ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Network) คืออะไร เกี่ยวข้องกับ Wi

เครือข่าย Wireless LAN
ระบบเครือข่ายท้องถิ่นไร้สาย หรือ WLAN (Wireless LAN) คือระบบสื่อสารข้อมูลที่ใช้คลื่นวิทยุ (Radio
Frequency) เป็ นสัญญาณและใช้สายอากาศเป็นตัวนำสัญญาณ ปัจจุบันสามารถรับส่งข้อมูลได้ถึง 54
Mbps ประโยชน์ที่ส าคัญของการใช้ระบบนี ้คือ ความสะดวกในการเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันกำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

ข้อดีและข้อเสียของไวร์เลสแลน
ข้อดีของ WLAN
ธรรมชาติของธุรกิจในปัจจุบันจะขึนอยู่กับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาก ความเติบโตของอินเทอร์เน็ตและการให้บริการผ่านเครือข่ายเป็นข้อพิสูจน์ที่สำคัญของการแชร์ข้อมูลและทรัพยากรต่างๆ ถ้าใช้ระบบเครือข่ายไร้สายผู้ใช้ไม่จ าเป็ นต้องใช้สาย UTP เชื่อมต่อเน็ตเวิร์คการ์ดเข้ากับปลั๊ก LAN อีกต่อไป
ข้อดีของเครือข่ายไร้สายมีดังนี้
 ความคล่องตัว (Mobility) : ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายไร้สายที่ไหนก็ได้ภายในองค์กรซึ่งที่
ดังกล่าวบางทีไม่สามารถที่จะติดตั ้งสายน าสัญญาณได้
 ความสะดวกในการติดตั ้งและจัดการง่าย (Manageability) : เนื่องจากระบบเครือข่ายไร้ สายไม่
ต้องติดตั ้งสายน าสัญญาณ ท าให้เวลาในการติดตั ้งเร็วขึ ้น และไม่ต้องจัดการสายน าสัญญาณ
 ความยืดหยุ่น (Flexibility) : เทคโนโลยีไร้ สายท าให้ระบบเครือข่ายไปยังที่ที่สายน าสัญญาณไม่
สามารถติดตั ้งได้
 ประหยัดค่าใช้จ่าย (Cost) : ถึงแม้ว่าฮาร์ตแวร์ของเครือข่ายไร้สายจะค่อนข้างสูง แต่ในบางกรณีค่า
ติดตั ้งสายน าสัญญาณอาจจะสูงกว่าก็ได้ และในกรณีที่สายน าสัญญาณล้าสมัยหรือเก่าอาจต้องมี
การติดตั ้งใหม่ ซึ่งถ้าใช้ระบบไร้สายก็ไม่ต้องกังวลในเรื่องนี ้
 ความสามารถในการขยายเครือข่าย (Scalability) : ระบบเครือข่ายไร้ สายสามารถคอลฟิ กได้
หลากหลายโทโปโลยี และใช้ได้กับตั ้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ

ข้อเสียของ WLAN

 ความเสถียร (Reliability) : ส าหรับระบบเครือข่ายที่ใช้สายน าสัญญาณอัตราการเกิดข้อผิดพลาด
ระหว่างการรับส่งข้อมูลนั ้นต ่าจนแทบจะไม่มี แต่ในระบบไร้สายแล้วอัตราข้อผิดพลาดค่อนข้างสูง
เนื่องจากการใช้คลื่นวิทยุ โดยสิ่งที่เป็ นเหตุให้เกิดข้อผิดพลาด เช่น คลื่นรบกวนทั่วไป (Noise)
ปัญหาคลื่นสะท้อนมาจากหลายเส้นทาง (Multipath) การลดทอนของสัญญาณ (Attenuation)
ค่อนข้างสูง การรบกวนข้ามสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Spread-Spectrum Interference)
เป็ นต้น ในเครือข่ายที่ใช้สายเฉพาะเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเท่านั ้นที่สามารถส่งสัญญาณ
ข้อมูลได้ แต่ส าหรับเครือข่ายไร้สายแล้ว เครื่องที่อยู่ต่างเครือข่ายกันก็สามารถส่งคลื่นสัญญาณได้
ซึ่งบางทีอาจท าท าให้รบกวนการส่งข้อมูลของอีกเครือข่ายหนึ่งก็เป็ นได้ นอกจากนี ้ยังมีแหล่งอื่นที่
รบกวนการส่งข้อมูล เช่นโทรศัพท์ไร้สาย เตาไมโครเวฟ เป็ นต้น
 การรักษาความปลอดภัย (Security) : เราไม่สามารถก าหนดทิศทางและขอบเขตของคลื่นวิทยุได้
ซึ่งข้อมูลที่ส่งด้วยคลื่นอาจถูกตรวจจับดูได้ง่าย ดังนั ้น จึงได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีส าหรับการ
เข้ารหัสข้อมูลที่รับส่งผ่านเครือข่ายไร้สาย อย่างเช่น WPA (Wi-Fi Protected Access) และ WEP
(Wired Equivalent Privacy) อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีเหล่านี ้ยังมีจุดอ่อนอยู่ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจาก
การติดตั ้งไม่ถูกต้อง
 ระยะทาง (Range) : โดยปกติระยะทางระหว่างไคลเอนท์และแอ็กเซสพอยต์จะอยู่ประมาณ 30-50
เมตร ขึ ้นอยู่กับสถานที่และคลื่นรบกวน ซึ่งถือว่าน้อยเมื่อเทียบกับมาตรฐานเครือข่ายอื่น อย่างเช่น
อีเธอร์เน็ต 100 Base-Tx ที่ใช้สาย UTP ใช้ระยะทาง 100 เมตร ถ้าต้องการเพิ่มระยะทางก็
จ าเป็ นต้องติดตั ้งแอ็กเซสพอยต์เพิ่มซึ่งเป็ นการเพิ่มค่าใช่จ่ายไปด้วย
 ความเร็ว (Speed) : ความเร็วของเครือข่ายไวร์เลสแลนจะอยู่ที่ประมาณ 11-300 Mbps ซึ่งถือว่า
ต ่าเมื่อเทียบกับอีเธอร์เน็ตที่มีความเร็วที่ 100 Mbps ไปจนถึง 10 Gbpsอย่างไรก็ตามผู้ใช้จะไม่
ค่อยรู้ สึกกับความเร็วของไวร์เลสแลนเท่าไร เพราะคอขวดนั ้นจะอยู่ที่ลิงค์อื่นอย่างเช่น ADSL
เป็นต้น

โทโปโลยีของ WLAN
โทโปโลยีของ WLAN อาจเป็ นแบบธรรมดาหรืออาจจะซับซ้อนก็ได้ โดยแบบที่ง่ายที่สุดก็โดยการเชื่อมต่อกันของคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่ติดตั ้งเน็ตเวิร์คการ์ดแบบไร้สาย ซึ่งจะเรียกว่าเครือข่ายแบบเพียร์ทู
เพียร์ (Peer-to-Peer) ส่วนเครือข่ายผสมระหว่างเครือข่ายไร้ สายกับใช้สาย จุดที่เชื่อมต่อระหว่างสองเครือข่ายนี ้จะเรียกว่า “แอ็กเซสพอยต์ หรือ AP (Access Point)” หรือจะเรียกว่าเป็ นฮับ (Hub) ก็ได้ ซึ่งแต่ละจุดสามารถเชื่อต่อเครื่องไคลน์เอนท์ของ WLAN ได้ประมาณ 10-50ไคลเอนท์ต่อหนึ่ง AP ส่วนอุปกรณ์เครือข่ายและคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่องสัญญาณเดียวกันในการรับส่งข้อมูลจะเรียกว่า “BSS (Basic ServiceSet)” ส่วนระยะระหว่างเครื่องไคลเอนท์ และแอ็กเซสพอยต์จะขึ ้นอยู่กับสถานที่ตั ้ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะอยู่ที่ประมาณ 150 ถึง 300 เมตร ถ้าต้องการขยายระยะเครือข่ายก็สามารถท าได้โดยการใช้แอ็กเซสพอยต์หลายๆ เครื่อง
ในการเชื่อมต่อเครือข่ายไวร์เลสแลนนั้น สามารถเชื่อมต่อได้สามแบบคือ
 Peer-to-Peer หรือ Ad Hoc Network
 Infrastructure
 Point-to-Point
องค์ประกอบของไวร์เลสแลน
เครือข่ายไวร์เลสแลนประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ที่ติดตั ้งไวร์เลสการ์ด และเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายผ่านเอ็กเชสพอยต์ และเครือข่ายไวร์เลสแลนนี ้ก็จ าเป็ นต้องเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายหลักซึ่งโดยปกติแล้วจะเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายอีเธอร์เน็ตองค์ประกอบต่างๆ ดังต่อไปนี ้

แอ็กเซสพอยต์
แอ็กเซสพอยต์ (Access Point : AP) เป็ นศูนย์กลางการสื่อสารส าหรับเครือข่ายไวร์เลสแลน ซึ่งอุปกรณ์นี ้จะรับวิ่งสัญญาณวิทยุในช่วงความถี่ที่ใช้ระหว่างสเตชั่นต่างๆ ที่เชื่อมเข้ากับเครือข่ายนี ้

ไคลเอนท์
อุปกรณ์ทุกอย่างที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายไวร์เลสแลนได้จะเรียกว่า “สเตชัน (Station)” แต่ละสเตชันจะมีส่วนที่ใช้เชื่อมต่อกับไวร์เลสแลน ซึ่งเรียกว่า “WNIC (Wireless Network Interface Card)สเตชันจะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ แอ็กเซสพอยต์ (Access Point) และไคลเอนท์ (Client)สเตชันหรือไคลเอนท์อาจเป็ นโน้ตบุ๊ค , PDA, IP Phone หรือแม้กระทั่งเครื่อง PC ทั่วไปที่ ติดตั ้งไวร์เลสแลนการ์ด BSS [Basic Service Set] เป็ นกลุ่มของสเตชันที่สามารถสื่อสารกันได้BSS แบ่งออกเป็น 2ประเภท คือ Independent BSS และ Infrastructure BSS แต่ละ BSS จะมีหมายเลขเฉพาะซึ่งจะเรียกว่าBSSID ซึ่งก็คือ หมายเลข MAC Address ของแอ็กเซสพอยต์ที่ให้บริการใน BSS นั ้นIndependent BSS เป็ นเครือข่ายแบบแอดฮอก ซึ่งจะไม่มีแอ็กเซสพอยต์ที่ท าหน้าที่เป็ นศูนย์กลางสื่อสาร ซึ่งท าให้ BSS นี ้ ไม่สามารถเชื่อมต่อกับ BSS อื่นได้ ส่วน Infrastructure BSS เป็ นกลุ่มของสเตชันที่เชื่อมต่อเข้ากับแอ็กเซสพอยต์ การสื่อสารกับ BSS อื่นสามารถท าได้โดยผ่านแอ็กเซสพอยต์ESS [Extended Service Set] เป็ นกลุ่มของ BSS ที่เชื่อมต่อกัน แอ็กเซสพอยต์ที่อยู่ใน ESS เดียวกันจะเชื่อมต่อผ่าน Distribution System โดยแต่ละ ESS จะมีหมายเลขเฉพาะซึ่งจะเรียกว่า “SSID” ซึ่งเป็นตัวอักษรที่มีความยาวสูงสุดไม่เกิน 32 ไบต์ ยกตัวอย่างเช่น Linksys เป็ นหมายเลข SSID ที่ก าหนดให้โดยดีฟอลต์ของแอกเซสพอยต์ยี่ห้อ Linksys
ระบบดิสทริบิวชันซิสเต็ม [Distribution System] เป็ ระบบที่เชื่อมต่อแอกศ์เซสพอยต์ที่อยู่ใน ESS
เดียวกัน โดยปกติระบบนี ้จะเป็ นเครือข่ายที่ใช้สายน าสัญญาณ แต่ก็สมารถใช้เครือข่ายไร้สายได้เช่นกัน
มาตรฐานไวร์เลสแลน
ในปี ค.ศ. 1997 คณะกรรมการของ IEEE ได้ประกาศมาตรฐาน IEEE 802.11 WLAN ในตอนนั ้น
ความเร็วสูงสุดของมาตรฐานอยู่ที่ 2 Mbps ซึ่งค่อนข้างช้าเมื่อเปรียบเทียบกับเครือข่ายแบบใช้สาย
เนื่องจากเป็ นมาตรฐานแรกเกี่ยวกับเครือข่าย WLAN ดังนั ้น จึงมีปัญหาหลายอย่างและอาจเป็ นผลให้ไม่สามารถรองรับการท างานร่วมกันได้ของอุปกรณ์ที่ผลิตโดยต่างบริษัทกัน ดังนั ้น สถาบัน IEEE จึงได้ตั ้งทีมงานขึ ้นมา 2 กลุ่ม เพื่อพัฒนามาตรฐาน WLAN โดยกลุ่มแรกคือ TGa [Task Group a] พัฒนา

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Network) คืออะไร เกี่ยวข้องกับ Wi
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Network) คืออะไร เกี่ยวข้องกับ Wi

เมนูนำทาง เรื่อง

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Network) คืออะไร เกี่ยวข้องกับ Wi

ระบบ เครือข่ายไร้สาย ( Wireless LAN : WLAN ) หมายถึงเทคโนโลยีที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง หรือกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้ รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่าย คอมพิวเตอร์ด้วยเช่นกัน โดยปราศจากการใช้สายสัญญาณในการเชื่อมต่อ แต่จะใช้ ...

ระบบเครือข่ายไร้สาย คืออะไร

ระบบเครือข่ายไร้สาย (WLAN = Wireless Local Area Network) คือ ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ, ทะลุกำแพง, เพดานหรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย ...

ระบบเครือข่ายไร้สายเหมาะกับอุปกรณ์ประเภทใด

ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือ ระบบเครือข่ายแบบ Wireless LAN หรือ WLAN เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายแบบไร้สาย (ไม่จำเป็นต้องเดินสายเคเบิ้ล) เหมาะสำหรับการติดตั้งในสถานที่ที่ไม่สะดวกในการเดินสาย หรือในสถานที่ที่ต้องการความสวยงาม เรียบร้อย และเป็นระเบียบ เช่น สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้นหลักการทำงานของระบบ ...

การส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายไร้สายมีกี่แบบ

รูปแบบเครือข่ายไร้สาย.
การเชื่อมต่อเครือข่ายไวเลสแลนมี 2 รูปแบบดังต่อไปนี้.
1. การเชื่อมต่อแบบเฉพาะกลุ่ม (Ad-Hoc) ... .
2. การเชื่อต่อแบบกลุ่มโครงสร้าง (Infrastructure).