วิทยาศาสตร์การแพทย์จบมาทำงานอะไรได้บ้าง

เปิด/ปิดแถบข้าง

วิทยาศาสตร์การแพทย์จบมาทำงานอะไรได้บ้าง

ค้นหา

  • สร้างบัญชี

เครื่องมือส่วนตัว

สร้างบัญชี

เข้าสู่ระบบ

หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม

  • คุย
  • ส่วนร่วม

การนำทาง

  • หน้าหลัก
  • ถามคำถาม
  • เหตุการณ์ปัจจุบัน
  • สุ่มบทความ
  • เกี่ยวกับวิกิพีเดีย
  • ติดต่อเรา
  • บริจาคให้วิกิพีเดีย

มีส่วนร่วม

  • คำอธิบาย
  • เริ่มต้นเขียน
  • ศาลาประชาคม
  • เปลี่ยนแปลงล่าสุด
  • ดิสคอร์ด

เครื่องมือ

  • หน้าที่ลิงก์มา
  • การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวโยง
  • อัปโหลดไฟล์
  • หน้าพิเศษ
  • ลิงก์ถาวร
  • สารสนเทศหน้า
  • อ้างอิงบทความนี้
  • สิ่งนี้ใน วิกิสนเทศ

พิมพ์/ส่งออก

  • สร้างหนังสือ
  • ดาวน์โหลดเป็น PDF
  • รุ่นพร้อมพิมพ์

ภาษา

ลิงก์ข้ามไปยังรุ่นภาษาอื่นของบทความนี้ถูกย้ายไปด้านบนแล้วที่ทางขวาของชื่อหน้า ไปด้านบน

วิทยาศาสตร์การแพทย์

Add languages

    เพิ่มลิงก์ข้ามภาษา

    • บทความ
    • อภิปราย

    ไทย

      • อ่าน
      • แก้ไข
      • ดูประวัติ

      เพิ่มเติม

      • อ่าน
      • แก้ไข
      • ดูประวัติ

      จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

      วิทยาศาสตร์การแพทย์ (อังกฤษ: Medical Sciences) เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ศึกษาครอบคลุมในศาสตร์ต่าง ๆ ทางการแพทย์ที่ข้องกับสุขภาพของมนุษย์ ซึ่งนำไปสู่ความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับร่างกาย สุขภาพ การตรวจวินิจฉัย ป้องกันและเฝ้าระวังโรค การส่งเสริมสุขภาพ การตรวจพิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์ ช่วยเสริมสร้างทักษะการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์ โดยทั่วไปนักศึกษาจะต้องศึกษาในรายวิชาเฉพาะทาง เช่น กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา พยาธิวิทยา ชีวเคมี จุลชีววิทยา ชีววิทยาระดับโมเลกุล พันธุศาสตร์ ระบาดวิทยา พิษวิทยา เภสัชวิทยา และเทคโนโลยีชีวภาพ เป็นต้น

      มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในไทย[แก้]

      1. คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
      2. คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา
      3. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวฯ
      4. คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
      5. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

      เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=วิทยาศาสตร์การแพทย์&oldid=9889181"

      หมวดหมู่:

      • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
      • การแพทย์เฉพาะทาง
      • สุขภาพ
      • คณะในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ
      • คณะในกลุ่มสหเวชศาสตร์
      • วิชาชีพทางด้านสาธารณสุข
      • วิทยาศาสตร์
      • วิทยาศาสตร์ประยุกต์
      • สาธารณสุข

      รีวิวสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medical Science) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

      บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ นับว่าเป็นบุคลากรที่ขาดแคลน เนื่องจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน มีความต้องการบุคลากรในการปฏิบัติหน้าที่ในห้องปฏิบัติการทั้งด้านการวิจัย การให้บริการ  ด้านการเรียนการสอน  ด้านคลินิก และด้านธุรกิจ เป็นต้น  เนื่องจากศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ครอบคลุมเกือบทุกด้านของพื้นฐานวิชาทางการแพทย์ ได้แก่  เคมี  ชีวเคมี  ฟิสิกส์  จุลชีววิทยา  กายวิภาคศาสตร์  ประสาทวิทยาศาสตร์  สรีรวิทยา  ชีววิทยา  อณูชีววิทยา ปรสิตวิทยา อิมมิวโนวิทยา  พิษวิทยา  เภสัชวิทยา หรือแขนงอื่นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของมนุษย์  สอดคล้องตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ก.พ.อ. กำหนดวันที่ 25 พฤศจิกายน  2548) ที่เน้นการนำผลของศาสตร์ในเนื้อหาต่างๆ มาใช้ในการวินิจฉัย  ค้นหาสาเหตุ  วิเคราะห์ความรุนแรง  ติดตามผลการรักษา การป้องกันและเฝ้าระวังโรค  การส่งเสริมสุขภาพ  การพิสูจน์หลักฐาน  การพัฒนาคุณภาพชีวิต  การพัฒนาวิทยาการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ด้านใดด้านหนึ่ง  ตลอดจนกำหนดคุณลักษณะและควบคุมการใช้เครื่องมือ  น้ำยา  การผลิตน้ำยาและชีววัตถุ  เป็นต้น  จากลักษณะงานดังกล่าวจะเห็นว่าบทบาทหน้าที่ของนักวิทยาศาสตร์การแพทย์มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศด้านการแพทย์เป็นอย่างสูง

      จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร

      - มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรอบรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีความรู้ความสามารถด้านการวิจัยและด้านธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม

      จบมาทำงานอะไร

      หน่วยงานภาครัฐ / รัฐวิสาหกิจ
      - นักวิทยาศาสตร์การแพทย์
      - นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติการ
      - นักวิชาการ นักวิจัย ผู้ช่วยวิจัย ในหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค ศูนย์เทคโนโลยีด้านการแพทย์และสาธารณสุข สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สถาบันพยาธิวิทยา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข สภากาชาดไทย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และโรงพยาบาลต่างๆ เป็นต้น
      สถานศึกษา
      - อาจารย์มหาวิทยาลัย/วิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
      - นักวิจัย
      - ผู้ช่วยวิจัย
      - ผู้ช่วยสอน
      - นักวิทยาศาสตร์
      - นักวิทยาศาสตร์การแพทย์
      ภาคเอกชน
      - พนักงานหน่วยงานภาคเอกชนด้านธุรกิจการแพทย์ ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี ยา เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้านการแพทย์
      ธุรกิจส่วนตัว
      - งานด้านการนำเข้าและขายผลิตภัณฑ์ทางด้านการแพทย์ เช่น สารเคมี ยา และเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น

      สมัครเรียนทำอย่างไร

      รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถพูด ฟัง อ่าน เขียน และเข้าใจภาษาไทยได้เป็นอย่างดีรับสมัครโดยการสอบสัมภาษณ์
      1. เป็นผู้มีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายสายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ตาม หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการหรือมีความรู้เทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
      2. ไม่เคยต้องโทษตามคำพิพากษาของศาล เว้นแต่ในกรณีโทษนั้นเกิดจากความผิดอันได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดอันเป็นลหุโทษ
      3. มีความประพฤติดี ไม่เคยถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใดเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย
      4. ไม่เป็นคนวิกลจริต และมีความสมบูรณ์ทางจิตใจ
      5. ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคอื่นที่สังคมรังเกียจ
      6. ไม่มีความบกพร่องทางร่างกายที่มีผลต่อการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์

      ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

      319,990 บาท

      วิทยาศาสตร์การแพทย์ มีอะไรบ้าง

      พยาบาลศาสตร์.
      แพทยศาสตร์.
      เภสัชศาสตร์.
      โภชนศาสตร์.
      สัตวแพทยศาสตร์.
      สาธารณสุขศาสตร์.
      วิทยาศาสตร์การแพทย์.
      รังสีเทคนิค.

      วิทยาศาสตร์การแพทย์ อยู่คณะอะไร

      วิทยาศาสตร์การแพทย์ (อังกฤษ: Medical Sciences) เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ศึกษาครอบคลุมในศาสตร์ต่าง ๆ ทางการแพทย์ที่ข้องกับสุขภาพของมนุษย์ ซึ่งนำไปสู่ความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับร่างกาย สุขภาพ การตรวจวินิจฉัย ป้องกันและเฝ้าระวังโรค การส่งเสริมสุขภาพ การตรวจพิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์ ช่วยเสริม ...

      คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี

      เป็นหลักสูตรเรียนเต็มเวลา ระดับปริญญาตรี 4 ปี ใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน 8 ปีการศึกษา การลงทะเบียนเรียน 1. เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี 2. เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาเพื่อปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์

      วิทยาศาสตร์การแพทย์ มอไหนบ้าง

      🔬 คณะสหเวชศาสตร์ / เทคนิคการแพทย์.
      จุฬา ฯ – สหเวชศาสตร์ – เทคนิคการแพทย์ ... .
      ม.ธรรมศาสตร์ – สหเวชศาสตร์ – เทคนิคการแพทย์ ... .
      ม.มหิดล – เทคนิคการแพทย์ – เทคนิคการแพทย์ ... .
      ม.ศรีนครินทรวิโรฒ – สหเวชศาสตร์ – กายภาพบำบัด ... .
      ม.เชียงใหม่ ... .
      ม.บูรพา ... .
      คณะสหเวชศาสตร์ ม.นเรศวร.
      คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน.