ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรี พระนามเดิมว่า ฉิม เป็นราชโอรสองค์ที่ ๕ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติเมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อทรงพระเยาว์ได้ทรงศึกษาในสำนักพระวันรัต (ทองอยู่) ณ.วัดบางหว้าใหญ่ ปี พ.ศ. ๒๓๒๕ ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงวิศรสุนทร ในปี พ.ศ. ๒๓๓๑ ได้ทรงผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามและประทับที่วัดสมอลาย (ปัจจุบันคือวัดราชาธิอวาส) ๑ พรรษา ต่อมา พ.ศ. ๒๓๔๙ ได้ทรงดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาในปี พ.ศ. ๒๓๕๒ มีเหสีทรงพระนามว่า กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์
ชั่วระยะ ๑๕ ปี ที่พระองค์ครองราชย์อยู่นั้นนับว่าประเทศไทย อยู่บนสถานภาพปกติสุขว่างเว้นจากการสงคราม พอที่พระองค์จะทรงหันมาทำนุบำรุงประเทศชาติในด้านศิลป วรรณคดี และสถาปัตยกรรมได้เต็มที่วรรณคดีในสมัยของพระองค์รุ่งเรืองถึงขีดสุด และถือเป็นแบบฉบับอันยอดเยี่ยมไม่ว่าจะเป็นคำกลอน ละครนอกละครใน เสภา นิราศ กาพย์ ฉันท์ ลิลิต โครงสี่สุภาพ หรือโครงด้น ในทางนาฏศิลป ทรงปรับปรุงการละครจนถึงขั้นมาตรฐานทั้งในคำร้องและทำนองรำ พระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมไว้หลายเรื่องคือ

  • เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนบางตอน
  • บทละครเรื่องอิเหนา
  • บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง คาววี ไกรทอง มณีพิชัย
  • กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน
  • บทพากย์โขน ตอน พรหมาพัตร์ นากบาส นางลอย และเอราวัณ

บทละครเรื่องอิเหนานับว่าเป็นประโยชน์ต่อวงการดนตรีไทยอย่างยิ่ง เพราะนักร้องและนักดนตรีไทยได้คัดเลือกเอาบทต่าง ๆ ในบทละครรำเรื่องนี้ไปใช้ในบทขับร้องเพลงกล่อมนารี เขมรฝีแก้วทางสักว่า เขมรราชบุรี แขกมอญ แขกอาหวัง ครุ่นคิด ต้นบรเทศ ถอนสมอ ทยอยเขมร เทพไสยาสน์ เทพรัญจวน ธรณีร้องไห้ นางครวญ บังใบ บุหลัน แปดบท ลมพัดชายเขา ล่องลม สาวน้อยเล่นน้ำ สี่บทและหกบท เป็นต้น ซึ่งแต่ละเพลงมีเนื้อร้องที่ไพเราะ เหมาะสมอย่างยิ่ง เช่น

บทร้องเพลงธรณีร้องไห้เถา

  แล้วว่าอนิจจาความรัก พึ่งประจักษ์ดั่งสายน้ำไหล
ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา
สตรีใดในพิภพจบแดน ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า
ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์
โอ้ว่าเสียดายตัวข้านัก เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงช้ำจิต
จะออกชื่อลือทั่วไปชั่วทิศ เมื่อพลั้งคิดผิดแล้วจะโทษใคร

บทร้องเพลงใบบังเถา

  น้ำใสไหลเย็นเห็นตัวปลา แหวกว่ายปทุมมาอยู่ไหวไหว
นิลุมลพ้นน้ำอยู่ร่ำไร ตูมตั้งบังใบอรชร
เหล่าขาวเหล่าแดงสลับสี คลายคลี่คลายแย้มเกสร
บัวเผื่อนเกลื่อนกลาดในสาคร บังอรเก็บเล่นกับนารี
นางทรงหักห้อยเป็นสร้อยบัว สวมตัวกำนัลสาวศรี
ปลิดกลีบประมาณมากมี นารีลอยเล่นเป็นนาวา

พระองค์ทรงโปรดดนตรีไทยมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งซอสามสายเป็นเครื่องดนตรีที่พระองค์โปรดปรานมาก ถึงกับพระราชทาน "ตราภูมิคุ้มห้าม" แก่เจ้าของสวนที่มีกะลามะพร้าวชนิดที่ใช้กระโหลกซอสามสายได้ เพื่อมิต้องเสียภาษีอากร ซอสามสายที่เป็นคู่พระหัตถ์นั้นทรงพระราชทานนามว่า "ซอสายฟ้าฟาด" เมื่อว่างจากพระราชกิจพระองค์มักจะทรงโปรดซอสามสายอยู่เสมอ ถ้าไม่รวมวงก็จะทรงเดี่ยวด้วยพระองค์เอง มีเรื่องเล่ากันว่า "คืนหนึ่งหลังจากที่ได้ทรงซอสามสายอยู่จนดึกแล้วเสด็จเข้าที่บรรทม ก็ทรงสุบินว่า พระองค์เสด็จพระราชดำเนินไปในสถานที่แห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นสถานที่สวยงามมาก และได้ทอดพระเนตรเห็นดวงจันทร์ลอยเข้ามาใกล้พระองค์ สาดแสงสว่างไสวไปทั่วบริเวณ ทันใดนั้นก็พลันได้ทรงสดับเสียงดนตรีทิพย์อันไพเราะเสนาะกรรณเป็นอย่างยิ่ง จึงเสด็จประทับทอดพระเนตรทิวทัศน์อันงดงาม และทรงสดับเสียงดนตรีอันไพเราะอยู่ด้วยความเพลิดเพลินเจริญพระราชหฤทัย ครั้งแล้วดวงจันทร์ก็เริ่มถอยห่างออกไปในท้องฟ้า พร้อมกับเสียงดนตรีทิพย์ค่อย ๆ ห่างจนเสียงหายไป ก็ทรงตื่นพระบรรทม

เพื่อพระองค์ทรงตื่นจากพระบรรทมแล้ว เสียงดนตรีในทรงสุบินก็ยังกังวานอยู่ในพระโสต จึงโปรดให้ตามพนักงานดนตรีเข้ามาต่อเพลงไว้ แล้วพระราชทานนามว่า ."เพลงบุหลันลอยเลื่อน" หรือ "บุหลันเลื่อนลอยฟ้า" หรือบางทีเรียกว่า "เพลงสรรเสริญพระจันทร์" มีนักดนตรีจำสืบมาจนบัดนี้ แต่เป็นรู้จักกันดีในชื่อว่า "เพลงทรงพระสุบิน" และเคยใช้เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีในสมัยหนึ่ง ต่อมามีผู้แต่งเพลงสรรเสริญพระบารมีเป็นทำนองอย่างอื่นหรือเป็นทำนองฝรั่งขึ้น จึงเรียกเพลงทรงพระสุบินที่ใช้เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีนั้นว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมีไทย"

ทำนองเพลงพระสุบินนี้เคยใช้เป็นทำนองในบทละครเรื่องอิเหนาประกอบบทร้องว่า

กิดาหยันหม่อมกรานอยู่งานพัด พระบรมโสมนัสอยู่ในที่
บุหลันเลื่อนลอยฟ้าไม่ราคี รัศมีส่องสว่างดังกลางวัน
พระนิ่งนึกตรีกไตรไปมา จะแต่งคูหาสะตาหมัน
ป่านนี้พระองค์ทรงธรรม์ จะนับว่าเคร่าคอยทุกเวลา

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงครองราชสมบัติเป็นเวลาทั้งสิ้น ๑๕ ปี สวรรคต เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฏาคม๒๓๖๗มีพระชนมายุ ๕๖พรรษากับ ๕ เดือน

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐- สวรรคต ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ครองราชย์ ๗ กันยายนพ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๑ กรกฎาคมพ.ศ. ๒๓๖๗) พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ที่ ๒ ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๔ ปีกุน เวลาเช้า ๕ ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ ๔ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสวยราชสมบัติเมื่อปีมะเส็ง ปีพ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๗ ขณะมีพระชนมายุได้ ๔๒ พรรษา
ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เมื่อสิ้นรัชกาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยแล้วเจ้าอนุวงศ์หมดความเกรงกลัว เริ่มแข็งเมืองและเป็นกบฎขึ้นในรัชกาลพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด้จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จสวรรคต เมื่อวันพุธ เดือน ๘ แรม ๑๑ คํ่า ปีวอก ตรงกับวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ขณะนั้นทรงพระชนมายุ ๕๘ พรรษา ทรงเสวยราชย์สมบัติ ๑๖ ปี ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดารวมทั้งสิ้น ๗๓ พระองค์

