ข้อใด กล่าว ไม่ ถูก ต้อง เกี่ยว กับ ระดับ การ บริการ

1. ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาอาศัยอำนาจตามความแห่งพระราชบัญญัติใด 

ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

ข. พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ

ค. พระราชบัญญัติการคุ้มครองเด็ก

ง. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

2.ข้อใดหมายถึงการประเมินคุณภาพภายใน 

ก. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ข. การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา

ค. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ง. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

3. ข้อใดไม่ใช่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 

ก. การประเมินคุณภาพภายใน

ข. การประเมินคุณภาพภายนอก

ค. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ง. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

4.ระบบการประกันคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพ การศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย 

ก. การประเมินคุณภาพภายนอก

ข. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ค. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ง. ถูกทั้งข้อ ก.และ ข.

5.การประกันคุณภาพภายในให้สถานศึกษาดำเนินการตามข้อใด 

ก. 1 ปี

ข. ทุกปี

ค. 3 ปี

ง. อย่างน้อย 3 ปี 1 ครั้ง

6. ให้สถานศึกษาดำเนินการประกันคุณภาพภายในโดยเน้นตามข้อใด

ก.ผู้เรียนเป็นสำคัญ

ข. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการศึกษา

ค. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการจัดศึกษา

ง. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการศึกษา

7. การประกันคุณภาพภายในที่กําหนดในส่วนนี้ ให้ใช้บังคับแก่การจัดการศึกษาแบบใด 

ก. การจัดการอาชีวศึกษา

ข. การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา

ค. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ง. ถูกทุกข้อ

8. กรรมการผู้ ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยคําแนะนําของใคร

ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ข. นายกรัฐมนตรี

ค. กระทรวงศึกษาธิการ

ง. รองนายกรัฐมนตรี

9. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของกรรมการผู้ ทรงคุณวุฒิ

ก. มีสัญชาติไทย

ข. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ

ค. เคยได้รับโทษจําคุก

ง. ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง

10. การประกันคุณภาพใช้บังคับกับการศึกษารูปแบบใด 

ก. การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ข. การศึกษาภาคบังคับ

ค. การอาชีวศึกษา

ง. ถูกทุกข้อ

11. ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 

ก. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

ข. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ง. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

12. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี 

ก. 1 ปี

ข. 2 ปี

ค. 4 ปี

ง. 6 ปี

13. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไม่สอดคล้องกับข้อใดต่อไปนี้ 

ก.มาตรฐานการศึกษาระดับชาติ

ข.เอกลักษณ์ของสถานศึกษา

ค.สภาพปัญหาของสถานศึกษา

ง. มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษา

14. การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาต้องมีการกำหนดวิธีดำเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ให้ครอบคลุมข้อใดต่อไปนี้ 

ก. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของสถานศึกษา

ข. วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา

ค. พันธกิจของสถานศึกษา

ง. ความต้องการที่จำเป็นของสถานศึกษา

15. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง 

ก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาวิเคราะห์วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับรูปแบบและเทคนิควิธีการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง

ข. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาวิเคราะห์วิจัย และเผยแพรนวัตกรรมเกี่ยวกับรูปแบบและเทคนิควิธีการประกันคุณภาพภายนอกอย่างต่อเนื่อง

ค. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่งเสริม สนับสนุน และร่วมพัฒนาพร้อมทั้งสมารถยุบระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ง. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่งเสริม สนับสนุน และร่วมพัฒนาพร้อมทั้งสมารถยุบระบบการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา

16. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง เกี่ยวกับการจัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 

ก. ให้หน่วยงานต้นสังกัดมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 1 ครั้ง ในทุกหนึ่งปี

ข. ให้หน่วยงานต้นสังกัดมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 2 ครั้ง ในทุกสามปี

ค. ให้หน่วยงานต้นสังกัดมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกสามปี

ง. ให้หน่วยงานต้นสังกัดมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกเดือน

17. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา 

ก. รัฐมนตีแต่งตั้งโดยคำแนะนำขอคณะกรรมการอาชีวศึกษา

ข. เป็นผู้ที่มีความรู้ความความสามารถ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในด้านการจัดการศึกษา การบริหารสถานศึกษาหรือการประเมินการจัดการศึกษา

ค. แต่งตั้งจากบุคคลที่ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยที่มีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำจำนวนไม่น้อยกว่าสามคน

ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข

18. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่งตั้งจากบุคคลที่ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยที่มีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำจำนวนเท่าใด

ก. 3 คน

ข. 5 คน

ค. ไม่น้อยกว่า 3 คน

ง. ไม่น้อยกว่า 5 คน

19. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา

ก. วางระเบียบหรืออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายนอกการอาชีวศึกษา

ข. เสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา โดยนำผลการประเมินทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุง

ค. แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

ง. ปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการการอาชีวมอบหมาย

20. ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ตามข้อใด

ก. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ข. จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ค. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

ง. ถูกทุกข้อ

21. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาการอาชีวศึกษาตามข้อ 22(1) ต้องสอดคล้องกับข้อใด 

ก. มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาสถานศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด และต้องครอบคลุมสมรรถนะวิชาชีพทุกหลักสูตรและวิชา

ข. มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาอาชีวศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด และต้องครอบคลุมสมรรถนะวิชาชีพทุกหลักสูตรและวิชา

ค. มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด และต้องครอบคลุมสมรรถนะวิชาชีพทุกหลักสูตรและวิชา

ง. ไม่มีข้อใดถูก

22.ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดโครงสร้างการบริหารที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับอะไร

ก.การประกันคุณภาพภายใน

ข.การประกันคุณภาพภายนอก

ค.การประกันคุณภาพภายในและภายนอก

ง.ไม่มีข้อถูก

23.การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ 22 จะต้องสอดคล้องกับแนวทางที่สถานศึกษาได้กำหนดไว้ในข้อใด 

ก.วิสัยทัศน์ พันธกิจ

ข.การวิจัยและนวัตกรรม

ค.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ง.ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

24.สถานศึกษาอาชีวศึกษาต้องดำเนินการตามข้อใด

ก.แผนพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา

ข.แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ค.ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

ง.ไม่ม่ข้อถูก

25. ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพแก่ผู้เรียนตามหลักสูตรที่เปิดสอนครบทุกสาขาวิชา ตามโครงสร้างหลักสูตรใด

ก. หลักสูตรสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ข. หลักสูตรสถานศึกษา

ค. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ง. หลักสูตรอุดมศึกษา

26. หน่วยงานใดบ้างมีส่วนร่วมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา 

ก. หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาอาชีวศึกษาและคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ข. คณะกรรมการการอุดมศึกษาและสถานประกอบการที่มีส่วนร่วมในการจัดการอาชีวศึกษา

ค. หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาอาชีวศึกษาและสถานประกอบการที่มีส่วนร่วมในการจัดการอาชีวศึกษา

ง. คณะกรรมการการอุดมศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาอาชีวศึกษาและสถานประกอบการที่มีส่วนร่วมในการจัดการอาชีวศึกษา

27. ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษากี่ปี 

ก. อย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 3 ปี

ข. 1 ครั้งในทุก 3 ปี

ค. อย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี

ง. 1 ครั้งในทุก 5 ปี

28. คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา 

ก. กรรมผู้ทรงคุณวุฒิตาม

ข. เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา

ค. ผู้เชี่ยวชาญ

ง. ถูกทั้งข้อกเเละข

29.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเเต่งตั้งโดยคำเเนะนำของกรรมการอุดมศึกษา มีจำนวนกี่คน

ก. ไม่เกินห้าคน

ข. ไม่เกินเจ็ดคน

ค.ไม่เกินเก้าคน

ง.ไม่เกินสิบคน

30. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา 

ก. วางระเบียบหรือออกคำประกาศกำหนดหลักเกณฑ์

ข.เสนอเเนะเเนวทางปรับปรุงเเละพัฒนาคุณภาพการศึกษาเเก่สถานศึกษา

ค. เเต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา

ง.ถูกทุกข้อ

31.สถานศึกษาระดับอุดมศึกษายึดหลักข้อใดในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน

ก. เสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการดําเนินการของสถานศึกษา

ข. เกณฑ์การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา

ค. มาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด

ง. ไม่มีข้อใดถูก

32. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจะต้องพิจารณาหลักเกณฑ์ตามข้อใด 

ก. ระบบการประกันคุณภาพภายในของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยคํานึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด

ข. ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบการประกัน

คุณภาพภายในที่กําหนดไว้

ค. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดําเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา

ง. ถูกทุกข้อ

33. สำนักงานใดมีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้านการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะวิชาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง

ก. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ข. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ค. กระทรวงศึกษาธิการ

ง. หน่วยงานต้นสังกัด

34. หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามข้อใด 

ก. อย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 2 ปี

ข. อย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 3 ปี

ค. อย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 4 ปี

ง. อย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปี

35. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายและหลักการของการประกันคุณภาพภายนอก 

ก. เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ข. ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ค. ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม และโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริงและมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้

ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา

36. ในการประกันคุณภาพภายนอกให้สำนักงานทำการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาและครอบคลุมหลักเกณฑ์ตามข้อใด 

ก. มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา

ข. มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน

ค. มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา

ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา

37. การประกันคุณภาพภายนอก ให้สถานศึกษาดำเนินการตามข้อใด 

ก. ปีละ 1ครั้ง

ข. ทุก 2 ปี

ค. ทุกๆ 3 ปี

ง. ทุกๆ 5 ปี

38. สถานศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก ให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขโดยจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพและดำเนินการตามแผน จะต้องนำเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อสำนักงานเพื่อพิจารณาอนุมัติภายในกี่วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการประเมิน

ก. ภายใน 7 วัน

ข. ภายใน 15 วัน

ค. ภายใน 30 วัน

ง. ภายใน 60 วัน

39. ถ้าสถานศึกษาไม่ดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ให้สำนักงานรายงานต่อใคร 

ก.สถานศึกษา

ข. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ง. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

40.ข้อใดไม่ใช่ตัวบ่งชี้ในด้านคุณภาพศิษย์   

ก.ผู้เรียนเป็นคนดี

ข.ผู้เรียนมีความสามารถตามหลัดสูตร

ค.ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการคิด

ง.อาจารย์เป็นคนดีมีความสามารถ

41.ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพ สามารถดำเนินชีวิตประจำวันอย่างมีคุณค่า ใฝ่เรียนรู้อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างบุคคลตรงกับตัวบ่งชี้ข้อใด 

ก.ตัวบ่งชี้ 1ผู้เรียนเป็นคนดี

ข.ตัวบ่งชี้ 2ผู้เรียนมีความสามารถตามหลัดสูตร

ค.ตัวบ่งชี้ 3ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด

ง.ตัวบ่งชี้ 4ผู้เรียนมีทักษะ

42. ผู้เรียนดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีน้ำใจไมตรี มีจิตอาสาและมีการพัฒนาคุณธรรมด้านต่างๆตรงกับตัวบ่งชี้ข้อที่ใด 

ก.ตัวบ่งชี้ 1ผู้เรียนเป็นคนดี

ข.ตัวบ่งชี้ 2ผู้เรียนมีความสามารถตามหลัดสูตร

ค.ตัวบ่งชี้ 3ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด

ง.ตัวบ่งชี้ 4ผู้เรียนมีทักษะ

43. ด้านที่ 2 ของตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน สมศ.รอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา) ข้อใดกล่าวถูกต้อง

ก.ด้านคุณภาพศิษย์

ข.ด้านคุณภาพครู/อาจารย์

ค.ด้านการบริหารและธรรมาภิบาลของสถานศึกษา

ง.ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม

44.ข้อใดไม่เป็นตัวบ่งชี้ของด้านคุณภาพครู/อาจารย์

ก. ตัวบ่งชี้ที่ 5 ครู/อาจารย์ เป็นคนดี มีความสามารถ

ข. ตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์ สร้างสรรค์ห้องเรียน/เเหล่งเรียนรู้คุณภาพ

ค. ตัวบ่งชี้ที่ 7 ครู/อาจารย์ มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์

ง. ตัวบ่งชี้ที่ 8 ครู/อาจารย์ เพิ่มพูนทรัพย์สิน

45.วิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนความรู้ในวิชาที่ สอน เพื่อให้ทันสมัย ทันโลก ฯลฯ จัดอยู่ในตัวบ่งชี้ใด 

ก. ตัวบ่งชี้ที่ 5 ครู/อาจารย์ เป็นคนดี มีความสามารถ

ข. ตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์ สร้างสรรค์ห้องเรียน/เเหล่งเรียนรู้คุณภาพ

ค. ตัวบ่งชี้ที่ 7 ครู/อาจารย์ มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์

ง. ตัวบ่งชี้ที่ 8 ครู/อาจารย์ เพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์

46. ข้อใด ไม่ใช่ ตัวบ่งชี้ของด้านการบริหารและธรรมาภิบาลของสถานศึกษา 

ก. การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา

ข. การดำเนินงานของผู้อำนวยการ

ค. การบริหารความเสี่ยง

ง. การดำเนินงานของสถานศึกษา

47. สถานศึกษามีผลกำรบริหารความเสี่ยงจำกกระบวนการประเมินสถานการณ์ จัดลำดับความสำคัญ จัดการควบคุม ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขความเสี่ยง ส่งผลให้ลดสำเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายต่อชีวิตทรัพย์สิน ชื่อเสียง และสังคมตรงกับตัวบ่งชี้ใด

ก. ตัวบ่งชี้ที่ 9 การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา

ข. ตัวบ่งชี้ที่ 10 การดำเนินงานของผู้อำนวยการ

ค. ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารความเสี่ยง

ง. ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน

48. สถานศึกษามีบุคลากรประจำ สายสนับสนุนด้านวิชาการ/ธุรการที่ได้รับการอบรมเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์ ทั้งในและต่างประเทศตรงกับตัวบ่งชี้ใด 

ก. ตัวบ่งชี้ที่ 9 การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา

ข. ตัวบ่งชี้ที่ 10 การดำเนินงานของผู้อำนวยการ

ค. ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารความเสี่ยง

ง. ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน

49. ข้อใดไม่ใช่ตัวบ่งชี้ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม

ก. การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคม

ข. การแสดงปฎิสัมพันธ์ที่ดีต่อชุมชน/สังคม

ค. การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม

ง. การให้ความร่วมมือกับสังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา

50. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ที่ 13 

ก. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง

ข. มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติติที่ชัดเจน

ค. มีเหตุผลในการกำหนดแผนงานเพื่อประโยชน์ต่อุมชน/สังคม

ง. การกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70

51. สถานศึกษามีการนำความรู้และประสบการณ์ที่เกิดจากกิจกรรมความร่วมมือกับชุมชน/สังคมไป พัฒนาการเรียนการสอน และสถานศึกษา เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสถานศึกษาอื่นตรงกับตัวบงชี้ใด

ก. ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน

ข. ตัวบ่งชี้ที่ 13 การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม

ค. ตัวบ่งชี้ที่ 14 การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา

ง. ตัวบ่งชี้ที่ 15 การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม

52. กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของผู้เรียน 

ก. ผู้เรียนมีอัตลักษณ์ที่เกิดขึ้นตามปรัชญา

ข. เรียนมีอัตลักษณ์ที่เกิดขึ้นตามปรัชญา ปณิธาร

ค. ผู้เรียนมีอัตลักษณ์ที่เกิดขึ้นตามปรัชญา ปณิธาร วิสัยทัศน์ พันธกิจ

ง. ผู้เรียนมีอัตลักษณ์ที่เกิดขึ้นตามปรัชญา ปณิธาร วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา

53.เอกลักษณ์สถานศึกษาหมายถึงข้อใด 

ก. สถานศึกษามีเอกลักษณ์สะท้อนความโดดเด่น/ความชำนาญ ตามพันธกิจ

ข. สถานศึกษามีเอกลักษณ์สะท้อนความเป็นที่หนึ่ง/ความชำนาญ ตามพันธกิจ

ค. สถานศึกษามีเอกลักษณ์สะท้อนความโดดเด่น/ความชำนาญ/ความเชี่ยวชาญ ตามพันธกิจ/วัตถุประสงค์และบริบทของสถานศึกษา

ง. สถานศึกษามีเอกลักษณ์สะท้อนความเป็นที่หนึ่ง/ความชำนาญ/ความเชี่ยวชาญ ตามพันธกิจ/วัตถุประสงค์และบริบทของสถานศึกษา

54. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประเด็นการพิจารณาเอกลักษณ์สถานศึกษา 

ก. มีเหตุผลในการกำหนดเอกลักษณ์สถานศึกษาที่เหมาะสมและปฏิบัติได้

ข. มีการดำเนินงานตามแผนที่กำหนด

ค. มีผลการประเมินที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นจากประชาคม

ง. ถูกทุกข้อ

55. หลักฐานเชิงประจักษ์ ผู้ประเมินทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษของผู้เรียนก่อนสําเร็จการศึกษาตามกลุ่มตัวอย่างที่สถานศึกษานำเสนอตามเกณฑ์กำหนดใช้บัญญัติตามข้อใด

ก. ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกําหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 3 คะแนน

ข. ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกําหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 2 คะแนน

ค. ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกําหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 1 คะแนน

ง. ถูกทุกข้อ

56. การใช้คะแนนจากคะแนนทดสอบภาษาอังกฤษของสถานศึกษาในข้อใดไม่ถูกต้อง

ก. ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ไม่ต่ำกว่า ระดับ A0 ตามมาตรฐาน CEFR หรือเทียบเท่า

ข. ระดับประถมศึกษาปีที่ 3 ไม่ต่ำกว่า ระดับ A1 ตามมาตรฐาน CEFR หรือเทียบเท่า

ค. ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ไม่ต่ำกว่า ระดับ A2 ตามมาตรฐาน CEFR หรือเทียบเท่า

ง. ระดับประถมศึกษาปีที่ 3 ไม่ต่ำกว่า ระดับ A0 ตามมาตรฐาน CEFR หรือเทียบเท่า

57. ผู้เรียนมีความสามารถและทักษะการสือสารด้วยภาษาอังกฤษเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถสืรอสารและสัมพันธ์เชื่อมโยงกับนานาประเทศ จัดอยู่ในด้านใด

ก. ด้านมาตรการส่งเสริม

ข. ด้านอัตลักษณ์

ค. ด้านคุณธรรม

ง. ด้านจริยธรรม

58. ในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารควรมีหลักและกระบวนการบริหารการศึกษา หลักการแนวคิดในการบริหารภาพรวมของการบริหารเพื่ออะไร

ก. เพื่อให้การจัดการบริหารสถานศึกษามีความเหมาะสม

ข. เพื่อทำให้ผู้ปฏิบัติทางานจนสำเร็จตามจุดมุ่งหมาย

ค. เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายๆ อย่างที่บุคคลร่วมกันกำหนด

ง. เพื่อให้มีค่านิยมตรงกันกับความต้องการของสังคม

59. ข้อใดไม่ใช้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของคำว่า “การบริหาร”

ก. Administration

ข. Simon

ค. Barnard

ง. Management

60. การบริหารการศึกษา” หมายถึงอะไร 

ก. กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลหลายคนร่วมกันดาเนิน การ เพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคมในทุกๆ ด้าน

ข. การบริหารราชการ

ค. การทางานของคณะบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ที่รวมปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน

ง. กระบวนการทางานร่วมกับผู้อื่นเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

61.จากหลักการบริหารทั่วไป ๑๔ ข้อของ Fayol ทำให้ต่อมา Luther Gulick ได้นำมาปรับต่อยอด เป็นที่รู้จักกันดีในตัวอักษรย่อที่ว่า “POSDCoRB” ตัวย่อในข้อใดกล่าวผิด

ก. P – Planning

ข. S – Staffing

ค. D – Discusing

ง. R – Reporting

62.ข้อใดไม่ได้เป็นขั้นตอนของการบริหารตามวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle)

ก. การตรวจสอบ (Check – C)

ข. การวางแผน (Plan – P)

ค. การจัดการองค์กร(O – Organizing)

ง. การปรับปรุง (ACT – A)

63. ข้อใดเป็นความหมายของ ทฤษฎี 

ก. แนวทางที่เกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์มีการทดสอบและการ สังเกตจนเป็นที่แน่ใจ

ข. ความสามารถที่เกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์มีการทดสอบและการ สังเกตจนเป็นที่แน่ใจ

ค. แนวความคิดหรือความเชื่อที่เกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์มีการทดสอบและการ สังเกตจนเป็นที่แน่ใจ

ง. สิ่งที่เกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์มีการทดสอบและการ สังเกตจนเป็นที่แน่ใจ