัระยอง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

บทท ี ่ 1 ความหมายของสถต ิ ศ ิ าสตรข ์ ้ อม ู ล 1. สถ ิ ต ิ ศาสตร ์หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลจากข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อน ามาตอบค าถาม อธิบายปรากฏการณ์หรือ ประเด็นที่สนใจ 2 1.1 สถ ิ ต ิ ศาสตร ์

ประโยชน์ของสถิติศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน สถิติมีประโยชน์ต่อการศึกษาในทุกแขนงวิชาและทุกหน่วยงาน เพราะทุก แขนง วิชาจะมีการศึกษาข้อมูล เพื่อสรุปผลไปใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจอยู่ เสมอ นอกจากนั้นหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ภาครัฐบาลหรือภาคเอกชนยังใช้ สถิติเพื่อ การวางแผนด าเนินงานและตัดสินใจส าหรับปัญหาต่างๆอยู่เสมอ ซึ่งโดย สรุปสถิติ มีประโยชน์ส าหรับงานด้านต่างๆดังนี้ 1. ด้านการพัฒนาประเทศ ในการพัฒนาประเทศไม่ว่าจะเป็นทางด้าน เศรษฐกิจ หรือด้านสังคม รัฐบาลต้องรู้สถิติข้อมูลเกี่ยวกับประชากร และปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง เช่น สถิติประชาการ สถิติการศึกษา สถิติแรงงาน สถิติการเกษตร สถิติ การเกิด การตาย สถิติการส่งสินค้าออกหรือการน าสินค้าเข้า เป็นต้น เพื่อให้ สามารถ วางแผนหรือก าหนดนโยบายในการพัฒนาประเทศให้ดียิ่งขึ้น 3

ประโยชน์ของสถิติศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน 2. ด ้ านธร ุ ก ิ จ ในการประกอบธุรกิจนักธุรกิจจ าเป็นต้องมีการวางแผนใน การด าเนิน งานในด้านต่างๆ เช่นการวางแผนการผลิต การจ าหน่าย การบริหาร จัดการ เป็นต้น นอกจากนั้นในบางครั้งอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับธุรกิจ เช่น ปัญหาด้าน การผลิต ปัญหาด้านการตลาด ปัญหาเกี่ยวกับพนักงาน ปัญหาการควบคุมคุณภาพ สินค้า เป็นต้น นักธุรกิจจึงต้องท าการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาหรือด าเนินการตาม แผนการธุรกิจ ซึ่งการวางแผนที่ดีและการตัดสินใจที่ถูกต้องย่อมส่งผลให้การด าเนิน ทางธุรกิจ นั้นราบรื่นและมีโอกาสประสบความส าเร็จสูง ดั้งนั้นในการวางแผน และ การตัดสินใจทางธุรกิจจ าเป็นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ด้วยวิธีการทาง สถิติที่น่าเชื่อถือ 4

ประโยชน์ของสถิติศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน 3. ด้านการเกษตร ในการท าการเกษตร เกษตรกรต้องการท าให้ผลิตผลมาก ที่สุดหรือ สูงกว่าเดิมในระยะเวลาที่ต้องการ หรือต้องการให้มีผลผลิตนอกฤดูกาล เช่น เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมต้องการให้แม่โคมปริมาณน ้านมมากขึ้นและมีระยะเวลา ยาวขึ้น เป็นต้น ดังนั้นในการท าการเกษตรจึงต้องอาศัยข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อ วางแผนในการ ด าเนินการ ให้ได้ผลผลิตตามที่คาดหวัง 4. ด้านการศึกษา ในด้านการศึกษาสถิติถูกน ามาใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา เช่น การศึกษาหาวิธีการสอนวิชาสถิติเพื่อให้นักศึกษามีผลสม ั ฤทธ ิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น ต้องใช้สถิติข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษาและกระบวนการสอน เป็น ต้น นอกจากนั้นในงานด้านอื่นๆ 5

ประโยชน์ของสถิติศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน 6

ประโยชน์ของสถิติศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน 7

ประโยชน์ของสถิติศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน 8

ตัวอย่าง : ความคลาดเคล ื ่ อนในการนา เสนอข ้ อม ู ล 9 ในการวเ ิ คราะหผ ์ ลการสา รวจความคด ิ เหน ็ ของน ั กเร ี ยนทม ี่ต ี อ่การไป โรงเร ี ยน ดง ั น ี ้

ตัวอย่าง : ความคลาดเคลอ ื ่ นในการนา เสนอข ้ อม ู ล 10

ตัวอย่าง : ความคลาดเคลอ ื ่ นในการนา เสนอข ้ อม ู ล 11

ตัวอย่าง : ความคลาดเคล ื ่ อนในการนา เสนอข ้ อม ู ล 12

ตัวอย่าง : ความคลาดเคล ื ่ อนในการนา เสนอข ้ อม ู ล 13

14 แบบฝึ กหัด 1.1

15

16

ประโยชน์ของสถิติศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน 17

บทท ี ่ 1 ความหมายของสถต ิ ศ ิ าสตรข ์ ้ อม ู ล 2. ประชากร หมายถึง กลุ่มของหน่วยทั้งหมดในเรื่องที่สนใจศึกษา หน่วยในที่นี้ อาจเป็นคนสัตว์ หรือสิ่งของ 3. ตว ั อย ่ าง หมายถึง กลุ่มย่อยของประชากรที่ถูกเลือกมาเป็นตัวแทนของ ประชากร โดยทั่วไปมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ตัวอย่างในการสรุปผลเกี่ยวกับ ลักษณะของประชากรที่สนใจ 18 1.2 คา สา คญ ั ในสถ ิ ต ิ ศาสตร ์

4. ตัวแปร หมายถึง ลักษณะบางประการของประชากรหรือตัวอย่างที่สนใจศึกษา 5. ข้อมูล หมายถึง ข้อความจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่สามารถใช้ในการ สรุปผลในเรื่องที่สนใจศึกษา อาจเป็นได้ทั้งตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลข หรืออาจ หมายถึงค่าของตัวแปรที่สนใจศึกษา 6. พาราม ิ เตอร ์หมายถึง ค่าวัดที่แสดงลักษณะของประชากร ซึ่งเป็นค่าคงตัวที่ ค านวณหรือประมวลจากข้อมูลทั้งหมดของประชากร 7. ค ่ าสถ ิ ต ิเป็นค่าคงตัวที่พิจารณาจากข้อมูลของตัวอย่าง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ อธิบายลักษณะของตัวอย่างนั้นหรือเพื่อประมาณค่าของพารามิเตอร์แล้วน าไปใช้ ในการอธิบายลักษณะของประชากร 19

ข ้ อม ู ลทศ ี่ก ึ ษาสามารถแบ ่ งได ้ หลายประเภททส ี่า ค ั ญมด ีั งน ี ้ 1. การแบง ่ ประเภทของข ้ อมล ู ตามแหล ่ งท ี่มาของข ้ อมล ู 1.1 ข ้ อมล ู ปฐมภม ู ิ(Primary data) 1.2 ข ้ อมล ู ทต ุ ิ ยภม ู ิ(secondary data) 2. การแบง ่ ประเภทของข ้ อมล ู ตามระยะเวลาท ี่จด ั เกบ ็ 2.1 ข้อมูลอนุกรมเวลา (time series data) 2.2 ข้อมูลตัดขวาง (cross-sectional data) 3. การแบง ่ ประเภทของข ้ อมล ู ตามลก ั ษณะของข ้ อมล ู 3.1 ข ้ อมล ู เช ิ งปร ิ มาณ (quantitative data) 3.2 ข ้ อมล ู เช ิ งคณ ุ ภาพ (qualitative data) 20 1.3 ประเภทของข้อมูล

1.การแบง ่ ประเภทของข ้ อมล ู ตามแหล ่ งท ี ่ มาของข ้ อมูล 1.1. ข้อมูลปฐมภม ู ิคือข้อมูลที่ผู้ใช้ด าเนินการเก็บรวบรวมจากเจ้าของข้อมูลหรือ ต้นก าเนิดของข้อมูลโดยตรง เช่น พี่สาวคนโตตกลงกับน้อง ๆ ว่าวันหยุดยาว นี้ไปเที่ยวที่ไหนดี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลปฐมภูมิส าหรับพี่สาว 1.2 ข ้ อมล ู ทต ุ ิ ยภม ู ิคือข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ได้ด าเนินการเก็บรวบรวมจากเจ้าของ ข้อมูลหรือต้นก าเนิดของข้อมูลโดยตรง แต่ใช้ข้อมูลที่บุคคลหรือหน่วยงานอื่น เก็บรวบรวมมา ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ใช้มักจะใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมโดยภาครัฐ ซึ่งเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลตามภารกิจของหน่วยงาน เช่น พี่สาวคนโต รวบรวมความคิดเห็นของน้อง ๆ มาบอกคุณพ่อคุณแม่ว่าแต่ละคนอยากไปเที่ยวที่ ไหนกันบ้าง ข้อมูลนี้จะกลายเป็นข้อมูลทุติยภูมิส าหรับคุณพ่อคุณแม่ 21

2.การแบง ่ ประเภทของข ้ อม ู ลตามระยะเวลาทจัดเก็ ี ่ บ 2.1 ข้อมูลอนุกรมเวลา คือชุดข้อมูลที่เกิดขึ้นและจัดเก็บตามล าดับเวลา ต่อเนื่องกันไปตลอดช่วง ๆ หนึ่ง เช่น รายจ่ายของแต่ละวันในหนึ่งเด อน 2.2 ข้อมูลตัดขวาง คือข้อมูลที่บอกสถานะหรือสภาพของสิ่งที่สนใจ ณ จุดหนึ่งของเวลา เช่น ข้อมูลปริมาณน ้าฝนของวันนี้ในแต่ละจังหวัด 22

3.การแบง ่ ประเภทของข ้ อมล ู ตามลักษณะของข้อมูล 3.1 ข้อมูลเช ิ งปร ิ มาณ คือข้อมูลที่ได้จากการวัดหรือการนับค่า โดยแสดงเป็น ตัวเลขหรือปริมาณที่สามารถน าไปบวก ลบ คูณ หรือหาร และเปรียบเทียบ กันได้ เช่น ส่วนสูง อายุ คะแนนสอบ 3.2 ข้อมูลเช ิ งคณ ุ ภาพ คือข้อมูลที่แสดงลักษณะ ประเภท สมบัติในเชิงคุณภาพ และอื่น ๆ ที่ไม่สามารถวัดค่าเป็นตัวเลขที่น ามาบวก ลบ คูณ หรือหารกันได้ เช่น เพศ อาชีพ อาหารที่ชอบ และระดับความพึงพอใจอย่างที่ได้กล่าวไป ข้างต้น 23

24 แบบฝึ กหัด 1.3

25 แบบฝึ กหัด 1.3

26 แบบฝึ กหัด 1.3

27

28 1.4 สถ ิ ต ิ เช ิ งพรรณาและสถ ิ ต ิ เช ิ งอน ุ มาน การน าสถิติไปใช้งานนั้น สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ สถ ิ ต ิ เช ิ งพรรณา ค าว่า พรรณนา แปลว่าบรรยายหรืออธิบาย ดังนั้นสถิติเชิงพรรณนาจึง หมายถึง การบรรยายหรือวิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหรือคุณภาพก็ได้ โดยมักจะใช้เพื่อสรุปผลข้อมูลที่มีอยู่จ านวนมาก เช่น การหาอายุเฉลี่ยของลูกค้าประจ าร้าน A เป็นต้น สถ ิ ต ิ เช ิ งอน ุ มาน ค าว่า อนุมาน หมายถึง ท านายหรือคาดการณ์ ดังนั้น สถิติเชิงอนุมานจึง หมายถึง การใช้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อท านายลักษณะของข้อมูลประชากร ทั้งหมด อย่างการสอบถามกิจกรรมยามว่างของนักเรียนทั้งโรงเรียน การที่เราเลือกกลุ่ม ตัวอย่างจากนักเรียนบางห้อง มาสอบถามแล้วสรุปผล โดยคาดว่าน่าจะเป็นกิจกรรมที่ นักเรียนส่วนใหญ่ชอบท าในเวลาว่าง เรียกว่าเป็นการใช้สถิติเชิงอนุมานนั่นเอง

29 ตว ั อย ่ าง คะแนนว ิ ชาคณ ิ ตศาสตรข ์ องนักเร ี ยนชนั้ มธัยมศึ กษาปี ท ี่6 จ านวน 50 คน ได้ดังนี้ น าข ้ อมล ู น ี ้ มาน าเสนอด ้ วยตาราง โดยการตามแบง ่ คะแนนได ้ ดงัน ี ้

ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ ศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น ้าหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูป คุณลักษณะหรือคุณสมบัติ เช่น ที่อยู่ สถานภาพ สมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ศาสนา 30

31 แบบฝึ กหัด 1.4

32 แบบฝึ กหัด 1.4(ต ่ อ)

33 แบบฝึ กหัด 1.4(ต ่ อ)

34

แบ่งตามการจัดกระท าข้อมูล ข้อมูลดิบ (Raw data) คือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม ข้อมูล ไม่ได้จัดกระท า จัดระเบียบ หรือจัดหมวดหมู่ ข้อมูล ข้อมูลที่จัดเป็นหมวดหมู่ (Group data) คือข้อมูลที่มีการ จัดกระท าให้เป็นหมวดหมู่อย่างมีระเบียบ มีการแจก แจงความถี่ ท าให้ง่ายต่อการค านวณหรือการน าไปใช้ 35

แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ข้อเท็จจริงหรือ รายละเอียดที่ได้มาจากแหล่งก าเนิดข้อมูล เช่น การ สัมภาษณ์ แบบสอบถาม การสังเกต เป็นต้น ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) ข้อเท็จจริงที่มีผู้ รวบรวมไว้ และนักวิจัยน ามาใช้ในงานวิจัยของตนเอง 36

ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลนี้ใช้มากในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ หมายถึงข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว ที่ผ่านการประ มลผลหรือการวิเคราะห์แล้ว ผู้วิจัยเพียงแต่ น ามาศึกษาใหม่ 37

บันทึกส่วนตัว รายงาน สถิติ เอกสารทางราชการ เอกสารส่วนตัว หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และอื่นๆ 38

ข้อดีของข้อมูลทุติยภูมิ ไม่ต้องเก็บรวบรวมใหม่ ประหยัดเวลา ศึกษาย้อนหลังได้ไกลเท่าที่ต้องการศึกษา 39

ข้อจ ากัดของข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลไม่สมบูรณ์ครบตามประเด็นที่ศึกษา ปัญหาความน่าเชื่อถือของข้อมูล ข้อมูลไม่ทันสมัย การเปลี่ยนแปลงหรือความแตกต่างค านิยาม หรือความสัมพันธ์ของประเด็นต่างๆ 40

ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลที่ผู้วิจัยเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อให้สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้นโดยเฉพาะ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 41

การส ารวจ (Field survey) การเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายที่กระจายอยู่ ในพื้นที่ต่างๆ โดยใช้วิธี การสัมภาษณ์ (Interview) การสังเกต (Observation) การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) 42

การทดลอง การเก็บข้อมูลโดยการควบคุมตัวแปรทดลองให้ ผันแปรได้ตามที่ผู้วิจัยต้องการ 43

การทดลองแบบสมบูรณ์ (Experiment) โดยการควบคุมตัวแปรอิสระและตัวแปรอื่นๆ ได้เต็มที่ ส่วนใหญ่จะเป็นการทดลองใน ขอบเขตหรือบริเวณที่จ ากัด ดังเช่น ห้องปฏิบัติการ 44

การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experiment) การทดลองในสภาพความเป็นอยู่ของประชากร โดยการควบคุมตัวแปรต่างๆ เช่น การทดลอง การสอน 45

ข้อดีของข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิจะต้องกันข้ามกับข้อมูลทุติยภูมิ โดยผู้วิจัยสามารถก าหดลักษณะและควบคุม ข้อมูลได้ตามที่ต้องการ สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์และการวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้ง ความรู้ความสามารถของผู้วิจัย 46

ข้อจ ากัดของข้อมูลปฐมภูมิ เสียเวลา ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล ถ้าผู้วิจัยขาดความช านาญในการเก็บข้อมูล โดยเฉพาะการเก็บโดยการสังเกตและสัมภาษณ์ จะ ส่งผลต่อคุณภาพและความน่าเชื่อถือของข้อมูล 47

แบ่งตามลักษณะของข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) ข้อมูลคุณภาพ (Qualitative data) 48

ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ คือข้อมูลที่ไม่ใช่ ตัวเลข เป็นการบรรยายคุณลักษณะหรือ คุณสมบัติของสิ่งต่างๆ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้วิธีการเปรียบเทียบและจัดกลุ่มหรือ ประเภทของข้อมูล 49