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระนามเต็มเมื่อขึ้นครองราชย์ว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศ ตรีภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยดโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร์ หริหรินทรา ธาดาธิบดี ศรีวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภูมิทรปรมาธิเบศ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว ซึ่งเหมือนกับพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทุกตัวอักษร เนื่องจากในเวลานั้น ยังไม่มีธรรมเนียม ที่จะต้องมีพระปรมาภิไธยแตกต่างกันในแต่ละพระองค์
ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ออกพระนามรัชกาลที่ ๒ ว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าสุลาลัย ตามนามของพระพุทธรูปที่ทรงโปรดให้สร้างอุทิศถวาย และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เฉลิมพระปรมาภิไธยใหม่เป็น พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐ มเหศวรสุนทร ไตรเสวตรคชาดิศรมหาสวามินทร์ สยารัษฎินทรวโรดม บรมจักรพรรดิราช พิลาศธาดาราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระพุทธเลิศหล้านภาไลย
ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้เฉลิมพระนามใหม่เป็นพระบาทสมเด็จพระรามาธิดีศรีสินทรมหาอิศรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เมื่อถึงวันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคตด้วยพระโรคชรา ขณะมีพระชนมายุได้ ๗๓ พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้นานถึง ๒๗ ปี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร กรมพระราชวังบวรสถานมงคล จึงได้เสด็จขึ้นทรงราชย์สืบพระราชสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรี
การพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในรัชกาลที่ ๒ ได้ย้ายมาทำพิธีที่หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน เนื่องจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทซึ่งสร้างขึ้นแทนพระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท อันเป็นสถานที่ทำพิธีปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกนั้น ใช้เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกอยู่ ในรัชกาลต่อ ๆ มาจึงใช้หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานเป็นสถานที่จัดการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และใช้พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเป็นสถานที่ตั้งพระบรมศพ หลังจากเสร็จพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระองค์จึงเสด็จเลียบพระนครโดยกระบวนพยุหยาตราตามโบราณราชประเพณี

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระปรีชาสามารถในศิลปกรรมด้านต่างๆ หลายสาขา ดังจะขอยกตัวอย่างต่อไปนี้

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ด้านกวีนิพนธ์

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้รับการยกย่องว่า เป็นยุคทองของวรรณคดีสมัยหนึ่งเลยทีเดียว ด้านกาพย์กลอนเจริญสูงสุด จนมีคำกล่าวว่า "ในรัชกาลที่ ๒ นั้น ใครเป็นกวีก็เป็นคนโปรด" กวีที่มีชื่อเสียงนอกจากพระองค์เองแล้ว ยังมีกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (รัชกาลที่ ๓) สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สุนทรภู่ พระยาตรัง และนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) เป็นต้น พระองค์มีพระราชนิพนธ์ที่เป็นบทกลอนมากมาย ทรงเป็นยอดกวีด้านการแต่งบทละครทั้งละครในและละครนอก มีหลายเรื่องที่มีอยู่เดิมและทรงนำมาแต่งใหม่เพื่อให้ใช้ในการแสดงได้ เช่น รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา โดยเรื่องอิเหนานี้ เรื่องเดิมมีความยาวมาก ได้ทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ตั้งแต่ต้นจนจบ เป็นเรื่องยาวที่สุดของพระองค์ วรรณคดีสโมสรในรัชกาลที่ ๖ ได้ยกย่องให้เป็นยอดบทละครรำที่แต่งดี ยอดเยี่ยมทั้งเนื้อความ ทำนองกลอนและกระบวนการเล่นทั้งร้องและรำ นอกจากนี้ยังมีละครนอกอื่น ๆ เช่น ไกรทอง สังข์ทอง ไชยเชษฐ์ หลวิชัยคาวี มณีพิชัย สังข์ศิลป์ชัย ได้ทรงเลือกเอาของเก่ามาทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใหม่บางตอน และยังทรงพระราชนิพนธ์บทพากย์โขนอีกหลายชุด เช่น ชุดนางลอย ชุดนาคบาศ และชุดพรหมาสตร์ ซึ่งล้วนมีความไพเราะซาบซึ้งเป็นอมตะใช้แสดงมาจนทุกวันนี้

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ด้านปฏิมากรรม /ประติมากรรม

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
นอกจากจะทรงส่งเสริมงานช่างด้านหล่อพระพุทธรูปแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยยังได้ทรงพระราชอุตสาหะปั้นหุ่นพระพักตร์ของพระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก พระประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร อันเป็นพระพุทธรูปที่สำคัญยิ่งองค์หนึ่งของไทยด้วยพระองค์เอง ซึ่งลักษณะและทรวดทรงของพระพุทธรูปองค์นี้เป็นแบบอย่างที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่ในรัชกาลที่ ๒ นี้เอง ส่วนด้านการช่างฝีมือและการแกะสลักลวดลายในรัชกาลของพระองค์ได้มีความเจริญก้าวหน้าไปอย่างมาก และพระองค์เองก็ทรงเป็นช่างทั้งการปั้นและการแกะสลักที่เชี่ยวชาญยิ่งพระองค์หนึ่งอย่างยากที่จะหาผู้ใดทัดเทียมได้ นอกจากฝีพระหัตถ์ในการปั้นพระพักตร์พระพุทธธรรมิศรราชโลกธาตุดิลกแล้ว ยังทรงแกะสลักบานประตูพระวิหารพระศรีศากยมุนี วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร คู่หน้าด้วยพระองค์เองร่วมกับกรมหมื่นจิตรภักดี และทรงแกะหน้าหุ่นหน้าพระใหญ่ และพระน้อยที่ทำจากไม้รักคู่หนึ่งที่เรียกว่าพระยารักใหญ่ และพระยารักน้อยไว้ด้วย

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ด้านดนตรี

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
กล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระปรีชาสามารถในด้านนี้ไม่น้อยไปกว่าด้านละครและฟ้อนรำ เครื่องดนตรีที่ทรงถนัดและโปรดปรานคือ ซอสามสาย ซึ่งซอคู่พระหัตถ์ที่สำคัญได้พระราชทานนามว่า "ซอสายฟ้าฟาด" และเพลงพระราชนิพนธ์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีคือ "เพลงบุหลันลอยเลื่อน" หรือ "บุหลัน (เลื่อน) ลอยฟ้า" แต่ต่อมามักจะเรียกว่า "เพลงทรงพระสุบิน" เพราะเพลงมีนี้มีกำเนิดมาจากพระสุบิน (ฝัน) ของพระองค์เอง โดยเล่ากันว่าคืนหนึ่งหลังจากได้ทรงซอสามสายจนดึก ก็เสด็จเข้าที่บรรทมแล้วทรงพระสุบินว่า ได้เสด็จไปยังดินแดนที่สวยงามดุจสวรรค์ ณ ที่นั่น มีพระจันทร์อันกระจ่างได้ลอยมาใกล้พระองค์ พร้อมกับมีเสียงทิพยดนตรีอันไพเราะยิ่ง ประทับแน่นในพระราชหฤทัย ครั้นทรงตื่นบรรทมก็ยังทรงจดจำเพลงนั้นได้ จึงได้เรียกพนักงานดนตรีมาต่อเพลงนั้นไว้ และทรงอนุญาตให้นำออกเผยแพร่ได้ เพลงนี้จึงเป็นที่แพร่หลาย และรู้จักกันกว้างขวางมาจนทุกวันนี้

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

       ๑. บทละครในเรื่องรามเกียรติ์
       ๒. บทละครในเรื่องอิเหนา
       ๓. บทละครนอกเรื่อง สังข์ทอง คาวี ไชยเชษฐ์ ไกรทอง มณีพิชัย
       ๔. กาพย์แห่เรือชมเครื่องคาวหวาน
       ๕. บทกาพย์โขน ตอนนางลอย พรหมาสตร์ นาคบาศ และเอราวัณ
       ๖. กลอนเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

  https://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ข้อใดเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย